ไฟล์:พงศาวดาร - ปลีก - ๒๕๓๙.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(850 × 1,350 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 1.72 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 25 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Royal Chronicle of the Kingdom of Ayutthaya: Wachirayan Royal Library Version

ไทย: พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ

 s:th:พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
Unknown authorUnknown author
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Royal Chronicle of the Kingdom of Ayutthaya: Wachirayan Royal Library Version
ไทย: พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q964769
คำอธิบาย
English: The Royal Chronicle of the Kingdom of Ayutthaya: Wachirayan Royal Library Version (due to the fact that the manuscript was kept at this library), or the Royal Chronicle of the Kingdom of Ayutthaya: Fragmentary Version, or the Royal Chronicle No. 222 2/A 104, believed by historians to have been written during the initial part of the Ayutthaya period (15th century), being the oldest surviving chronicle of the Kingdom of Ayutthaya to date, describing events in the reign of King Boromrachathirat II. — Reference: As stated in the Thai description.
ไทย: พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ (เนื่องจากต้นฉบับอยู่ที่หอพระสมุดวชิรญาณ) หรือ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับปลีก หรือ พระราชพงศาวดาร หมายเลข ๒๒๒ ๒/ก ๑๐๔ นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า เขียนขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น เป็นพงศาวดารฉบับเก่าแก่ที่สุดที่เหลือรอดมาถึงตอนนี้ เนื้อความว่าด้วยรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ — อ้างอิง: วินัย พงศ์ศรีเพียร. (๒๕๕๕). "เอกสารสำคัญ ลำดับที่ ๖๓ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ (ฉบับปลีก หมายเลขทะเบียน ๒๒๒ ๒/ก ๑๐๔)". ใน ๑๐๐ เอกสารสำคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ ๑๓ (น. ๔๙–๑๐๙). กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ์. ISBN 978-616-7070-92-6.
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก circa 15th century
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: "พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับปลีก หมายเลข ๒/ก๑๐๔ ต้นฉบับของหอพระสมุดวชิรญาณ". (๒๕๓๙). ใน วินัย พงศ์ศรีเพียร (บรรณาธิการ), ความยอกย้อนของประวัติศาสตร์ (น. ๒๐๔–๒๒๘). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี, คณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทย. ISBN 9747771977.

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน19:38, 14 เมษายน 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 19:38, 14 เมษายน 2564850 × 1,350, 25 หน้า (1.72 เมกะไบต์)Miwako SatoUploaded a work by {{unknown author}} from {{th|1="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับปลีก หมายเลข ๒/ก๑๐๔ ต้นฉบับของหอพระสมุดวชิรญาณ". (๒๕๓๙). ใน วินัย พงศ์ศรีเพียร (บรรณาธิการ), ''ความยอกย้อนของประวัติศาสตร์'' (น. ๒๐๔–๒๒๘). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี, คณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทย. {{isbn|9747771977}}.}} with UploadWizard

ข้อมูลอภิพันธุ์