พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ที่ | พระราชกฤษฎีกา | นายกรัฐมนตรี | พระมหากษัตริย์ | การยุบ | |
---|---|---|---|---|---|
วันยุบ | วันเลือกตั้งใหม่ | ||||
๑ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช ๒๔๘๑ | พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) | พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล | ๑๑ กันยายน ๒๔๘๑ | ภายในเก้าสิบวัน นับแต่วันเริ่มใช้พระราชกฤษฎีกา (เริ่มใช้เมื่อ ๑๑ กันยายน ๒๔๘๑) |
๒ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช ๒๔๘๘ + แถลงการณ์ของรัฐบาล |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | ๑๕ ตุลาคม ๒๔๘๘ | ๖ มกราคม ๒๔๘๙ | |
๓ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๑๙ | หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช | พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช | ๑๒ มกราคม ๒๕๑๙ | ๔ เมษายน ๒๕๑๙ |
๔ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๖ | พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ | ๑๙ มีนาคม ๒๕๒๖ | ๑๘ เมษายน ๒๕๒๖ | |
๕ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๙ | ๒ พฤษภาคม ๒๕๒๙ | ๗ กรกฎาคม ๒๕๒๙ | ||
๖ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๑ | ๒๙ เมษายน ๒๕๓๑ | ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๓๑ | ||
๗ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕ | อานันท์ ปันยารชุน | ๓๐ มิถุนายน ๒๕๓๕ | ๑๓ กันยายน ๒๕๓๕ | |
๘ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๘ | ชวน หลีกภัย | ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘ | ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๘ | |
๙ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๙ | บรรหาร ศิลปอาชา | ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ | ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ | |
๑๐ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๓ | ชวน หลีกภัย | ๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ | ๖ มกราคม ๒๕๔๔ | |
๑๑ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๙ | พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร | ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ | ๒ เมษายน ๒๕๔๙ | |
๑๒ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๔ | อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔ | ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔ | |
๑๓ | พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๖ | ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร | ๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ | ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ |