หน้านี้ได้พิสูจน์อักษรแล้ว
แม่แบบ {{หัวสลับ 2}} ถูกยกเลิกแล้ว กรุณาใช้แม่แบบ {{หัวสลับ}} ทดแทน |
๒๓
ปทานุกรม
คำเดิม | คำแปล | คำอธิบาย | ||
สังโยชน์. | ประกอบพร้อม. | คือลักษณะดีและชั่วซึ่งมีอยู่ใน กายคนและสัตว์. | ||
สังเขป. | คำย่นย่อ. | ถ้อยคำอันมิได้กว้างขวางยืด ยาว. | ||
สงสาร. | ที่ท่องเที่ยว, แล่นไป. | มนุษย์, สวรรค์, นรก. | ||
สัณฐาน. | ทรวดทรง. | มีสูงต่ำและขาวเหลืองเปนต้น. | ||
สุนทรวาต. | ลมละเอียด ลมตาม ท้อง. |
เปนชื่อโรคลม. | ||
สุนันทปักษี. | นกโบราณ. | ชื่อโรคซึ่งเกิดกับเด็กอย่าง ๑. | ||
สุริยาวัตรโรค. | โรคตามอาทิตย์. | คือ โรคอาทิตย์ขึ้น ปวดหัวมัว ตา. | ||
หัศดี, หัสดี. | ช้าง. | เปนชื่อสัตว์สี่เท้าพวก ๑. | ||
หทยัง. | หัวใจ. | ม้า ก็ว่า สิงห์โต ก็ว่า เขียว ก็ เหลือง ก็ว่า. | ||
อภิญญา. | ความรู้เฉพาะ. | ธรรมวิเศษอย่าง ๑. | ||
อุบล. | ดอกบัว. | ดอกบัวหลวง. | ||
อาโปธาตุ. | ธาตุน้ำ. | มี ๑๒ อย่าง นับแต่ดีเปนต้นไป. | ||
อทิสรูป. | ไม่เห็นตัว. | เปนชื่อทรางอย่าง ๑. | ||
อุดมรูป. | รูปอย่างดี. | ต้องลักษณะงาม ๕ ประการ. |