ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานแปล:กฎหมาย ลงวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1878"

จาก วิกิซอร์ซ
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2heures8 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
2heures8 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 45: บรรทัดที่ 45:
{{ตรคป
{{ตรคป
| Une loi peut seule déclarer l'état de siège, cette loi désigne les communes, les arrondissements ou départements auxquels il s'applique. Elle fixe le temps de sa durée. A l'expiration de ce temps, l'état de siège cesse de plein droit à moins qu'une loi nouvelle n'en prolonge les effets.
| Une loi peut seule déclarer l'état de siège, cette loi désigne les communes, les arrondissements ou départements auxquels il s'applique. Elle fixe le temps de sa durée. A l'expiration de ce temps, l'état de siège cesse de plein droit à moins qu'une loi nouvelle n'en prolonge les effets.
| กฎหมายเท่านั้นที่จะประกาศภาวะปิดล้อมได้ กฎหมายนี้ให้ระบุตำบล อำเภอ หรือจังหวัดที่จะให้มีการใช้บังคับ กฎหมายนี้ให้กำหนดระยะเวลาของตน เมื่อพ้นระยะนี้แล้ว ภาวะปิดล้อมย่อมสิ้นสุดลงไปเองโดยผลของกฎหมาย<ref name = "dpd"/> เว้นแต่จะมีกฎหมายใหม่มาขยายผลบังคับ
| กฎหมายเท่านั้นที่จะใช้ประกาศภาวะปิดล้อมได้ กฎหมายนี้ให้ระบุตำบล อำเภอ หรือจังหวัดที่จะให้มีการใช้บังคับ กฎหมายนี้ให้กำหนดระยะเวลาของตน เมื่อพ้นระยะนี้แล้ว ภาวะปิดล้อมย่อมสิ้นสุดลงไปโดยอัตโนมัติ<ref name = "dpd"/> เว้นแต่จะมีกฎหมายใหม่มาขยายผลบังคับ
}}
}}
{{ตรคป
{{ตรคป
บรรทัดที่ 51: บรรทัดที่ 51:
| แปลหัว = มาตรา 2
| แปลหัว = มาตรา 2
| En cas d'ajournement des chambres, le Président de la République peut déclarer l'état de siège, de l'avis du Conseil des ministres, mais alors les chambres se réunissent de plein droit, deux jours après.
| En cas d'ajournement des chambres, le Président de la République peut déclarer l'état de siège, de l'avis du Conseil des ministres, mais alors les chambres se réunissent de plein droit, deux jours après.
| ในกรณีที่สภาอยู่ระหว่างปิดประชุม ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจะประกาศภาวะปิดล้อมตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรีก็ได้ แต่สองวันหลังจากนั้น ให้สภาเป็นอันเปิดประชุมเองโดยผลของกฎหมาย<ref name = "dpd">สำนวน "de plein droit" (แปลตรงตัวว่า โดยกฎหมายเต็มที่ หรือ โดยสิทธิเต็มที่) หมายความว่า โดยเป็นไปเอง โดยเกิดขึ้นเอง หรือโดยอัตโนมัติ</ref>
| ในกรณีที่สภาอยู่ระหว่างปิดประชุม ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจะประกาศภาวะปิดล้อมตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรีก็ได้ แต่สองวันหลังจากนั้น ให้สภาเป็นอันเปิดประชุมเองโดยอัตโนมัติ<ref name = "dpd">สำนวน "de plein droit" (แปลตรงตัวว่า โดยกฎหมายเต็มที่ หรือ โดยสิทธิเต็มที่) หมายความว่า โดยเป็นไปเอง โดยเกิดขึ้นเอง หรือโดยอัตโนมัติ</ref>
}}
}}
{{ตรคป
{{ตรคป
บรรทัดที่ 67: บรรทัดที่ 67:
| แปลหัว = มาตรา 4
| แปลหัว = มาตรา 4
| Dans le cas où les communications seraient interrompues avec l'Algérie, le gouverneur pourra déclarer tout ou partie de l'Algérie en état de siège, dans les conditions de la présente loi.
| Dans le cas où les communications seraient interrompues avec l'Algérie, le gouverneur pourra déclarer tout ou partie de l'Algérie en état de siège, dans les conditions de la présente loi.
| ในกรณีที่การติดต่อสื่อสารกับอาลเฌรี<ref>คือ ประเทศแอลจีเรียซึ่งเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ดู {{w|en:French Algeria|แอลจีเรียของฝรั่งเศส}}</ref> นั้นเกิดขัดข้อง ผู้ว่าการ<ref>ตำแหน่งผู้ปกครองประเทศแอลจีเรียที่ตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ชื่อเต็มคือ ผู้ว่าการใหญ่ (บ้างแปลว่า ข้าหลวงใหญ่) แห่งแอลจีเรีย (gouverneur général d'Algérie) ดู {{w|en:List of French governors of Algeria|รายชื่อผู้ว่าการแอลจีเรีย}}</ref> จะประกาศให้ทุกส่วนหรือบางส่วนของอาลเฌรีตกอยู่ในภาวะปิดล้อม ตามเงื่อนไขของกฎหมายฉบับนี้ก็ได้
| ในกรณีที่การติดต่อสื่อสารกับอาลเฌรี<ref>ประเทศแอลจีเรียซึ่งเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ดู {{w|en:French Algeria|แอลจีเรียของฝรั่งเศส}}</ref> นั้นเกิดขัดข้อง ผู้ว่าการ<ref>ตำแหน่งผู้ปกครองประเทศแอลจีเรียที่ตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ชื่อเต็มคือ ผู้ว่าการใหญ่ (บ้างแปลว่า ข้าหลวงใหญ่) แห่งแอลจีเรีย (gouverneur général d'Algérie) ดู {{w|en:List of French governors of Algeria|รายชื่อผู้ว่าการแอลจีเรีย}}</ref> จะประกาศให้ทุกส่วนหรือบางส่วนของอาลเฌรีตกอยู่ในภาวะปิดล้อม ตามเงื่อนไขของกฎหมายฉบับนี้ก็ได้
}}
}}
{{ตรคป
{{ตรคป
บรรทัดที่ 73: บรรทัดที่ 73:
| แปลหัว = มาตรา 5
| แปลหัว = มาตรา 5
| Dans les cas prévus par les articles 2 et 3, les chambres,(le Parlement), dès quelles sont réunies, maintiennent ou lèvent l'état de siège. En cas de dissentiment entre elles, l'état de siège est levé de plein droit.
| Dans les cas prévus par les articles 2 et 3, les chambres,(le Parlement), dès quelles sont réunies, maintiennent ou lèvent l'état de siège. En cas de dissentiment entre elles, l'état de siège est levé de plein droit.
| ในกรณีที่บัญญัติไว้ในมาตรา 2 และ 3 นั้น ให้สภา (รัฐสภา) คงไว้หรือเพิกถอนซึ่งภาวะปิดล้อมทันทีที่สภาได้รับเรียกประชุม ในกรณีที่สภาตกลงกันไม่ได้ ก็ให้ภาวะปิดล้อมเป็นอันถูกเพิกถอนไปเองโดยผลของกฎหมาย<ref name = "dpd"/>
| ในกรณีที่บัญญัติไว้ในมาตรา 2 และ 3 นั้น ให้สภา (รัฐสภา) คงไว้หรือเพิกถอนซึ่งภาวะปิดล้อมทันทีที่สภาได้รับเรียกประชุม ในกรณีที่สภาตกลงกันไม่ได้ ก็ให้ภาวะปิดล้อมเป็นอันถูกเพิกถอนโดยอัตโนมัติ<ref name = "dpd"/>
}}
}}
{{ตรคป
{{ตรคป

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:23, 27 พฤศจิกายน 2563

กฎหมาย ลงวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1878 (พ.ศ. 2421), แปลจากภาษาฝรั่งเศส โดย วิกิซอร์ซ
Loi du 3 avril 1878 relative à l'état de siège.
กฎหมาย ลงวันที่ 3 เมษายน 1878 เกี่ยวกับภาวะปิดล้อม
Article 1 มาตรา 1
L'état de siège ne peut être déclaré qu'en cas de péril imminent, résultant d'une guerre étrangère ou d'une insurrection à main armée. ภาวะปิดล้อมนั้น จะประกาศได้ก็แต่ในกรณีที่มีอันตรายใกล้จะถึง ซึ่งเป็นผลมาจากสงครามกับต่างชาติหรือจากการกบฏโดยมีอาวุธ[1]
Une loi peut seule déclarer l'état de siège, cette loi désigne les communes, les arrondissements ou départements auxquels il s'applique. Elle fixe le temps de sa durée. A l'expiration de ce temps, l'état de siège cesse de plein droit à moins qu'une loi nouvelle n'en prolonge les effets. กฎหมายเท่านั้นที่จะใช้ประกาศภาวะปิดล้อมได้ กฎหมายนี้ให้ระบุตำบล อำเภอ หรือจังหวัดที่จะให้มีการใช้บังคับ กฎหมายนี้ให้กำหนดระยะเวลาของตน เมื่อพ้นระยะนี้แล้ว ภาวะปิดล้อมย่อมสิ้นสุดลงไปโดยอัตโนมัติ[2] เว้นแต่จะมีกฎหมายใหม่มาขยายผลบังคับ
Article 2 มาตรา 2
En cas d'ajournement des chambres, le Président de la République peut déclarer l'état de siège, de l'avis du Conseil des ministres, mais alors les chambres se réunissent de plein droit, deux jours après. ในกรณีที่สภาอยู่ระหว่างปิดประชุม ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจะประกาศภาวะปิดล้อมตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรีก็ได้ แต่สองวันหลังจากนั้น ให้สภาเป็นอันเปิดประชุมเองโดยอัตโนมัติ[2]
Article 3 มาตรา 3
En cas de dissolution de la Chambre des députés jusqu'à l'accomplissement entier des opérations électorales, l'état de siège ne pourra, même provisoirement, être déclaré par le Président de la République. ในกรณีที่สภาผู้แทนถูกยุบ ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจะประกาศภาวะปิดล้อมไม่ได้แม้เป็นการชั่วคราว จนกว่าจะดำเนินการเลือกตั้งเสร็จสิ้นทุกประการ
Néanmoins, s'il y avait guerre étrangère, le Président, de l'avis du Conseil des ministres, pourrait déclarer l'état de siège dans les territoires menacés par l'ennemi, à la condition de convoquer les collèges électoraux et de réunir les chambres dans le plus bref délai possible. อย่างไรก็ตาม ถ้ามีสงครามกับต่างชาติ ให้ประธานาธิบดีสามารถประกาศภาวะปิดล้อมในดินแดนที่ถูกศัตรูคุกคามได้ตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี โดยมีเงื่อนไขว่า ต้องเรียกรวมคณะผู้เลือกตั้งและเรียกประชุมสภาโดยเร็วที่สุด
Article 4 มาตรา 4
Dans le cas où les communications seraient interrompues avec l'Algérie, le gouverneur pourra déclarer tout ou partie de l'Algérie en état de siège, dans les conditions de la présente loi. ในกรณีที่การติดต่อสื่อสารกับอาลเฌรี[3] นั้นเกิดขัดข้อง ผู้ว่าการ[4] จะประกาศให้ทุกส่วนหรือบางส่วนของอาลเฌรีตกอยู่ในภาวะปิดล้อม ตามเงื่อนไขของกฎหมายฉบับนี้ก็ได้
Article 5 มาตรา 5
Dans les cas prévus par les articles 2 et 3, les chambres,(le Parlement), dès quelles sont réunies, maintiennent ou lèvent l'état de siège. En cas de dissentiment entre elles, l'état de siège est levé de plein droit. ในกรณีที่บัญญัติไว้ในมาตรา 2 และ 3 นั้น ให้สภา (รัฐสภา) คงไว้หรือเพิกถอนซึ่งภาวะปิดล้อมทันทีที่สภาได้รับเรียกประชุม ในกรณีที่สภาตกลงกันไม่ได้ ก็ให้ภาวะปิดล้อมเป็นอันถูกเพิกถอนโดยอัตโนมัติ[2]
Article 6 มาตรา 6
Les articles 4 et 5 de la loi du 9 août 1849 sont maintenus ainsi que les dispositions de ses autres articles non contraires à la présente loi. มาตรา 4 และ 5 ของกฎหมาย ลงวันที่ 9 สิงหาคม 1849 กับทั้งบทบัญญัติมาตราอื่น ๆ ของกฎหมายดังกล่าวที่ไม่ขัดกับกฎหมายฉบับนี้ ให้คงใช้ต่อไป
Signe: Marechal de Mac-Mahon, Duc de Magenta.

Le président du Conseil, garde des sceaux, ministre de la justice, Signe: Dufaure

ลงนาม: จอมพล เดอ มัก-มาอง ดุ๊กแห่งมาฌ็องตา[5]

ประธานคณะ,[6] ผู้รักษาลัญจกร,[7] รัฐมนตรียุติธรรม, ลงนาม: ดูว์โฟร์[8]

เชิงอรรถของวิกิซอร์ซ

  1. ต้นฉบับแปลตรงตัวว่า โดยมือมีอาวุธ หรือ โดยมือถืออาวุธ
  2. 2.0 2.1 2.2 สำนวน "de plein droit" (แปลตรงตัวว่า โดยกฎหมายเต็มที่ หรือ โดยสิทธิเต็มที่) หมายความว่า โดยเป็นไปเอง โดยเกิดขึ้นเอง หรือโดยอัตโนมัติ
  3. ประเทศแอลจีเรียซึ่งเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ดู แอลจีเรียของฝรั่งเศส
  4. ตำแหน่งผู้ปกครองประเทศแอลจีเรียที่ตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ชื่อเต็มคือ ผู้ว่าการใหญ่ (บ้างแปลว่า ข้าหลวงใหญ่) แห่งแอลจีเรีย (gouverneur général d'Algérie) ดู รายชื่อผู้ว่าการแอลจีเรีย
  5. ปาทริส เดอ มักมาอง (Patrice de MacMahon) มีบรรดาศักดิ์เป็น ดุ๊กคนแรกแห่งมาฌ็องตา (1er duc de Magenta)
  6. ตำแหน่งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ชื่อเต็มคือ ประธานคณะรัฐมนตรี (président du Conseil des ministres)
  7. ผู้รักษามหาลัญจกรแห่งสาธารณรัฐ (Grand Sceau de la République) เป็นสถานะของรัฐมนตรียุติธรรม
  8. ฌุล อาร์ม็อง ดูว์โฟร์ (Jules Armand Dufaure)

บรรณานุกรม

  งานนี้เป็นงานแปล ซึ่งมีสถานะทางลิขสิทธิ์แยกต่างหากจากงานต้นฉบับ
งานต้นฉบับ:

งานนี้เป็นสาธารณสมบัติในประเทศฝรั่งเศส เนื่องจาก

  • เป็นงานที่ผู้สร้างสรรค์ (หรือผู้สร้างสรรค์คนสุดท้าย ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วมกันหลายคน) ถึงแก่ความตายแล้วอย่างน้อย 70 ปี (CPI art. L123-1) และไม่ได้รับประโยชน์จากการขยายอายุลิขสิทธิ์ในรูปแบบใด ๆ (CPI art. L123-8, L123-9, L123-10)
  • เป็นงานที่ไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ หรือไม่อาจระบุตัวผู้สร้างสรรค์ หรือเป็นประมวลผลงาน ซึ่งได้เผยแพร่มาแล้วอย่างน้อย 70 ปี (CPI art. L123-3)
งานแปล:

ข้าพเจ้า ผู้ถือลิขสิทธิ์ในงานนี้ ให้งานนี้เป็นสาธารณสมบัติ คำประกาศนี้ให้มีผลทั่วโลก
ถ้าคำประกาศดังกล่าวไม่อาจเป็นไปได้ในทางกฎหมาย ข้าพเจ้าก็ให้ทุกคนมีสิทธิใช้งานนี้ได้ในทุกกรณี โดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ เว้นแต่ที่กฎหมายกำหนด