ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานแปล:โทรเลข 28513 จากสถานเอกอัครราชทูตในกรุงเทพมหานครถึงกระทรวงการต่างประเทศ 14 ตุลาคม 1976"

จาก วิกิซอร์ซ
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 13: บรรทัดที่ 13:


{{right|14 ตุลาคม 1976, 1117Z}}
{{right|14 ตุลาคม 1976, 1117Z}}
{{ubl|โทรเลข|กระทรวงการต่างประเทศ|กรุงเทพมหานคร 28513}}
{{ubl|
* โทรเลข
* กระทรวงการต่างประเทศ
* กรุงเทพมหานคร 28513}}


R 141117Z OCT 76
R 141117Z OCT 76


{{ubl|FM AMEMBASSY BANGKOK TO SECSTATE WASHDC 4685|INFO กงสุลอม. ฮ่องกง|สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงจาการ์ตา|สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงกัวลาลัมเปอร์|สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงมะนิลา|สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงย่างกุ้ง|สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงโตเกียว|สถานเอกอัครราชทูต อม. สิงคโปร์|CINCPAC โฮโนลูลู|USLO กรุงปักกิ่ง|สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงเวียงจันทน์}}
{{ubl|
* FM AMEMBASSY BANGKOK TO SECSTATE WASHDC 4685
* INFO กงสุลอม. ฮ่องกง
* สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงจาการ์ตา
* สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงกัวลาลัมเปอร์
* สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงมะนิลา
* สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงย่างกุ้ง
* สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงโตเกียว
* สถานเอกอัครราชทูต อม. สิงคโปร์
* CINCPAC โฮโนลูลู
* USLO กรุงปักกิ่ง
* สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงเวียงจันทน์}}


กรุงเทพมหานคร 28513
กรุงเทพมหานคร 28513
บรรทัดที่ 37: บรรทัดที่ 23:
CINCPAC ALSO FOR POLAD
CINCPAC ALSO FOR POLAD


{{ubl|EO 11652: GDS|ป้ายระบุ: PGOV TH}}
{{ubl|
* EO 11652: GDS
* ป้ายระบุ: PGOV TH}}


{{ubl|เรื่อง: การสิ้นสุดการทดลองประชาธิปไตยในประเทศไทย|อ้างอิง: BANGKOK 28368}}
{{ubl|
* เรื่อง: การสิ้นสุดการทดลองประชาธิปไตยในประเทศไทย
* อ้างอิง: BANGKOK 28368}}


ความย่อ: การทดลองประชาธิปไตยของประเทศไทยนานสามปียุติลงด้วยรัฐประหารในวันที่ 6 ต.ค. รัฐบาลประชาธิปไตยที่อยู่ในอำนาจระหว่างสามปีที่ผ่านมาไม่สามารถเป็นผู้นำที่ประเทศไทยต้องการได้ เหตุการณ์อันน่าสับสนและซับซ้อนซึ่งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลนั้นแน่นอนว่าเกิดขึ้นจากการหวนกลับประเทศไทยของอดีตนายกรัฐมนตรีถนอมในวันที่ 19 ก.ย. แต่ข้อเท็จจริงมีอยู่ว่ากองทัพไทยไม่ได้ยึดอำนาจจากรัฐบาลประชาธิปไตยที่ประสบความสำเร็จและปฏิบัติหน้าที่ได้ การเกี้ยวพาการปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทยยังไม่สิ้นสุดลงอย่างสมบูรณ์เสียทีเดียว และมีสัญญาณว่าจะมีการประกอบคณะรัฐมนตรีที่ส่วนใหญ่เป็นพลเรือนในอนาคตอันใกล้ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินที่มีสมาชิก 24 คนตามที่ประกอบขึ้นในปัจจุบันนั้น เป็นไปได้ว่าใหญ่เกินกว่าปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจะต้องใช้เวลาให้รัฐบาลที่ถูกกองทัพครอบงำปักหลักได้ จบความย่อ
ความย่อ: การทดลองประชาธิปไตยของประเทศไทยนานสามปียุติลงด้วยรัฐประหารในวันที่ 6 ต.ค. รัฐบาลประชาธิปไตยที่อยู่ในอำนาจระหว่างสามปีที่ผ่านมาไม่สามารถเป็นผู้นำที่ประเทศไทยต้องการได้ เหตุการณ์อันน่าสับสนและซับซ้อนซึ่งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลนั้นแน่นอนว่าเกิดขึ้นจากการหวนกลับประเทศไทยของอดีตนายกรัฐมนตรีถนอมในวันที่ 19 ก.ย. แต่ข้อเท็จจริงมีอยู่ว่ากองทัพไทยไม่ได้ยึดอำนาจจากรัฐบาลประชาธิปไตยที่ประสบความสำเร็จและปฏิบัติหน้าที่ได้ การเกี้ยวพาการปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทยยังไม่สิ้นสุดลงอย่างสมบูรณ์เสียทีเดียว และมีสัญญาณว่าจะมีการประกอบคณะรัฐมนตรีที่ส่วนใหญ่เป็นพลเรือนในอนาคตอันใกล้ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินที่มีสมาชิก 24 คนตามที่ประกอบขึ้นในปัจจุบันนั้น เป็นไปได้ว่าใหญ่เกินกว่าปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจะต้องใช้เวลาให้รัฐบาลที่ถูกกองทัพครอบงำปักหลักได้ จบความย่อ
บรรทัดที่ 52: บรรทัดที่ 34:
|-
|-
| 1. || การยึดอำนาจของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในประเทศไทยในวันที่ 6 ต.ค. เป็นการสิ้นสุด "การทดลองประชาธิปไตย" นานสามปีของราชอาณาจักร ประเทศไทยอาจประสบช่วงรัฐบาลที่เปิดและอาจมีอิสระในอนาคต แต่อาจมีภาพลวงตาเล็กน้อยเกี่ยวกับลักษณะชั่วคราวของช่วงเวลาเช่นว่า โดยส่วนใหญ่ ผลลัพธ์ของการทดลองนี้ถูกตัดสินล่วงหน้าแล้วในแง่ที่ว่าการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยโดดเด่นออกมาเป็นการหยุดรูปแบบการปกครองระบอบอัตตาธิปไตยหรือคณาธิปไตยซึ่งเป็นลักษณะของประวัติศาสตร์ประเทศนี้ ในเวลา 40 ปีกว่าที่ได้ล่วงมาหลังการโค่นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชในปี 1932 มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยเพียงประมาณสามปีเท่านั้น และส่วนใหญ่เกิดขึ้นหลังเดือนตุลาคม 1973
| 1. || การยึดอำนาจของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในประเทศไทยในวันที่ 6 ต.ค. เป็นการสิ้นสุด "การทดลองประชาธิปไตย" นานสามปีของราชอาณาจักร ประเทศไทยอาจประสบช่วงรัฐบาลที่เปิดและอาจมีอิสระในอนาคต แต่อาจมีภาพลวงตาเล็กน้อยเกี่ยวกับลักษณะชั่วคราวของช่วงเวลาเช่นว่า โดยส่วนใหญ่ ผลลัพธ์ของการทดลองนี้ถูกตัดสินล่วงหน้าแล้วในแง่ที่ว่าการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยโดดเด่นออกมาเป็นการหยุดรูปแบบการปกครองระบอบอัตตาธิปไตยหรือคณาธิปไตยซึ่งเป็นลักษณะของประวัติศาสตร์ประเทศนี้ ในเวลา 40 ปีกว่าที่ได้ล่วงมาหลังการโค่นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชในปี 1932 มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยเพียงประมาณสามปีเท่านั้น และส่วนใหญ่เกิดขึ้นหลังเดือนตุลาคม 1973

<!--
|-
|-
| 2. || ภูมิหลัง: คณะรัฐมนตรีสามชุดที่มีอยู่ตลอดการทดลองประชาธิปไตยไทยนั้น (แต่ละชุดมีการปรับเล็กน้อยระหว่างช่วงดำรงตำแหน่ง) ต่างมีคุณสมบัติเฉพาะของมัน แต่ไม่มีชุดใดที่สามารถให้ความเป็นผู้นำที่มีความคิดอิสระและเข้มแข็งซึ่งประเทศไทยต้องการในช่วงเวลาปัจจุบัน ในหลายด้าน คณะรัฐมนตรีสองชุดของนายกรัฐมนตรีสัญญา ธรรมศักดิ์ (ต.ค. 1973 ถึงมีนาคม 1975) อาจเป็นชุดที่น่าจดจำมากที่สุด ในแง่ที่ว่าสัญญาเป็นประธานการเปลี่ยนผ่านจากรัฐบาลอำนาจนิยมสู่ประชาธิปไตยได้สำเร็จ ทว่า บทบาทของสัญญาจำเป็นต้องเป็นบทบาทชั่วคราว เพราะเขาได้รับแต่งตั้งโดยตรงจากพระมหากษัตริย์ ไม่มีฐานการเมืองจำเพาะ และการปฏิบัติหน้าที่จำกัดอยู่เฉพาะการวางรากฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยในอนาคต คณะรัฐมนตรีคึกฤทธิ์ ปราโมช (17 ตุลาคม 1975 ถึง 20 เมษายน 1976) ถูกขัดขวางจากรัฐสภาที่มีการแบ่งแยกสูงตั้งแต่การเลือกตั้งในเดือนมกราคม 1975 และพรรคการเมือง 16 พรรคที่มีอยู่ในสภานั้นมุ่งความสนใจไปกับการแก่งแย่งทางการเมือง มากกว่าจัดการกับปัญหาสำคัญที่ประเทศไทยเผชิญ คณะรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีเสนีย์ ปราโมช (21 เมษายน 1976 ถึง 6 ตุลาคม 1976) ในหลายแง่ดูเหมือนจะมีหวังมากที่สุด เพราะเป็นรัฐบาลผสมที่ประกอบด้วยพรรคการเมืองเพียงสี่พรรค และมีเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎรอยู่โข มีแรงต้านชัดเจนเล็กน้อยระหว่างพรรคทั้งสี่ แต่มีความไม่ลงรอยขั้นหายนะระหว่างกลุ่มแยกภายในพรรคประชาธิปัตย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการจัดการการกลับประเทศของอดีตนายกรัฐมนตรีถนอม การปะทุครั้งสุดท้ายนี้เกิดขึ้นโดยเป็นผลลัพธ์ของประเด็นดังกล่าว
| 2. || BACKGROUND: THE THREE CABINETS THAT SPANNED THE THAI DEMOCRATIC EXPERIMENT (EACH WAS SLIGHTLY RESHUFFLED DURING ITS PERIOD OF OFFICE) HAD THEIR UNIQUE QUALITIES, BUT NONE OF THEM WAS ABLE TO PROVIDE THE KIND OF IMAGINATIVE AND STRONG LEADERSHIP WHICH THAILAND REQUIRES IN THE PRESENT PERIOD. IN SEVERAL RESPECTS THE TWO CABINETS OF PRIME MINISTER SANYA THAMMASAK (OCT 1973, TO MARCH 1975) WERE PROBABLY THE MOST MEMORABLE, IN THE SENSE THAT SANYA PRESIDED SUCCESSFULLY OVER THE TRANSITION FROM AUTHORITARIAN TO DEMOCRATIC GOVERNMENT. SANYA'S ROLE HAD TO BE A TEMPORARY ONE, HOWEVER, AS HE WAS APPOINTED DIRECTLY BY THE KING, HAD NO SPECIFIC POLITICAL BASE, AND HAD A FUNCTION LIMITED TO SETTING OUT THE FOUNDATIONS OF FUTURE DEMOCRATIC GOVERNMENT. THE CABINET OR PRIME MINISTER KHUKRIT PRAMOT (MARCH 17, 1975, TO APRIL 20, 1976) WAS HOBBLED BY A BADLY-SPLIT PARLIAMENT ISSUING FROM THE ELECTIONS OF JANUARY, 1975, AND THE 16 POLITICAL PARTIES THAT MADE IT UP FOCUSED MUCH OF THEIR ATTENTION ON POLITICAL INFIGHTING, RATHER THAN OF DEALING WITH THE MAJOR PROBLEMS FACING THAILAND. THE CABINET OF PRIME MINISTER SENI PRAMOT (APRIL 21, 1976, TO OCTOBER 6, 1976) IN SEVERAL WAYS APPEARED TO HAVE THE MOST PROMISE, AS IT WAS A COALITION CONSISTING OF ONLY FOUR PARTIES, WITH A HUGE MAJORITY IN THE HOUSE OF REPRESENTATIVES. THERE WAS LITTLE OVERT FRICTION BETWEEN THE FOUR PARTIES, BUT THERE WAS DISASTROUS DISAGREEMENT BETWEEN FACTIONS WITHIN THE DEMOCRAT PARTY, PARTICULARLY OVER THE HANDLING OF THE RETURN OF FORMER PRIME MINISTER THANOM. IT WAS ON THE CONSEQUENCES OF THIS ISSUE THAT THE FINAL BLOWUP OCCURRED.
|-
|-
| 3. || รายละเอียดว่าการยึดอำนาจของกองทัพมีการวางแผนและลงมืออย่างไรนั้นยังเป็นหัวข้อความสนใจเฉพาะในทางวิชาการอยู่ในขณะนี้ แต่ก็คุ้มค่าที่จะยกบางประเด็นในความสัมพันธ์นี้ มีสิ่งบ่งชี้หลายสิ่งของการคบคิดรัฐประหารระหว่างปีที่แล้ว กองทัพไทยอาจมีขีดความสามารถเริ่มและลงมือรัฐประหารที่ประสบความสำเร็จได้ตลอดช่วงเวลานี้ อย่างไรก็ดีต่อเมื่อสัปดาห์ที่แล้วที่องค์ประกอบสำคัญสู่การตัดสินใจขั้นสุดท้ายถูกนำมาปะติดปะต่อกัน การยึดอำนาจดังกล่าวเป็นไปได้ว่าเกือบเกิดขึ้นแล้วในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา และแน่นอน ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในขณะนั้น พลเอกบุญชัย บำรุงพงศ์สั่งการให้กองทัพตื่นตัวป้องกันการเกิดรัฐประหาร ยิ่งไปกว่านั้นพระมหากษัตริย์คัดค้านรัฐประหารเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาอย่างชัดเจน สุดท้ายผู้นำกองทัพส่วนใหญ่กังวลว่ารัฐประหารอาจต้องฆ่าคนอีกหลายพันคนเพื่อฟื้นฟูระเบียบ ในทางตรงข้ามสัปดาห์ก่อนมีความเห็นตรงกันในหมู่ผู้นำกองทัพ พระมหากษัตริย์ดูเห็นชอบ และผู้นำนักศึกษาและแรงงานถูกปราบปรามไม่ว่าถูกจำกุมหรือด้วยความกังวลเกี่ยวกับการพัวพันของนักศึกษาในการดูหมิ่นพระราชวงศ์
| 3. || THE DETAILS OF HOW THE MILITARY TAKEOVER WAS PLANNED AND EXECUTED ARE ONLY OF ACADEMIC INTEREST NOW, BUT IT MAY BE WORTHWHILE TO MAKE A FEW POINTS IN THIS CONNECTION. THERE WERE SEVERAL INDICATIONS OF COUP PLOTTING DURING THE PAST YEAR. THE ROYAL THAI ARMED FORCES PROBABLY HAD THE CAPABILITY TO MOUNT AND EXECUTE A SUCCESSFUL COUP THROUGHOUT THIS PERIOD. HOWEVER, IT WAS NOT UNTIL LAST WEEK THAT THE ELEMENTS ESSENTIAL TO A FINAL DECISION WERE BROUGHT TOGETHER. SUCH A TAKEOVER PROBABLY CAME CLOSE TO OCCURRING LAST FEBRUARY, AND, INDEED, THE THEN COMMANDER-IN-CHIEF OF THE ROYAL THAI ARMY, GENERAL BUNCHAI BAMRUNGPHONG, ORDERED A MILITARY ALERT TO PREVENT A COUP FROM TAKING PLACE. MOREOVER, THE KING CLEARLY OPPOSED A COUP LAST FEBRUARY. FINALLY, MOST MILITARY LEADERS WERE CONCERNED THAT A COUP WOULD REQUIRE THE INFLICTING OF MANY THOUSANDS OF CASUALTIES TO RESTORE ORDER. BY CONTRAST, LAST WEEK THERE WAS AGREEMENT AMONG THE MILITARY LEADERS, THE KING APPARENTLY APPROVED, AND THE STUDENT AND LABOR LEADERS WERE NEUTRALIZED EITHER BY ARREST OR BY CONCERN OVER THE INVOLVEMENT OF THE STUDENTS IN AN INSULT TO THE ROYAL FAMILY.

|-
|-
|}
<!--
| 4. || SOME OBSERVERS--PARTICULARLY AMONG JOURNALISTS AND SOME FOREIGN RESIDENTS OF THAILAND--HAVE TRIED TO CONNECT THE EVENTS OF LAST WEEK WITH THE RETURN OF FORMER PRIME MINISTER THANOM TO THAILAND ON SEPT 19 AS PART OF A DEEP-DYED PLOY TO OVERTHROW DEMOCRATIC GOVERNMENT. THIS "PLOT" THEORY, IN SOME VERSIONS, EVEN ALLEGES THAT THE MOCK HANGING EPISODE AT THAMMASAT UNIVERSITY ON OCT 4, INVOLVING A STUDENT WHO RESEMBLED THE CROWN PRINCE, WAS ARRANGED BY THE COUP PLOTTERS TO BRING ON DISORDERS AND SO PROVIDE AN EXCUSE FOR THE MILITARY TAKEOVER. A "PLOT" THEME WITHOUT SPECIFIC DETAIL IS PLAYED IN THE COMMENTARIES ON THE MILITARY TAKEOVER IN RADIO BROADCASTS FROM MOSCOW, VIENTIANE, AND HANOI.
| 4. || SOME OBSERVERS--PARTICULARLY AMONG JOURNALISTS AND SOME FOREIGN RESIDENTS OF THAILAND--HAVE TRIED TO CONNECT THE EVENTS OF LAST WEEK WITH THE RETURN OF FORMER PRIME MINISTER THANOM TO THAILAND ON SEPT 19 AS PART OF A DEEP-DYED PLOY TO OVERTHROW DEMOCRATIC GOVERNMENT. THIS "PLOT" THEORY, IN SOME VERSIONS, EVEN ALLEGES THAT THE MOCK HANGING EPISODE AT THAMMASAT UNIVERSITY ON OCT 4, INVOLVING A STUDENT WHO RESEMBLED THE CROWN PRINCE, WAS ARRANGED BY THE COUP PLOTTERS TO BRING ON DISORDERS AND SO PROVIDE AN EXCUSE FOR THE MILITARY TAKEOVER. A "PLOT" THEME WITHOUT SPECIFIC DETAIL IS PLAYED IN THE COMMENTARIES ON THE MILITARY TAKEOVER IN RADIO BROADCASTS FROM MOSCOW, VIENTIANE, AND HANOI.
|-
|-

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:27, 7 ตุลาคม 2563

425. Telegram 28513 From the Embassy in Thailand to the Department of State, October 14, 1976, 1117Z.

14 ตุลาคม 1976, 1117Z
  • โทรเลข
  • กระทรวงการต่างประเทศ
  • กรุงเทพมหานคร 28513

R 141117Z OCT 76

  • FM AMEMBASSY BANGKOK TO SECSTATE WASHDC 4685
  • INFO กงสุลอม. ฮ่องกง
  • สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงจาการ์ตา
  • สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงกัวลาลัมเปอร์
  • สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงมะนิลา
  • สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงย่างกุ้ง
  • สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงโตเกียว
  • สถานเอกอัครราชทูต อม. สิงคโปร์
  • CINCPAC โฮโนลูลู
  • USLO กรุงปักกิ่ง
  • สถานเอกอัครราชทูต อม. กรุงเวียงจันทน์

กรุงเทพมหานคร 28513

CINCPAC ALSO FOR POLAD

  • EO 11652: GDS
  • ป้ายระบุ: PGOV TH
  • เรื่อง: การสิ้นสุดการทดลองประชาธิปไตยในประเทศไทย
  • อ้างอิง: BANGKOK 28368

ความย่อ: การทดลองประชาธิปไตยของประเทศไทยนานสามปียุติลงด้วยรัฐประหารในวันที่ 6 ต.ค. รัฐบาลประชาธิปไตยที่อยู่ในอำนาจระหว่างสามปีที่ผ่านมาไม่สามารถเป็นผู้นำที่ประเทศไทยต้องการได้ เหตุการณ์อันน่าสับสนและซับซ้อนซึ่งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลนั้นแน่นอนว่าเกิดขึ้นจากการหวนกลับประเทศไทยของอดีตนายกรัฐมนตรีถนอมในวันที่ 19 ก.ย. แต่ข้อเท็จจริงมีอยู่ว่ากองทัพไทยไม่ได้ยึดอำนาจจากรัฐบาลประชาธิปไตยที่ประสบความสำเร็จและปฏิบัติหน้าที่ได้ การเกี้ยวพาการปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทยยังไม่สิ้นสุดลงอย่างสมบูรณ์เสียทีเดียว และมีสัญญาณว่าจะมีการประกอบคณะรัฐมนตรีที่ส่วนใหญ่เป็นพลเรือนในอนาคตอันใกล้ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินที่มีสมาชิก 24 คนตามที่ประกอบขึ้นในปัจจุบันนั้น เป็นไปได้ว่าใหญ่เกินกว่าปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจะต้องใช้เวลาให้รัฐบาลที่ถูกกองทัพครอบงำปักหลักได้ จบความย่อ

1. การยึดอำนาจของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในประเทศไทยในวันที่ 6 ต.ค. เป็นการสิ้นสุด "การทดลองประชาธิปไตย" นานสามปีของราชอาณาจักร ประเทศไทยอาจประสบช่วงรัฐบาลที่เปิดและอาจมีอิสระในอนาคต แต่อาจมีภาพลวงตาเล็กน้อยเกี่ยวกับลักษณะชั่วคราวของช่วงเวลาเช่นว่า โดยส่วนใหญ่ ผลลัพธ์ของการทดลองนี้ถูกตัดสินล่วงหน้าแล้วในแง่ที่ว่าการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยโดดเด่นออกมาเป็นการหยุดรูปแบบการปกครองระบอบอัตตาธิปไตยหรือคณาธิปไตยซึ่งเป็นลักษณะของประวัติศาสตร์ประเทศนี้ ในเวลา 40 ปีกว่าที่ได้ล่วงมาหลังการโค่นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชในปี 1932 มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยเพียงประมาณสามปีเท่านั้น และส่วนใหญ่เกิดขึ้นหลังเดือนตุลาคม 1973
2. ภูมิหลัง: คณะรัฐมนตรีสามชุดที่มีอยู่ตลอดการทดลองประชาธิปไตยไทยนั้น (แต่ละชุดมีการปรับเล็กน้อยระหว่างช่วงดำรงตำแหน่ง) ต่างมีคุณสมบัติเฉพาะของมัน แต่ไม่มีชุดใดที่สามารถให้ความเป็นผู้นำที่มีความคิดอิสระและเข้มแข็งซึ่งประเทศไทยต้องการในช่วงเวลาปัจจุบัน ในหลายด้าน คณะรัฐมนตรีสองชุดของนายกรัฐมนตรีสัญญา ธรรมศักดิ์ (ต.ค. 1973 ถึงมีนาคม 1975) อาจเป็นชุดที่น่าจดจำมากที่สุด ในแง่ที่ว่าสัญญาเป็นประธานการเปลี่ยนผ่านจากรัฐบาลอำนาจนิยมสู่ประชาธิปไตยได้สำเร็จ ทว่า บทบาทของสัญญาจำเป็นต้องเป็นบทบาทชั่วคราว เพราะเขาได้รับแต่งตั้งโดยตรงจากพระมหากษัตริย์ ไม่มีฐานการเมืองจำเพาะ และการปฏิบัติหน้าที่จำกัดอยู่เฉพาะการวางรากฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยในอนาคต คณะรัฐมนตรีคึกฤทธิ์ ปราโมช (17 ตุลาคม 1975 ถึง 20 เมษายน 1976) ถูกขัดขวางจากรัฐสภาที่มีการแบ่งแยกสูงตั้งแต่การเลือกตั้งในเดือนมกราคม 1975 และพรรคการเมือง 16 พรรคที่มีอยู่ในสภานั้นมุ่งความสนใจไปกับการแก่งแย่งทางการเมือง มากกว่าจัดการกับปัญหาสำคัญที่ประเทศไทยเผชิญ คณะรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีเสนีย์ ปราโมช (21 เมษายน 1976 ถึง 6 ตุลาคม 1976) ในหลายแง่ดูเหมือนจะมีหวังมากที่สุด เพราะเป็นรัฐบาลผสมที่ประกอบด้วยพรรคการเมืองเพียงสี่พรรค และมีเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎรอยู่โข มีแรงต้านชัดเจนเล็กน้อยระหว่างพรรคทั้งสี่ แต่มีความไม่ลงรอยขั้นหายนะระหว่างกลุ่มแยกภายในพรรคประชาธิปัตย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการจัดการการกลับประเทศของอดีตนายกรัฐมนตรีถนอม การปะทุครั้งสุดท้ายนี้เกิดขึ้นโดยเป็นผลลัพธ์ของประเด็นดังกล่าว
3. รายละเอียดว่าการยึดอำนาจของกองทัพมีการวางแผนและลงมืออย่างไรนั้นยังเป็นหัวข้อความสนใจเฉพาะในทางวิชาการอยู่ในขณะนี้ แต่ก็คุ้มค่าที่จะยกบางประเด็นในความสัมพันธ์นี้ มีสิ่งบ่งชี้หลายสิ่งของการคบคิดรัฐประหารระหว่างปีที่แล้ว กองทัพไทยอาจมีขีดความสามารถเริ่มและลงมือรัฐประหารที่ประสบความสำเร็จได้ตลอดช่วงเวลานี้ อย่างไรก็ดีต่อเมื่อสัปดาห์ที่แล้วที่องค์ประกอบสำคัญสู่การตัดสินใจขั้นสุดท้ายถูกนำมาปะติดปะต่อกัน การยึดอำนาจดังกล่าวเป็นไปได้ว่าเกือบเกิดขึ้นแล้วในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา และแน่นอน ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในขณะนั้น พลเอกบุญชัย บำรุงพงศ์สั่งการให้กองทัพตื่นตัวป้องกันการเกิดรัฐประหาร ยิ่งไปกว่านั้นพระมหากษัตริย์คัดค้านรัฐประหารเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาอย่างชัดเจน สุดท้ายผู้นำกองทัพส่วนใหญ่กังวลว่ารัฐประหารอาจต้องฆ่าคนอีกหลายพันคนเพื่อฟื้นฟูระเบียบ ในทางตรงข้ามสัปดาห์ก่อนมีความเห็นตรงกันในหมู่ผู้นำกองทัพ พระมหากษัตริย์ดูเห็นชอบ และผู้นำนักศึกษาและแรงงานถูกปราบปรามไม่ว่าถูกจำกุมหรือด้วยความกังวลเกี่ยวกับการพัวพันของนักศึกษาในการดูหมิ่นพระราชวงศ์

งานนี้เป็นเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐ เนื่องจากเป็นงานของรัฐบาลกลางสหรัฐ (ดู ประมวลกฎหมายสหรัฐ ลักษณะ 17 มาตรา 105)