ไฟล์:คันถวงศ์ - ๒๕๐๙.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(1,125 × 1,547 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 1.23 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 36 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Ganthavaṃsa Scripture: Wat Photharam Version

ไทย: คัมภีร์คันถวงศ์ ฉบับวัดโพธาราม

 s:th:คัมภีร์คันถวงศ์ ฉบับวัดโพธาราม  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
English: Nandapaññācariya (?–?)
ไทย: พระปัญญานันทาจารย์ (?–?)
image of artwork listed in title parameter on this page
ผู้แปล
English: Aphitham Mahathat Witthayalai Foundation
ไทย: มูลนิธิอภิธรรมมหาธาตุวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง
English: Ganthavaṃsa Scripture: Wat Photharam Version
ไทย: คัมภีร์คันถวงศ์ ฉบับวัดโพธาราม
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q206074
คำอธิบาย
English: This book contains a Thai translation of Cūḷaganthavaṃsa ("CGV"), a Pali scripture describing the history of other Buddhist scriptures . CGV was composed by Nandapaññācariya, a Buddhist priest of Haṃsāvatī, around the year 2010 BE (1467/68 CE). Phra Dhammānandathera, a Thai Buddhist priest of Wat Photharam, Nakhon Sawan province, produced an established text of the CGV from two manuscripts: one written in the Roman script, obtained from the monastery of Sīlānandābhivaṃsathera Dhammācariya of Yangon, the other written in the Burmese script, obtained from the monastery of Vāsavathera Dhammācariya of Mandalay. Aphitham Mahathat Witthayalai Foundation of Thailand had the established text translated into Thai by Siri Phetchai, an official at the Department of Religious Affairs of Thailand, and had the translation printed as this book, titled as Khanthawong Chabap Wat Photharam ("Ganthavaṃsa: Wat Photharam Version").
ไทย: หนังสือนี้เป็นคำแปลภาษาไทยของ จูฬคันถวงศ์ คัมภีร์ภาษาบาลีซึ่งแสดงประวัติของคัมภีร์อื่น ๆ ในศาสนาพุทธ ผู้แต่ง คือ พระนันทปัญญาจารย์แห่งกรุงหงสาวดี แต่งในราว พ.ศ. ๒๐๑๐ พระธัมมานันทเถระ วัดโพธาราม จังหวัดนครสวรรค์ จัดทำข้อความอันเป็นที่ยุติ (established text) จากต้นฉบับ ๒ ฉบับ คือ ฉบับอักษรโรมันซึ่งได้มาจากสำนักของพระสีลานันทาภิวังสเถระธรรมาจริยะแห่งกรุงย่างกุ้ง กับฉบับอักษรพม่าซึ่งได้มาจากสำนักของพระวาสวเถระธรรมาจริยะแห่งกรุงมัณฑเลย์ แล้วมูลนิธิอภิธรรมมหาธาตุวิทยาลัยมอบหมายให้สิริ เพ็ชรไชย เจ้าหน้าที่กรมการศาสนา แปลออกเป็นภาษาไทย และพิมพ์ขึ้นเป็นหนังสือนี้ ตั้งชื่อว่า คันถวงศ์ ฉบับวัดโพธาราม
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก พ.ศ. 2509
publication_date QS:P577,+1966-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: คัมภีร์คันถวงศ์ ฉบับวัดโพธาราม. (๒๕๐๙). พระนคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน22:41, 3 มิถุนายน 2565รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 22:41, 3 มิถุนายน 25651,125 × 1,547, 36 หน้า (1.23 เมกะไบต์)YURiUploaded a work by {{en|1=Aphitham Mahathat Witthayalai Foundation}} {{th|1=มูลนิธิอภิธรรมมหาธาตุวิทยาลัย}} from {{th|1=''คัมภีร์คันถวงศ์ ฉบับวัดโพธาราม''. (๒๕๐๙). พระนคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.}} with UploadWizard

ไม่มีหน้าที่ใช้ไฟล์นี้

ข้อมูลอภิพันธุ์