ข้ามไปเนื้อหา

ไฟล์:จารึกสุโขทัย - ๒๔๗๘.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ (3,077 × 4,920 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 9.49 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 24 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Sukhothai Inscription

ไทย: จารึกสุโขทัย

 s:th:จารึกสุโขทัย  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q1416884
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Sukhothai Inscription
ไทย: จารึกสุโขทัย
รุ่น 1st
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q1416884
โรงพิมพ์
English: Printing House of the Survey Department
ไทย: โรงพิมพ์กรมแผนที่
คำอธิบาย
English: This book contains a transcription of a stele "bearing the law on robbery, dated 1266 GE (1887 BE [1344/45 CE]), obtained from the town of Sukhothai in 2473 BE [1930/31 CE])", which is now known as Charuek Kotmai Laksana Chon ("Inscription of the Law on Robbery") or Charuek Lak Thi Samsip Paet ("Inscription No. 38"). The transcription was made by Cham Thongkhamwan (b. 2440 BE [1897/98 CE]; d. 2512 BE [1969 CE]), an official at the Department of Fine Arts, and was printed for the first time as this book.
Note: "GE" refers to Greater Era; "BE", Buddhist Era; and "CE", Common Era.
ไทย: คำอ่านจารึก "ว่าด้วยกฎหมายลักษณะโจร ม.ศ. ๑๒๖๖ (พ.ศ. ๑๘๘๗) ได้มาจากเมืองสุโขทัยเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓" (ปัจจุบันเรียก จารึกกฎหมายลักษณะโจร หรือ จารึกหลักที่ ๓๘) นายฉ่ำ ทองคำวรรณ (พ.ศ. ๒๔๔๐–๒๕๑๒) ข้าราชการกรมศิลปากร เป็นผู้อ่าน พิมพ์ที่นี่เป็นครั้งแรก
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478
publication_date QS:P577,+1935-11-06T00:00:00Z/11
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๔๗๘). จารึกสุโขทัย. พระนคร: โรงพิมพ์กรมแผนที่. [นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรีและผู้บัญชาการทหารบก พิมพ์แจกในงานทอดกฐินพระราชทานณวัดชนะสงคราม วันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๘].

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา
Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน03:49, 7 กรกฎาคม 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 03:49, 7 กรกฎาคม 25643,077 × 4,920, 24 หน้า (9.49 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{institution:Fine Arts Department}} from {{th|1=กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๔๗๘). ''จารึกสุโขทัย''. พระนคร: โรงพิมพ์กรมแผนที่. [นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรีและผู้บัญชาการทหารบก พิมพ์แจกในงานทอดกฐินพระราชทานณวัดชนะสงคราม วันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๘].}} with UploadWizard

25 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์