หน้านี้ยังไม่ได้พิสูจน์อักษร
๒๓๖ โฉมหน้าศักดินาไทย
สมเด็จกรมพระยาดำรงเคยตู่เอาไปไว้สมัยอยุธยาตอนปลาย | |
๖๑ | A Bourlet: Socialisme dans les Hua Phan คัดจาก "ประวัติศาสตร์กฏหมายไทย" กฏหมายที่ดินของ ร. แลงกาต์ หน้า ๘ |
๖๒ | นโยบายนี้ มนุษย์รู้จักใช้มาแต่สมัยระบบทาส หาใช่นโยบายของจักรวรรดินิยมโดยเฉพาะดังที่บางคนเข้าใจกันไม่ |
๖๓ | พญาบาลเมืองกับพญารามคำแหงสองคนนี้ เป็ นคนละคนกับพ่อขุนบาลเมืองกับพ่อขุนรามคำแหงที่รู้จักกันทั่วไป สองคนนี้ เป็นเหลนพ่อขุนรามคำแหง ที่มีชื่อว่าบาลเมืองกับรามคำแหงเท่านั้น นัยว่าตั้งชื่อตามธรรมเนียมลูกหลาน ครั้งปู่ทั้งสองคนนี้ รบกันเมื่อปีพ.ศ. ๑๙๖๒ เจ้าที่ดินใหญ่อยุธยาที่เข้าแทรกแซงครั้งนี้ คือสมเด็จพระนครอินทราธิราช |
๖๔ | "พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแถลงพระบรมราชาธิบายแก้ไขการปกครองแผ่นดิน" ฉบับรัชกาลที่ ⟨๗⟩ โปรดเกล้าให้พิมพ์, โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร พ.ศ. ๒๔๗๐ หน้า ๑๐-๑๑ |
๖๕ | คือตำแหน่งเดียวกับเจ้าแม่ศรีสุดาจันทร์ที่เป็นชู้กับขุนวรวงศาธิราช |
๖๖ | คือตำแหน่งเดียวกับที่ศรีปราชญ์ไปหลงรักจนถูกเนรเทศ |
๖๗ | ดูพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒, กรมดำรงฯ หน้า ๒๗๐ |
๖๘ | "คำอธิบายเรื่องพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา", สมเด็จกรมพระยาดำรงฯ, หน้า ๔๖๓ |
๖๙ | "ลักษณะการปกครองประเทศสยามแต่โบราณ", สมเด็จกรมพระยาดำรงฯ, หน้า ๓๓ |
๗๐ | "เทศาภิบาล" สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ, สำนักพิมพ์คลังวิทยา, ๒๔๙๕ หน้า ๒๕ |
๗๑ | ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ ภาค ๒ ฉบับหอสมุดวชิรญาณ, โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๕ หน้า ๒-๓ |
๗๒ | "ลักษณะการปกครองประเทศสยามแต่โบราณ", สมเด็จกรมพระยาดำรงฯ, หน้า ๔๓ และ "เทศาภิบาล" ของผู้เขียนคนเดียวกัน หน้า ๕๑-๕๒ |
๗๓ | ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ ภาค ๕ โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๖ หน้า ๑๓๕-๑๓๖ |