ไฟล์:ลัทธิฯ (๑๓) - ๒๔๖๔.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(1,654 × 2,720 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 3.71 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 28 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Various Believes and Traditions

ไทย: ลัทธิธรรมเนียมภาคต่าง ๆ

 s:th:ลัทธิธรรมเนียมภาคต่าง ๆ/ภาคที่ 13  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q96971484
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Various Believes and Traditions
ไทย: ลัทธิธรรมเนียมภาคต่าง ๆ
เล่มที่ 13
รุ่น 1st
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q96971484
โรงพิมพ์
institution QS:P195,Q97382960
คำอธิบาย
English: The present volume contains the following:
  1. A preface by Prince Damrongrachanuphap, dated 9 January 2464 BE (1922 CE).
  2. Khamhaikan Samanathut Phama ("Reply of Burmese Ecclesiastical Embassy"), being a record of a reply given by a Burmese embassy during its conservation with Siamese Buddhist priests about the Buddhist clergy and traditions in Burma. The embassy, consisting of seven Buddhist priests and six laymen, entered Siam in order to bring a Buddha's relic back to Burma. The group arrived in Bangkok on 1 January 2442 BE (1900 CE). The original manuscript containing the record was obtained by the Wachirayan Royal Library from Phra Tham Warodom (possibly Chai Puṇṇadatto), high priest of Wat Benchamabophit, in the year 2464 BE (1921/22 CE), and was first printed as this book.
ไทย: ภาคนี้ ประกอบด้วย
๑. คำนำ ของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ ลงวันที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๔
๒. คำให้การสมณทูตพม่า เป็นคำให้การของทูตพม่า ประกอบด้วย ภิกษุ ๗ รูป คฤหัสถ์ ๖ คน ที่เข้ามากรุงเทพฯ เพื่อรับพระธาตุกลับไปพม่า ถึงกรุงเทพฯ เมื่อ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๒ ได้พูดคุยกับภิกษุชาวไทยว่าด้วยคณะสงฆ์และประเพณีสงฆ์ในประเทศพม่า ภิกษุไทยจึงบันทึกไว้ ต้นฉบับเป็นสมุดไทย หอพระสมุดวชิรญาณได้มาจากพระธรรมวโรดม วัดเบญจมบพิตร (อาจหมายถึง จ่าย ปุณฺณทตฺโต) ใน พ.ศ. ๒๔๖๔ และให้พิมพ์ครั้งแรกเป็นหนังสือนี้
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 2464 หรือ 2465
publication_date QS:P577,+1922-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: หอพระสมุดวชิรญาณ (ผู้รวบรวม). (๒๔๖๔). ลัทธิธรรมเนียมภาคต่าง ๆ ภาคที่ ๑๓. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร. [นายพลตรี พระยาวรเดชศักดาวุธ (ชื่น สรรพตานนท์) ราชองครักษ์ พิมพ์ในงานปลงศพสนองคุณกลีบ มารดา กับชื่น มารดาคุณหญิงวรเดชศักดาวุธ เมื่อปีระกา พ.ศ. ๒๔๖๔].

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน00:20, 20 มิถุนายน 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 00:20, 20 มิถุนายน 25641,654 × 2,720, 28 หน้า (3.71 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{institution:Wachirayan Royal Library}} from {{th|1=หอพระสมุดวชิรญาณ (ผู้รวบรวม). (๒๔๖๔). ''ลัทธิธรรมเนียมภาคต่าง ๆ ภาคที่ ๑๓''. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร. [นายพลตรี พระยาวรเดชศักดาวุธ (ชื่น สรรพตานนท์) ราชองครักษ์ พิมพ์ในงานปลงศพสนองคุณกลีบ มารดา กับชื่น มารดาคุณหญิงวรเดชศักดาวุธ เมื่อปีระกา พ.ศ. ๒๔๖๔].}} with UploadWizard

29 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์