ไฟล์:พาราณสี - ๒๕๐๒.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(6,195 × 9,160 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 35.77 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 53 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: The Town of Pharanasi

ไทย: เมืองพาราณสี

 s:th:เมืองพาราณสี  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q1416884
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: The Town of Pharanasi
ไทย: เมืองพาราณสี
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q1416884
โรงพิมพ์
English: Rungrueang Tham Printing House
ไทย: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม
คำอธิบาย
English: The present book consists of the following:
  1. A preface by the Fine Arts Department of Thailand, dated 20 April 2502 BE (1959 CE).
  2. Mueang Pharanasi ("The Town of Pharanasi"), being the record of a reply given by a Brahman named Achutanannam, who was interrogated about his hometown, Varanasi. The interrogation was conducted on Monday, the 11th day of the waning moon, the 10th month, the Year of the Tiger, 1192 LE (2373 BE, 1830 CE), by the following persons: (1) Phra Amonmoli of Wat Prayurawongsawat [perhaps referring to Somdet Phra Phutthakhosachan (Chi Inthasaro), abbot of the mentioned monastery]; (2) "His Excellency the Kosathipbodi" [referring to the Minister of Foreign Affairs, but who was holding this position at that time is still not known]; (3) Luang Nonthaket, from the Department of Ports (in the Ministry of Foreign Affairs), responsible for foreign Brahmans; and (4) Luang Wisetkosa, from the Ministry of Foreign Affairs. This work was first published in the magazine Wachirayan, volume 77, February 119 RE (2443 BE, 1901 CE).
Note: "LE" refers to Lesser Era; "BE", Buddhist Era; "CE", Common Era; and "RE", Rattanakosin Era (the era of the Rattanakosin Kingdom).
ไทย: หนังสือนี้ ประกอบด้วย
๑. คำนำ ของ กรมศิลปากร ลงวันที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๒
๒. เมืองพาราณสี เป็นบันทึกคำให้การของพราหมณ์ชื่อ อะจุตะนันนำ ซึ่งตอบคำถามเกี่ยวกับเมืองพาราณสี บ้านเกิดของตน ถามในวันจันทร์ แรม ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีขาล จ.ศ. ๑๑๙๒ (พ.ศ. ๒๓๗๓) ผู้ถาม คือ (๑) พระอมรโมฬี วัดประยูรวงศาวาส [อาจหมายถึง สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (จี่ อินฺทสโร) เจ้าอาวาสวัดดังกล่าว] (๒) "ฯพณฯ โกษาธิบดี" กรมพระคลัง (๓) หลวงนนทเกษ จากกรมท่า (กรมพระคลังส่วนที่ติดต่อกับต่างชาติ) ว่าการพราหมณ์เทษ และ (๔) หลวงวิเศษโกษา จากกรมพระคลัง พิมพ์ครั้งแรกในหนังสือ วชิรญาณ ตอน ๗๗ เดือนกุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๑๙ (พ.ศ. ๒๔๔๓)
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 25 เมษายน พ.ศ. 2502
publication_date QS:P577,+1959-04-25T00:00:00Z/11
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๕๐๒). เมืองพาราณสี. พระนคร: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนางเนียร บุนนาค ณ เมรุวัดอนงคาราม วันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๐๒).

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน00:06, 5 มิถุนายน 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 00:06, 5 มิถุนายน 25646,195 × 9,160, 53 หน้า (35.77 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{institution:Fine Arts Department}} from {{th|1=กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๕๐๒). ''เมืองพาราณสี''. พระนคร: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนางเนียร บุนนาค ณ เมรุวัดอนงคาราม วันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๐๒).}} with UploadWizard

ไม่มีหน้าที่ใช้ไฟล์นี้

ข้อมูลอภิพันธุ์