ไฟล์:ลัทธิฯ (๒๖) - ๒๔๗๙ a.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(1,706 × 2,579 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 6.11 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 53 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Various Believes and Traditions

ไทย: ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ

 s:th:ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ/ภาคที่ 26  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q1416884
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Various Believes and Traditions
ไทย: ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ
เล่มที่ 26
รุ่น 1st
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q1416884
โรงพิมพ์
institution QS:P195,Q104533467
คำอธิบาย
English: The present volume consists of:
  1. A preface by the Fine Arts Department, dated 25 February 2479 BE (1937 CE).
  2. A dedication by Prince Naritsaranuwattiwong, dated 15 February 2479 BE (1937 CE).
  3. Kotmonthianban Phama ("Palace Law of Burma"), being a Thai translation, by Prince Damrongrachanuphap, of an English article, done in 2478 BE (1935/36 CE) and subsequently revised before being printed for the first time as this book. The original article is as follows:
    Scott, James George (2442 หรือ 2443) "Chapter XI. Palace customs and Burma under native rule. Archæology." in Gazetteer of :Upper Burma and the Shan States, Part 2, Volume 2, Rangoon: Superintendent, Government Printing, Burma, pp. 85–195
    Upon comparison of the translation and the original work, it is found that the prince merely translated certain parts of the original work, removed certain parts of the original work, removed all of the original illustrations, and added a great number of comments to the work.
ไทย: ภาคนี้ ประกอบด้วย
  1. คำนำ ของ กรมศิลปากร ลงวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๙
  2. คำอุทิศ ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ ลงวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๙
  3. กฎมนเทียรบาลพะม่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงแปลจากบทความภาษาอังกฤษเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๘ และภายหลังได้แก้ไขเพิ่มเติมอีก ก่อนพิมพ์เป็นครั้งแรกเป็นหนังสือเล่มนี้ บทความภาษาอังกฤษดังกล่าว คือ
    Scott, James George (2442 หรือ 2443) "Chapter XI. Palace customs and Burma under native rule. Archæology." in Gazetteer of Upper Burma and the Shan States, Part 2, Volume 2, Rangoon: Superintendent, Government Printing, Burma, pp. 85–195
    เมื่อเปรียบเทียบคำแปลกับต้นฉบับ จะพบว่า ทรงแปลมาเพียงบางส่วน ทั้งทรงตัดเนื้อหาเดิมออกหลายส่วน ตัดรูปประกอบออกทั้งหมด และเติมข้อคิดเห็นเข้าไปหลายส่วน
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 21 มีนาคม พ.ศ. 2479
publication_date QS:P577,+1937-03-21T00:00:00Z/11
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๔๗๙). ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ ภาคที่ ๒๖. ม.ป.ท.: ม.ป.พ. (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ โปรดให้ตีพิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมเจ้าตระนักนิธิผล ไชยันต์ ณ วัดนรนารถสุนทริการาม วันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๙).

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

ไอเทมที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน10:28, 20 มิถุนายน 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 10:28, 20 มิถุนายน 25641,706 × 2,579, 53 หน้า (6.11 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{institution:Fine Arts Department}} from {{th|1=กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๔๗๙). ''ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ ภาคที่ ๒๖''. ม.ป.ท. (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ โปรดให้ตีพิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมเจ้าตระนักนิธิผล ไชยันต์ ณ วัดนรนารถสุนทริการาม วันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๙).}} with UploadWizard

54 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์