ไกรทอง (วัดเกาะ)

จาก วิกิซอร์ซ
แม่แบบผิดพลาด: มีการลบช่องที่ไม่ได้ใช้ออก โปรดเติมกลับเข้าไป (โปรดดูเอกสารกำกับแม่แบบ)

สารบัญ



ปก
ปก



สารบัญ





สารบัญ



โรงพิมพ์ราษฎร์เจริญ
โรงพิมพ์ราษฎร์เจริญ


สงวนลิขสิทธิ์






________________________________________


พิมพ์ที่ ร.พ. ราษฎร์เจริญ หน้าวัดเกาะ สำเพ็ง พระนคร
นางทองคำ พั่ววงศ์แพทย์ ผู้พิมพ์และผู้โฆษณา ๑๒.๙๐


________________________________________






สารบัญ


_______________


ตั้งแต่ท้าวโคจรจำแลงเป็นมนุษย์โดยสารเรือตายายมารบท้าวพันตา
แล้วท้าวพันตาก็รบกับท้าวโคจรถึงเจ็ดวันเจ็ดคืน
ท้าวโคจรก็ฟาดถูกหางท้าวพันตาขาดตาย
แล้วน้องมารบ ท้าวโคจรก็กัดตายทั้งพี่ทั้งน้อง
จนถึงขุนไกรเที่ยวจับจระเข้ทำร้ายชาวบ้าน
..........


ตั้งแต่ชาละวันพานางตะเภาทองไปไว้ในถ้ำ
แล้วไกรทองรบกับชาละวัน ชาละวันแพ้ แล้วเขียนยันต์ปิดหัวไว้
ไปจนถึงไกรทองพานางตะเภาทองกลับคืนมา
..........


ตั้งแต่ไกรทองพานางตะเภาทองขึ้นมาจากถ้ำ
แล้วพระพิจิตรยกทางตะเภาทองกับนางตะเภาแก้วสองพี่น้องให้แก่ไกรทอง
จนถึงไกรทองลงไปในถ้ำ ไปได้วิมาลาเป็นเมีย
..........


ตั้งแต่ไกรทองพานางวิมาลามาไว้ที่สวนยายตา
แล้วยายตามาบอกกับนางตะเภาแก้วตะเภาทอง
นางตะเภาแก้วตะเภาทองก็มาหึงหวงนางวิมาลา
นางวิมาลาจึงเปิดยันต์ที่ปิดหัวออก ก็กลายเป็นจระเข้หนีไปอยู่ในถ้ำ
จนถึงไกรทองไปตามนางวิมาลาที่ในถ้ำ
..........


ตั้งแต่ไกรทองอยู่กับตะเภาแก้วตะเภาทอง
แล้วนางทั้งสองมีบุตรชายคนละคน
นางวิมาลากับนางเลื่อมไลวรรณก็มีบุตรคนละคน
แล้วลูกวิมาลาลักเอาไกรทองไปอยู่กับวิมาลา
ไปจนถึงลูกนางตะเภาแก้วตะเภาทองไปตามพ่อ ได้รับกับลูกวิมาลา
..........


ตั้งแต่ไกรแก้วไกรดาไปรบกับลูกนางวิมาลา
แล้วไกรทองขอลูกสาวขุนรามแต่งให้ไกรแก้ว แล้วเหรากับไกรวงศ์มาลักเอานางไป
ไกรทองครูไปตาม ได้รบกันกับเหรา ไกรทองฆ่าเหราตาย
จนถึงรับลูกสาวขุนรามแต่งงานกับไกรแก้ว
..........


ตั้งแต่ไกรวงศ์คิดอุบายให้ผีเสื้อสมุทรมากินคนในเมืองท้าวทศชัย
แล้วไกรวงศ์ทำเข้ารับอาสาปราบผีเสื้อ เจ้าไกรดาก็เข้ารับอาสาเหมือนกัน
ไกรดาฆ่าผีเสื้อสมุทรตาย ต่างแย่งความชอบกัน
แล้วต่างอาสาฆ่าเจ้าแขกตาย ท้าวทศชัยให้ทั้งสองไปกินหัวเมือง
..........



สารบัญ






ขึ้น

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก