ไฟล์:ประชุมพงศาวดาร (ภาค ๔) - ๒๔๕๘.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(4,375 × 5,833 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 89.72 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 239 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: A Collection of Chronicles

ไทย: ประชุมพงษาวดาร

 th:ประชุมพงศาวดาร/ภาคที่ 4  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q13026749
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: A Collection of Chronicles
ไทย: ประชุมพงษาวดาร
เล่มที่ 4
รุ่น 1
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q13026749
โรงพิมพ์
institution QS:P195,Q97382960
คำอธิบาย
English: This volume consists of the following:
  1. Preface dated 1 February 2458 BE (1916 CE), written by Damrong Rachanuphap, prince of Siam.
  2. Phra Ratcha Phongsawadan Khwam Kao ("Royal Chronicle: Old Version"), a chronicle of Ayutthaya, found in a manuscript dated 1136 LE (2317 BE, 1774/75 CE), which in turn appears to be a copy of another manuscript; author unknown; believed to have been composed in late Ayutthaya period (17–18th centuries CE).
  3. Phongsawadan Mueang Lawaek Chunlasakkarat Phan Nueng Roi Hasip Paet ("Royal Chronicle of Laweak, 1158 LE"), a chronicle of Cambodia, referred to as Lawaek (Longvek); written by a Siamese nobleman, Luang Photchanaphichit (Mueang), in 1158 LE (2339 BE, 1796/97 CE), at the behest of King Rama I.
  4. Phongsawadan Hua-mueang Monthon Isan ("Chronicle of Outer Towns in Isan Circle"), a chronicle of various polities in northeastern Siam; written by a Siamese royal person, Mom Amonwongwichit (Pathom Khanechon), who died 23 June 2451 BE (1908 CE).
Note: "LE" stands for Lesser Era; "BE", Buddhist Era; "CE", Common Era.
ไทย: ภาคนี้ ประกอบด้วย
  1. คำนำ ลงวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๕๘ ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ (พ.ศ. ๒๔๐๕–๒๔๘๖)
  2. พระราชพงศาวดาร ความเก่า คัดจากสมุดไทยซึ่งคัดลอกใน จ.ศ. ๑๑๓๖ (พ.ศ. ๒๓๑๗) จากต้นฉบับซึ่งเชื่อว่า แต่งในปลายสมัยอยุธยาอีกที ไม่ทราบผู้แต่ง
  3. พงศาวดารเมืองละแวก จ.ศ. ๑๑๕๘ หลวงพจนาพิจิตร (เมือง; ? – ?) เรียบเรียงใน จ.ศ. ๑๑๕๘ (พ.ศ. ๒๓๓๙) ตามรับสั่งของรัชกาลที่ ๑
  4. พงศาวดารหัวเมืองมณฑลอีสาน หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร; ? – ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๕๑) แต่ง ไม่ทราบปีที่แต่ง
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 2458 หรือ 2459
publication_date QS:P577,+1916-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: โบราณคดีสโมสร (ผู้รวบรวม). (๒๔๕๘). ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ ๔. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร. [อำมาตย์เอก พระยาศรีสำรวจ (ชื่น ภัทรนาวิก) ม.ม, ท.ช, รัตน ว,ป,ร.๔ พิมพ์แจกในงานศพพัน ภัทรนาวิก ผู้มารดา เมื่อปีเถาะ สัปตศก พ.ศ. ๒๔๕๘].

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

ไอเทมที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน16:17, 14 กันยายน 2563รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 16:17, 14 กันยายน 25634,375 × 5,833, 239 หน้า (89.72 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{en|1=Literary Society of Siam, Wachirayan Royal Library (collector)}} {{th|1=วรรณคดีสโมสร, หอพระสมุดวชิรญาณ (ผู้รวบรวม)}} from {{en|1=''Prachum phongsawadan phak thi si'' [Collection of historical archives, volume 4]. (1915). Bangkok: Sophon Phiphat Thanakon Printing House. [Printed by order of ''Ammat-ek Phraya'' Si Samruat (Chuen Phatthranawik), {{w|Order of the Crown of Thailand...

46 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์