ผู้สร้างสรรค์:เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ผู้สร้างสรรค์:เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค))
←รายชื่อ: ท | ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา (พ.ศ. 2356–2413) |
[1] และถึงแก่พิราลัยเมื่อวันอาทิตย์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2413[1] เป็นขุนนางชาวไทย สำเร็จราชการด้านกิจการต่างประเทศ[1] เป็นมือปราบอั้งยี่ ทั้งเป็นนักการปกครอง นักการคลัง นักการทูต นักการศาสนา นักประวัติศาสตร์ นักเขียน และนักก่อสร้าง[2] | เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี ชื่อตัวว่า ขำ ชื่อสกุลว่า บุนนาค เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2356
งาน
[แก้ไข]- "จดหมายเหตุเสด็จหว้ากอ", ใน ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ 19 (2463)
- "พงศาวดารญวน", ใน ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 28 (2466)
- พระราชพงษาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 (2444) (ต้นฉบับ)
- พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชชกาลที่ 3 (2477) (ต้นฉบับ)
- พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชชกาลที่ 4 (2477) (ต้นฉบับ)
- เรื่องพระปฐมเจดีย์ (2469) (ต้นฉบับ)
- หนังสือแสดงกิจจานุกิตย์ (2410) (ต้นฉบับ)
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ 1.0 1.1 1.2 ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา. (2548). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 ของเจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. ISBN 9749528115. น. (24)
- ↑ เอนก นาวิกมูล. (2550). เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค) เสนาบดีนักปราชญ์. กรุงเทพฯ: แสงดาว. ISBN 9789747316483. น. 29
งานที่บุคคลนี้สร้างสรรค์ขึ้น ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก