คาถาสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

จาก วิกิซอร์ซ
Warning: หน้านี้ขาด {{หัวเรื่อง}}
ถ้าคุณอยากช่วย คุณสามารถเพิ่มข้อมูลตาม {{หัวเรื่อง}} เข้ามาในหน้านี้ หรือแสดงความเห็นไว้ที่ หน้าพูดคุย

คาถาสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

พุทธมังคลคาถา[แก้ไข]

หรือเรียกว่า คำนมัสการบูชาพระอรหันต์แปดทิศ

สัมพุทโธ ทิปะทัง เสฏโฐ นิสินโน เจวะ มัชฌิเม

โกณฑัญโญ ปุพพะภาเค จะ อาคเณยเย จะ กัสสะโป

สารีปุตโต จะ ทักขิเณ หะระติเย อุปาลิ จะ

ปัจฉิมเมปิ จะ อานันโท พายัพเพ จะ คะวัมปะติ

โมคคัลลาโน จะ อุตตะเร อีสาเนปิ จะ ราหุโล

อิเม โข มังคะลา พุทธา สัพเพ อิธะ ปะติฏฐิตา

วันทิตา เต จะ อ้มเหหิ สักกาเรหิ จะ ปูชิตา

เอเตสัง อานุภาเวนะ สัพพะโสตถี ภะวันตุ โน


อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง

นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง

ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง

ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโยฯ


  • หมายเหตุ: พุทธมังคลคาถานี้ หรือเรียกว่า คำนมัสการบูชาพระอรหันต์แปดทิศ

ล้วนแต่มีฤทธิ์ทุกองค์ เป็นมหาเถระผู้ยิ่งใหญ่ในทางพระพุทธศาสนา เมื่อทำการสวดบูชาแล้ว ย่อมจะมีลาภผลเป็นมิ่งมงคล และปราศจากอันตราย ถ้าจะสวดแบบธรรมดาก็ได้ โดยหัวหน้ากล่าวนำ หันทะ มะยัง พุทธะมังคละคาถาโย ภะณามะเส

อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref></ref>===คาถาบูชาพระสมเด็จ===

ปุตตะกาโม ลาเภ ปุตตัง ธะนะ กาโม ลาเภ ธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตะวา

คาถาอารธนาพระสมเด็จ[แก้ไข]

โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสัฏฐาเน สิเว วะเร โตสัง อะกาสิ ชันตูนัง โตสะจิตตัง นะมามิหัง อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ

คาถาสืบสร้างทางสวรรค์และนิพพาน[แก้ไข]

พุทธะ พุทธา พุทเธ พุทโธ พุทธัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะโมพุทธายะ

คาถาชินบัญชร[แก้ไข]

พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้น ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงและตั้งคำอธิษฐานว่า


ปัตตะกาโม ลาภะ ปัตตัง ธะนะ กาเม ลาภะ ธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตะวา

เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร

1. ชิยาสะรากะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจา สะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
2. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐาวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา.
3. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโล จะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
4. หะทะเย เม อุนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลโน จะ วามะเก.
5. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วะมะโสตัตเก.
6. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสันโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
7. กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร.
8. ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะสีวะลี เถรา ปัญจะ อิเมชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
9. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา

ชะลันตา สีละเต เชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.

10. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตกัง ธะชังคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
11. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะ กัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
12. ชินานานาพะละสังยุตตา สัตตะปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา.
13. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา วะเสโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
14. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสา สะภา อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ

ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะวาโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิชินะปัญชะเรติ.