ไฟล์:ตำราแบบธรรมเนียมฯ - ๒๔๙๓.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(2,393 × 3,791 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 19.17 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 85 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Treatises on Norms and Customs of the Royal Court in the Time of Ayutthaya

ไทย: ตำราแบบธรรมเนียมในราชสำนักครั้งกรุงศรีอยุธยา

 th:ตำราแบบธรรมเนียมในราชสำนักครั้งกรุงศรีอยุธยา กับพระวิจารณ์ฯ  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q1416884
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Treatises on Norms and Customs of the Royal Court in the Time of Ayutthaya
ไทย: ตำราแบบธรรมเนียมในราชสำนักครั้งกรุงศรีอยุธยา
ชื่อเรื่องรอง
English: With Commentary by HRH Prince Damrong Rajanubhab
ไทย: กับพระวิจารณ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
รุ่น 2
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q1416884
โรงพิมพ์
institution QS:P195,Q104533467
คำอธิบาย
English: This book is described as follows:
  1. This book contains Tamra Baep Thamniam Nai Ratchasamnak Khrang Krung Si Ayutthaya ("Treatises on Norms and Customs of the Royal Court in the Time of Ayutthaya"), a collection of historical treatise. These treatises were first printed in the year 2470 BE (1927/28 CE) as part of the 19th volume of the journal Latthi Tamniam Tang Tang, and were printed for the second time as this book. See further information at: File:ลัทธิฯ (๑๙) - ๒๔๗๐.pdf.
  2. In this edition, the book includes also a commentary on those treaties, written by Prince Damrong Rajanubhab in the year 2480 BE (1937/38 CE) during his political exile in Penang, but he died prior to finishing the commentary. This commentary was first printed as part of this book.
  3. And this book contains a preface written by the Fine Arts Department of Thailand, dated 11 April 2493 BE (1950 CE).
ไทย: หนังสือนี้มีเนื้อหาดังนี้
  1. หนังสือนี้มี ตำราแบบธรรมเนียมในราชสำนักครั้งกรุงศรีอยุธยา ซึ่งพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือชุด ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ ภาคที่ ๑๙ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐ และพิมพ์ครั้งที่ ๒ เป็นหนังสือเล่มนี้ ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ File:ลัทธิฯ (๑๙) - ๒๔๗๐.pdf คำนำ ของ กรมศิลปากร ลงวันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๓
  2. ในการพิมพ์ครั้งนี้ หนังสือนี้ได้รวมพระวิจารณ์ตำราดังกล่าว ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงแต่งใน พ.ศ. ๒๔๘๐ ขณะทรงลี้ภัยอยู่ในปีนัง แต่สิ้นพระชนม์ก่อนวิจารณ์ครบทุกเรื่อง พระวิจารณ์นี้พิมพ์ที่นี่เป็นครั้งแรก
  3. และหนังสือนี้มีคำนำของกรมศิลปากร ลงวันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๓
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก พ.ศ. 2493
publication_date QS:P577,+1950-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๔๙๓). ตำราแบบธรรมเนียมในราชสำนักครั้งกรุงศรีอยุธยา; กับ, พระวิจารณ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. (สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย ณ พระเมรุท้องสนามหลวง พุทธศักราช ๒๔๙๓).

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

ไอเทมที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน01:03, 19 มิถุนายน 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 01:03, 19 มิถุนายน 25642,393 × 3,791, 85 หน้า (19.17 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{institution:Fine Arts Department}} from {{th|1=กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๔๙๓). ''ตำราแบบธรรมเนียมในราชสำนักครั้งกรุงศรีอยุธยา กับพระวิจารณ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ''. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. (สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย ณ พระเมรุท้องสนามหลวง พุทธศักราช ๒๔๙๓).}} with UploadWizard

ไม่มีหน้าที่ใช้ไฟล์นี้

ข้อมูลอภิพันธุ์