อธิบายธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยามเปรียบเทียบกับประเทศต่าง ๆ
งานนี้ยังไม่เสร็จ สามารถดูและร่วมพัฒนาได้ที่ดัชนีนี้: 1 |

“The end to be aimed at is not Life,
but ‘living well.’”
Socrates
หากสยามยังอยู่ยั้ง | ยืนยง, | |
เราก็เหมือนอยู่คง | ชีพด้วย. | |
หากสยามพินาศลง | ไทยอยู่ ได้ฤๅ | |
เราก็เหมือนมอดม้วย | หมดสิ้นสกุลไทย. |
- เล็กเช่อร์กฎหมายปกครอง โดยหลวงประดิษฐ์มนูธรรม.
- ประชุมกฎหมายไทย โดยหลวงประดิษฐ์มนูธรรม.
- เรื่องบุคคลพิเศษ โดยหลวงประสาทศุภนิติ.
- หนังสือรายเดือนนิติสาส์น.
- พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
- ข่าวในหนังสือพิมพ์ต่าง ๆ.
- Law of the Constitution, Dicey.
- The English Constitution, Bagehot.
- Outlines of Constitutional Law, Chalmers and Asquith⟨.⟩
- English Constitutional History, Taswell-Langmead.
- The Constitutional History of England, Maitland.
- Leading Cases in Constitutional Law, Thomas.
- The Principles of International Law, Lawrence.
- Outlines of General History, Renouf.
- A History of Great Britain, Mowat.
- Whitaker’s Almanac, 1929.
- The Statesman’s Year Book, 1931.
- The Japan Year Book, 1929.
- The Encyclopaedia Britannica, 13th Edition.
- Le Gouvernement de la France, Barthélémy.
- Codes d’Audience, Dalloz.
พอข้าพเจ้าจะลงมือเขียนหนังสือเล่มนี้ ก็มีผู้ท้วงว่า เขียนทำไม อีกหน่อยเขาก็เปลี่ยนกฎหมาย ข้าพเจ้าจึงต้องชี้แจงให้ทราบว่า พระราชบัญญัติธรรมนูญปกครองนี้ แม้จะเป็นกฎหมายชั่วคราวก็จริง แต่มีหลักสำคัญอยู่ในนั้นพอที่ข้าพเจ้าจะยึดเป็นที่มั่นสำหรับพาผู้อ่านลาดตระเวนไปรอบอาณาเขตต์แห่งกฎหมายธรรมนูญปกครอง (ซึ่งบางท่านเรียกว่ากฎหมายรัฐธรรมนูญ ดูกระทัดรัดดี) ได้ เพราะฉะนั้นคำอธิบายนี้จึงเป็นของถาวรใช้ได้ตลอดไป. แม้ตัวบทกฎหมายจะเปลี่ยนสักกี่ครั้ง ก็คงจะไม่พ้นขอบเขตต์แห่งคำอธิบายนี้ไปสักเท่าใดนัก.
ภายในเวลาไม่กี่เดือนนี้ รัฐบาลคงนำธรรมนูญฉะบับใหม่ออกใช้ แต่ธรรมนูญใหม่นั้นควรเป็นของถาวร ไม่ต้องเปลี่ยนแปลง ใช้ได้ชั่วลูกชั่วหลาน เพราะฉะนั้นจึงควรให้โอกาศราษฎรทุกคนตรวจวิจารณ์เสียโดยถ่องแท้ก่อน. แต่การวิจารณ์โดยไม่มีความรู้นั้นจะทำได้โดยยาก เพื่อช่วยผดุงความรู้นี้ ข้าพเจ้าจึงเห็นสมควรเขียนหนังสือนี้ขึ้น และได้พยายามชี้ผิดและชอบอย่างตรงไปตรงมาตามหลักวิชชา โดยไม่เห็นแก่หน้าบุคคล ยึดเอาความหวังดีต่อเพื่อนร่วมชาติเป็นสรณะ
ตกลงใจดั่งนี้แล้ว ข้าพเจ้าจึงได้เขียนหนังสือนี้ขึ้นโดยรีบร้อน ไม่ผิดกับที่ท่านคณะราษฎรได้ร่างธรรมนูญชั่วคราวขึ้นเท่าใดนัก เพราะฉะนั้นข้อผิดพลาดคงมีมาก ซึ่งข้าพเจ้าหวังว่าท่านผู้รู้คงจะอภัย และข้าพเจ้ายินดีรับข้อทักท้วงต่าง ๆ ไว้ประดับสติปัญญา โดยจะถือเป็นบุญคุณอย่างหนึ่งด้วย.
ข้าพเจ้าได้แบ่งหนังสือนี้ออกเป็น ๒ ภาค ภาคที่ ๑ ว่าด้วยกฎหมายธรรมนูญปกครองโดยตรง ภาคที่ ๒ ว่าด้วยกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกผู้แทนและระเบียบการประชุม (Organic Law) กับยังมีภาคผนวกอีก ทั้งนี้เพื่อให้ถูกตามหลักวิชชา.
ในที่สุดข้าพเจ้าขอขอบพระคุณญาติมิตร์ที่เคารพนับถือหลายท่านซึ่งได้กรุณาให้ความแนะนำบางอย่างเกี่ยวแก่การออกหนังสือนี้.
หน้า | บรรทัด | คำผิด | คำถูก | |||
๒ | ๑ | ขนไป | ขึ้นไป | |||
๒ | ๙ | วธี | วิธี | |||
๔ | ๑๐ | ธรรมดาจน | ธรรมดามาจน | |||
๖ | สุดท้าย | ง็เนโร | เง็นโร | |||
๑๒ | ๙ | Peoples | People’s | |||
๑๖ | ๑๖ | ง. | ฉ. | |||
๑๘ | ๑๑ | สภาราษฎร | ราษฎร | |||
๑๙ | ๑๒ | ฝรั่งเศส | อิตาลี | |||
๑๙ | ๑๒ | น่าที่ | ที่น่า | |||
๒๑ | ๓ | ผูปกครอง | ผู้ปกครอง | |||
๓๑ | สุดท้าย | ราษร | ราษฎร | |||
๓๒ | ๖ | คู่กัน-ไม่ | คู่กันไม่ | |||
๓๒ | ๑๑ | กษัตริย์ไ่ | กษัตริย์ไม่ | |||
๓๒ | ๑๗ | ราาธิปตัย | ราชาธิปตัย | |||
๓๓ | ๘ | เป็น้น | เป็นต้น | |||
๓๔ | ๓ | ลกษณ | ลักษณ | |||
๓๘ | ๑๐ | ธุระให้ดี | ธุระการให้ดี | |||
๓๙ | ๘ | ข้อ (๔) | ข้อ (๕) | |||
๔๑ | ๑๑ | พ.ศ. ๑๘๗๕ | ค.ศ. ๑๘๗๕ | |||
๔๗ | ๑๖ | คิดทำ | คิดคำ | |||
๕๑ | ๑๑ | รฐสภา | รัฐสภา | |||
๕๕ | ๑๑ | ๑. | ส่วนที่ ๑ | |||
๕๖ | ๖ | ไดเลือก | ได้เลือก | |||
๕๖ | ๑๒ | ๒. | ส่วนที่ ๒ | |||
๗๕ | ๙ | ประาชน | ประชาชน | |||
๘๓ | ๑๔ | ที่ถูกควร | ที่ถูกควรเป็น | |||
๘๘ | ๒ | ไดรับ | ได้รับ | |||
๙๓ | ๕ | ะคณ | คณะ | |||
๙๓ | ๕ | กระทรวงตน | กระทรวงของตน |
สารบาน | |||
อารัมภบท | |||
ส่วนที่ | ๑ | ข้อความทั่วไป | น่า ๑ |
ส่วนที่ | ๒ | กฎหมายธรรมนูญการปกครองประเทศคืออะไร | ๒ |
ส่วนที่ | ๓ | ต้นเหตุแห่งธรรมนูญการปกครองเมืองไทย | ๓ |
ส่วนที่ | ๔ | ลักษณะทั่วไปแห่งพระราชบัญญัติธรรมนูญปกครองแผ่นดินชั่วคราว พ.ศ. ๒๔๗๕ | ๘ |
ก. | คณะกรรมการราษฎรอาจทำการแทนกษัตริย์ได้ | ๙ | |
ข. | อำนาจสิทธิ์ขาดของกรรมการสภาราษฎร | ๙ | |
ค. | คณะกรรมการราษฎรเป็นอำนาจฝ่ายธุระการหรือฝ่ายนิติบัญญัติ | ๑๐ | |
ฆ. | การให้สิทธิเลือกผู้แทนแก่ราษฎรทั่วไป | ๑๔ | |
ง. | สภาราษฎรควรมีสภาเดียวหรือสองสภา | ๑๕ | |
จ. | พระราชบัญญัติธรรมนูญชั่วคราวมีระเบียบการประชุมและการเลือกผู้แทนปนอยู่ด้วย | ๑๖ | |
ฉ. | ธรรมนูญการปกครองของเรายังขาดบทบัญญัติซึ่งแสดงสิทธิต่าง ๆ ของราษฎร | ๑๖ | |
ช. | ธรรมนูญปัจจุบันขาดเครื่องสำหรับควบคุมสภาราษฎร คือ ขาดอำนาจยุบสภา | ๑๗ | |
ภาค ๑ ธรรมนูญการปกครองโดยตรง | |||
หมวดที่ | ๑
|
อำนาจรัฐาธิปัตย์ หรืออำนาจสูงสุดของประเทศ | น่า ๒๐ |
ส่วนที่๑อำนาจสูงสุดคืออะไร | ๒๐ | ||
ส่วนที่๒การใช้อำนาจอันสูงสุดในประเทศสยาม | ๒๑ | ||
หมวดที่ | ๒
|
กษัตริย์ | ๒๔ |
ส่วนที่๑กษัตริย์คือใคร | ๒๔ | ||
ส่วนที่๒สิทธิและอำนาจกษัตริย์ | ๒๕ | ||
ส่วนที่๓ผลแห่งการจำกัดอำนาจกษัตริย์ | ๓๒ | ||
หมวดที่ | ๓
|
สภาผู้แทนราษฎร | ๓๔ |
ส่วนที่๑ลักษณของสภา | ๓๔ | ||
ส่วนที่๒อำนาจและหน้าที่ของสภา | ๓๘ | ||
ส่วนที่๓สมาชิกสภาราษฎร | ๔๖ | ||
(๑)ประเภทและลักษณสมาชิก | ๔๖ | ||
(๒)สิทธิของสมาชิก | ๕๐ | ||
(๓)การออกจากตำแหน่งสมาชิก | ๕๑ | ||
หมวดที่ | ๔
|
คณะกรรมการราษฎร | ๕๕ |
ส่วนที่๑การเลือกตั้ง | ๕๕ | ||
ส่วนที่๒อำนาจและหน้าที่ | ๕๖ | ||
หมวดที่ | ๕
|
เสนาบดี | ๖๗ |
ส่วนที่๑ลักษณของตำแหน่งและการตั้งการถอด | ๖๗ | ||
ส่วนที่๒อำนาจและความรับผิดชอบของเสนาบดี | ๖๙ | ||
หมวดที่ | ๖
|
ศาล | ๗๒ |
ภาค ๒ กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกผู้แทนและระเบียบการประชุม | |||
หมวดที่ | ๑
|
กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกผู้แทน | ๗๖ |
ส่วนที่๑คุณสมบัติของผู้เลือกผู้แทนหมู่บ้าน | ๗๖ | ||
ส่วนที่๒คุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกเป็นผู้แทนหมู่บ้าน, ผู้แทนตำบล, และผู้แทนในสภาราษฎร | ๘๐ | ||
ส่วนที่๓การเลือกผู้แทนสำหรับสภาราษฎร | ๘๓ | ||
หมวดที่ | ๒
|
ระเบียบการประชุมของสภาและคณะกรรมการราษฎร | ๘๖ |
ปัจฉิมกถา ภาคผนวก | |||
๑. | ธรรมนูญประเทศรัสเซีย | ๙๑ | |
๒. | ธรรมนูญประเทศจีน | ๙๔ | |
๓. | ธรรมนูญประเทศเตอร์กี | ๙๖ | |
๔. | ธรรมนูญประเทศอิตาลี | ๙๙ | |
๕. | ธรรมนูญประเทศอังกฤษ | ๑๐๑ | |
๖. | ธรรมนูญประเทศฝรั่งเศส | ๑๐๖ | |
๗. | ธรรมนูญประเทศสหปาลีรัฐอเมริกา | ๑๐๙ | |
๘. | ธรรมนูญประเทศญี่ปุ่น | ๑๑๒ |
- กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗ กับพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม เรียงพิมพ์ด้วยตัวฝรั่งเศส มีศัพท์กฎหมายไทย–อังกฤษอยู่ท้าย ปกอ่อน ๑.๒๕ บาท ปกหนังผิวส้ม ๒.– บาท.
- คำแปลกฎหมายลักษณ์อาญา (ภาษาอังกฤษ) ปกอ่อน ๒.– บาท ปกหนังผิวส้ม ๓.– บาท.
- กฎหมายลักษณอาญา พร้อมด้วยคำแปล พิมพ์ในเล่มเดียวกัน ภาษาไทยอยู่ด้านซ้าย อังกฤษอยู่ด้ายขวา ปกอ่อน ๔.– บาท ปกหนังผิวส้ม ๕.– บาท (เปนครั้งแรกที่ได้มีการพิมพ์กฎหมายเทียบกับคำแปลอย่างนี้.)
- คำแนะนำหัวข้อกฎหมายอาญา ของ เฮนรี โลรัง ที่ปฤกษากฎหมาย และเคยเปนอาจารย์สอนกฎหมายณโรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุตติธรรม พิมพ์ครั้งที่ ๒ ปกอ่อน ๓.– บาท
- ตำนานกฎหมายไทย ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงฯ ปกอ่อน ๕๐ สตางค์.
- อธิบายธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยามเทียบกับต่างประเทศ โดย หลวงจักรปาณีฯ (วิสุทธิ์ ไกรฤกษ์) เนติบัณฑิตยสยามและอังกฤษ, บี. เอ. มหาวิทยาลัยออกสฟอรด. ปกอ่อน ๑.๕๐ บาท.
- ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๑–๒ ปกอ่อน ๑.– บาท. คำแปล ๔.– บาท.
- ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๓ ปกอ่อน ๑.๕๐ บ. คำแปล ๔.– บาท.
- ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๔ ปกอ่อน ๒๕ สตางค์ คำแปล ๕๐ สตางค์.
- ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๑–๒ และคำแปลในเล่มเดียวกัน ไทยอยู่ด้านซ้าย อังกฤษอยู่ด้านขวา ปกอ่อน ๔.– บาท ปกหนังผิวส้ม ๕.– บาท.
- ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๔ และคำแปลในเล่มเดียวกัน ไทยอยู่ด้านซ้าย อังกฤษอยู่ด้านขวา ปกอ่อน ๑.๒๕ บาท ปกหนังผิวส้ม ๒.๕๐ บาท.
- ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ไทยล้วน รวมเย็บในเล่มเดียวกัน บรรพ ๑–๒–๓–๔ ปกหนังผิวส้ม ๔ บาท; อังกฤษล้วน ปกหนังผิวส้ม ๑๐ บาท.
- วิชชาแม่เหล็กไฟฟ้า ของ อำมาตย์โท หลวงนพนาทวิชชาคุณ B. Sc. ปกอ่อน ลดราคาเหลือ ๑.– บาท.
- วิชชาไฟฟ้าอย่างพิสดาร ของ อ.ท. หลวงนพนาทวิชชาคุณ (นพ ตัณฑจำรูญ) ปริญญาทางวิทยาศาสตรแห่งมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ และนายสำราญ เผ่าบุญธรรม ขนาด ๘ หน้ายก มีรูป ๔๖๕ รูป พิมพ์ด้วยกระดาษอย่างดี เล่มหนาประมาณ ๒ นิ้วฟุต (ราคาเดิม ปกอ่อน ๗– บาท – ปกหนังผิวส้ม ๘.– บาท) ลดราคา ปกอ่อนเหลือเล่มละ ๕– บาท ปกหนังผิวส้ม ๖.๕๐ บาท ค่าส่ง ๘๐ สตางค์
- กำลังไฟฟ้าของไฟฟ้าหลวง โดย จมื่นอมรดรุณารักษ์ ประกาศนี⟨ย⟩บัตร์วิชชาแสงไฟฟ้าแห่งบริษัทเวสติ้งเฮาส ๒.– บาท
๑๖. | ละครแห่งชีวิต | โดย | ม.จ. อากาศดำเกิง | ๒.– บาท. | |||
๑๗. | ผิวเหลืองผิวขาว | "" | ๑.๕๐ บาท. | ||||
๑๘. | วิมานทลาย | "" | ๒.– บาท. |
๑๙. | มันสมอง | โดย | หลวงวิจิตร์วาทการ | ๑.๕๐ บาท. | |||
๒๐. | จิตตานุภาพ | "" | ๑.๕๐ บาท. | ||||
๒๑. | มหาบุรุษ | "" | ๑.๕๐ บาท. |
หมายเหตุ. ละครแห่งชีวิต เหลือน้อย, จิตตานุภาพ และ มหาบุรุษ กำลังพิมพ์ครั้งที่ ๔ จะแล้วในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๕ เปนอย่างช้า.
งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก
Public domainPublic domainfalsefalse