คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ในคดีหมายเลขแดงที่ อ. ๔๑๑/๒๕๕๒

จาก วิกิซอร์ซ


แม่แบบผิดพลาด: มีการลบช่องที่ไม่ได้ใช้ออก โปรดเติมกลับเข้าไป (โปรดดูเอกสารกำกับแม่แบบ)



คำพิพากษา
(อุทธรณ์)
 
ตราครุฑ
ตราครุฑ
คดีหมายเลขดำที่ อ. ๙๒๐/๒๕๕๐
คดีหมายเลขแดงที่ อ. ๔๑๑/๒๕๕๒
ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์
ศาลปกครองสูงสุด
 



นายพิชัย สุวรรณสุวิชากร ผู้ฟ้องคดี
ระหว่าง
นางปานทอง เจริญอำนวยโชค ผู้ร้องสอด
ผู้อำนวยการเขตทุ่งครุ ผู้ถูกฟ้อง



เรื่อง คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกําหนดให้ต้องปฏิบัติ หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร (อุทธรณ์คําพิพากษา)


ผู้ฟ้องคดียื่นอุทธรณ์คําพิพากษา ในคดีหมายเลขดําที่ ๑๒๑/๒๕๔๙ หมายเลขแดงที่ ๑๗๖๒/๒๕๕๐ ของศาลปกครองชั้นต้น (ศาลปกครองกลาง) คดีนี้ผู้ฟ้องคดีฟ้องและแก้ไขเพิ่มเติมคําฟองวา ผูฟองคดีอาศัยอยูบานเลขที่ ๓๒๖/๖๒ ซอยประชาอุทิศ ๘๗ ถนนประชาอุทิศ แขวงทุงครุ กรุงเทพมหานคร ไดรับความเดือดร้อนรําคาญจากการเลี้ยงแมวของผูรองสอดประมาณ ๓ ตัว ถึง ๔ ตัว ซึ่งอยูบานเลขที่ ๓๒๖/๑๓ ซอยเดียวกัน โดยปลอยปละละเลยใหแมวออกมาอยูตามทางสาธารณะ ซึ่งแมวบางตัวไดเขามากินอาหารและขับถ่ายของเสียสงกลิ่นเหม็นในบานของผูฟองคดีอันเปนการรบกวนความเปนอยูตามปกติสุขของผูฟองคดีและครอบครัว ผูฟองคดีไดรองเรียนตอผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ปลัดกรุงเทพมหานคร และรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย เกี่ยวกับกรณีดังกลาว และไดรองเรียนตอผูถูกฟองคดีเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ แตจนขณะนี้ ก็ยังมิไดมีการดําเนินการแกไขเหตุเดือดรอนรําคาญแตอยางใด ตอมา เมื่อวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๙ ผูฟองคดีไดรับหนังสือแจงเกี่ยวกับกรณีที่ไดรองเรียน ซึ่งสรุปสาระสําคัญไดวา ปจจุบัน นางสาวฝนจิต เอี่ยมสกุลยง ไมไดทําการเลี้ยงแมว และเหตุรองเรียนไมเขาขายเหตุเดือดรอนรําคาญตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ผูรองสอดไดเลี้ยงแมว ๓ ตัว ถึง ๔ ตัว ในอาคาร แตไดควบคุมอยูในอาคารของผูรองสอดโดยไมไดปลอยปละละเลยแตอยางใด ผูฟองคดีเห็นวา หนังสือชี้แจงดังกลาวขัดแยงจากขอเท็จจริงเปนอยางยิ่ง และกรณีเปนการละเลยตอหนาที่ของเจาพนักงานทองถิ่นตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕

ขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหผูถูกฟองคดีดําเนินการตามอํานาจหนาที่กับผูรองสอด โดยมิใหผูร้องสอดปลอยแมวออกมากอความเดือดรอนรําคาญแกผูฟองคดี

ผูรองสอดทําคําชี้แจงวา ผูรองสอดไดเลี้ยงแมวจํานวน ๓ ตัว แตอาจมีแมวซึ่งไมมีเจาของมากินอาหารดวยอีก ๑ ตัว ถึง ๒ ตัว การเลี้ยงแมวของผูรองสอดไดเลี้ยงไวในกรงขัง และเมื่อผูรองสอดไมอยูบานก็ปิดประตูบานตลอดเวลา ซึ่งในบางครั้งผูรองสอดอยูหนาบานก็นําแมวออกมาดวย โดยไมไดปลอยปละละเลยใหไปทําความเดือดรอนแกผูอื่นแตอยางใด ผูฟองคดีไดรองเรียนเกี่ยวกับกรณีนี้หลายครั้ง โดยมีเจาหนาที่ของสํานักงานเขตทุงครุมาตรวจสอบและแนะนําวิธีการเลี้ยงแมวมาโดยตลอดโดย กอนหนานี้ ผูฟองคดีไดรองเรียนการเลี้ยงแมวของนองสาวของผูรองสอด (นางสาวฝนจิต เอี่ยมสกุลยง) ในลักษณะอยางเดียวกัน แตไมเป็นความจริง เพราะนองสาวของผูรองสอดไดดูแลแมวเปนอยางดี ไมไดปลอยปละละเลยแตอยางใด และปจจุบันก็ไมไดเลี้ยงแมวแลว สวนกรณีผูฟองคดีไดรองเรียนถึงการเลี้ยงแมวของผูรองสอดนั้น เจาหนาที่จากสํานักงานเขตทุงครุไดมาทําการตรวจสอบอยางนอยเดือนละ ๓ ครั้ง ถึง ๔ ครั้ง และบางครั้งก็มีเจาหนาที่ของกองควบคุมโรคพิษสุนัขบามาจับแมวไมมีเจาของบาง ซึ่งครั้งสุดทายสํานักงานเขตก็ไดมีหนังสือขอความรวมมือในการควบคุมสัตวและแนะนําการควบคุมสัตวเลี้ยงดวย

ผูถูกฟองคดีใหการวา คดีนี้สืบเนื่องมาจากผูฟองคดีไดรับความเดือดรอนรําคาญจากการเลี้ยงแมว ๓ ตัว ถึง ๔ ตัว ในบริเวณซอยประชาอุทิศ ๘๗ แขวงทุงครุ เขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร โดยในระยะแรกผูฟองคดีไดมีหนังสือรองเรียนวาอาคารเลขที่ ๓๒๖/๑๓ ของนางสาวฝนจิต เอี่ยมสกุลยง ไดปลอยปละละเลยในการเลี้ยงแมว ซึ่งปจจุบันนางสาวฝนจิตไมไดมีการเลี้ยงแมวแลว ตอมา ผูฟองคดีไดรองเรียนการเลี้ยงแมวของผูรองสอดวา ไดไปกอเหตุเดือดรอนรําคาญแกผูฟองคดี เมื่อผูถูกฟองคดีไดดําเนินการตรวจสอบขอเท็จจริงแลว ปรากฏวา ผูรองสอดไดเลี้ยงแมวประมาณ ๓ ตัว ถึง ๔ ตัว ซึ่งผูรองสอดแจงวา ไดปองกันไมใหแมวออกไปนอกอาคาร โดยทําการปดประตูดานหนาอาคารไวมิดชิด นอกจากนี้ ผูถูกฟองคดีไดตรวจสอบบานของประชาชนบริเวณใกลเคียง พบวา ไดมีการเลี้ยงแมวและสุนัข หรือไมไดจงใจเลี้ยง แตใหอาหารดวยใจเมตตาสัตว ในบางอาคารมีแมวเขา-ออกอาคาร หรือแมวอาจออกมาเดินบนถนน เปนปรากฏการณที่อาจพบไดในชุมชนทั่วไป อีกทั้งผูถูกฟองคดีไดสอบถามผูอยูอาศัยในบริเวณนั้น ก็ไมปรากฏวา มีผูใดไดรับความเดือดรอนจากแมวแตอยางใด ผูถูกฟองคดีไดพิจารณาแลวเห็นวา จากการตรวจสอบดังกลาว ไมเปนเหตุเดือดรอนรําคาญตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และไดบันทึกถึงกองสัตวแพทยสาธารณสุข เพื่อขอความรวมมือใหจัดสงเจาหนาที่มาดําเนินการจับแมวจรจัดหรือที่ไมมีเจาของ ทั้งนี้ ไดแจงผลการดําเนินการดังกลาวใหผูฟองคดีทราบดวยแลว ซึ่งเมื่อเจาหนาที่กองสัตวแพทยสาธารณสุขไปตรวจสอบ ไมพบผูฟองคดีและแมวจรจัด จึงประสานและสอบถามจากประชาชนที่พักอาศัยอยูบริเวณใกลเคียง ทราบวา ไมมีแมวจรจัด เจาหนาที่จึงใหคําแนะนําประชาชนในการดูแลสัตวเลี้ยงของตนมิใหกอเหตุเดือดรอนรําคาญ และนําสัตวเลี้ยงไปทําหมันพรอมทั้งฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาใหกับสัตวเลี้ยง ซึ่งผูถูกฟองคดีไดแจงใหผูฟองคดีทราบดวยแลว หลังจากนั้น ผูถูกฟองคดีไดมีบันทึกรายงานถึงปลัดกรุงเทพมหานคร เห็นควรยุติการพิจารณาเรื่องรองเรียนของผูฟองคดี และไดทําหนังสือขอความรวมมือกับผูรองสอดและเจาของหรือผูครอบครองอาคารในบริเวณซอยประชาอุทิศ ๘๗ เกี่ยวกับการควบคุมสัตวเลี้ยง ผูถูกฟองคดีเห็นวา ผูฟองคดีไมไดรับความเดือดรอนจริง แตเปนปญหาสวนตัวของผูฟองคดีกับผูรองสอดและนางสาวฝนจิต ซึ่งผูถูกฟองคดีไดดําเนินการตามระเบียบ กฎหมาย โดยมิไดละเลยตอหนาที่หรือดําเนินการลาชาแตอยางใด

ผูฟองคดีคัดคานคําชี้แจงของผูรองสอดวา ผูรองสอดยังเลี้ยงแมวอยูบานเลขที่ ๓๒๖/๑๒ และบานเลขที่ ๓๒๖/๑๓ โดยไมไดเลี้ยงไวในกรงแตอยางใด แมวยังคงเดินเขา-ออกทั้งสองบานและออกมาเดินตามทางสาธารณะไมเปนเวลา โดยเมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ เวลา ๘.๑๐ นาฬิกา แมว ๑ ตัวของผูรองสอดหมอบอยูในทองรถยนตกระบะ หมายเลขทะเบียน ณน ๘๗๖๙ กรุงเทพมหานคร ซึ่งจอดอยูหนาบานเลขที่ ๓๒๖/๑๓ และเมื่อเวลา ๙.๔๕ นาฬิกา ก็เห็นแมวตัวดังกลาวนั่งหมอบที่เกาอี้หนาบานของผูรองสอด อีกทั้ง ในตอนเย็นเวลา ๑๗.๔๐ นาฬิกา ก็เห็นแมวอีกตัวหนึ่งเดินออกจากบานของผูรองสอด เมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๔๙ เวลาประมาณ ๕.๕๐ นาฬิกา ผูฟองคดีไดพบแมว ๑ ตัว ยืนอยูหนาบานเลขที่ ๓๒๖/๑๓ จากนั้นแมวไดไปยืนใตท้องรถยนตกระบะคันเดิม โดยไมมีผูควบคุม นอกจากนี้ ผูฟองคดีเห็นนางสาวฝนจิตเปดประตูใหแมวเขาไปในบาน ซึ่งแสดงวา นางสาวฝนจิตยังคงเลี้ยงแมวอยู ตอมา เมื่อวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๙ เวลา ๘.๓๕ นาฬิกา ไดพบเห็นแมว ๑ ตัว ยืนอยูหนาบานเลขที่ ๓๒๖/๑๓ และไปยืนที่รถยนตคันเดิม เมื่อเวลา ๙.๓๐ นาฬิกา ยังมีแมวอีก ๒ ตัว หมอบอยูใตทองรถยนต และเมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๙ เวลา ๖ นาฬิกา ผูฟองคดีไดพบแมว ๑ ตัว ยืนอยูหนาบานเลขที่ ๓๒๖/๑๓ และแมวไดไปยืนที่รถยนตตามเดิมโดยไมมีผูควบคุมเชนเดียวกัน ดังนั้น แมวของผูรองสอดยังทําความเดือดรอนใหแกผูฟองคดีอยู ขอใหศาลสั่งใหผูถูกฟองคดีทําตามกฎหมาย ห้ามผูรองสอดและนางสาวฝนจิตปลอยแมวออกมาทําความเดือดรอนรําคาญแกผูฟองคดี

ผูถูกฟองคดีใหการเพิ่มเติม โดยขอยืนยันตามคําใหการ

ผูฟองคดีทําคําชี้แจงเพิ่มเติมวา นางสาวฝนจิต เอี่ยมสกุลยง ยังไมเลิกเลี้ยงแมว เพราะเมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๔๙ เวลา ๑๗.๒๐ นาฬิกา ผูฟองคดีพบแมวสีดํา ๑ ตัวนอนอยูหนาบานเลขที่ ๓๒๖/๑๓ นางสาวฝนจิตไดนั่งใชมือลูบคลําตัวแมวเลนไปมา และเวลา ๑๐.๒๐ นาฬิกา ผูฟองคดีก็เห็นเด็กหญิงอายุประมาณ ๑๓ ป ถึง ๑๔ ป ซึ่งเปนหลานสาวของนางสาวฝนจิตไดเปดประตูบานปลอยแมวสีดําดังกลาวออกมานอกบาน การที่ผูถูกฟองคดีอางวา ไดมีเจาหนาที่ไปตรวจสอบ และพบวาผูรองสอดเลี้ยงแมว ๓ ตัว ถึง ๔ ตัว อยูในอาคารเลขที่ ๓๒๖/๑๒ โดยปองกันมิใหออกมานอกอาคาร และการที่มีผูเลี้ยงแมวและสุนัข หรือไมจงใจเลี้ยง แตใหอาหารแมวดวยใจเมตตา และแมวเดินเขา-ออกอาคารเปนปรากฏการณที่อาจพบไดในชุมชนทั่วไป จึงไมมีผูใดไดรับความเดือดรอนนั้น ไมเปนความจริง เพราะในบานของผูรองสอดมีกรงเพียงกรงเดียว สามารถใสแมวไดเพียง ๑ ตัว แมวที่เหลืออีก ๒ ตัว ถึง ๓ ตัว ตองถูกปลอยออกมาอยูนอกกรง ซึ่งหากผูรองสอดไมปล่อยแมวออกมานอกบาน ผูฟองคดีก็คงไมเดือดรอน สวนบุคคลที่ใหถอยคําตอเจาหนาที่วา ไมไดรับความเดือดรอน บุคคลเหลานั้นใหถอยคําจริงหรือไม ไมอาจยืนยันได แตบุคคลดังกลาวมิใชผูอยูอาศัยอยู่ในบ้านของผูฟองคดี ผูฟองคดียังคงไดรับความเดือดรอนมาโดยตลอด ผูถูกฟองคดียังไมไดดําเนินการตามระเบียบกฎหมายแตอยางใด

ผู้ฟองคดีไดมีบันทึกชวยจํา วันที่ ๒๐ ถึงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๔๙ วันที่ ๑ ถึงวันที่ ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ วันที่ ๑๑ ถึงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ วันที่ ๘ และวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๙ วันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒๕ ถึงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๙ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ วันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๔๙ วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒๑ ถึงวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๙ วันที่ ๔ ถึงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙ วันที่ ๓๐ ถึงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๙ วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๐ วันที่ ๖ เมษายน ๒๕๕๐ วันที่ ๘ ถึงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๐ วันที่ ๒๑ และวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๐ วันที่ ๒๔ และวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๐ และหนังสือชี้แจงตอศาล ซึ่งมีขอความในทํานองเดียวกันวา วันเวลาใด ผูฟองคดีไดพบเห็นแมวสีอะไรหมอบอยูใตทองรถ หรือปนขึ้นไปบนตัวรถหรือหลังคารถ ของรถหมายเลขทะเบียนใด โดยรถคันดังกลาวจอดอยูที่ใด หรือพบผูรองสอดและนาวสาวฝนจิตเล่นหยอกลออยูกับแมว หรือพบเห็นแมวดังกลาวเดินเพนพานอยูที่ถนน หรือกําลังเดินขามถนน หรือบางครั้งพบแมวดังกลาวยืนอยูหนาบานของผูฟองคดี เพื่อเตรียมบุกรุกเขามาขโมยอาหาร อุจจาระ ปสสาวะ หรือทําขาวของในบานของผูฟองคดีเสียหาย หรือแพรเชื้อโรค เมื่อผูฟองคดีตะโกนไลแมว ก็วิ่งเขาบานของผูรองสอดหรือบ้านของนางสาวฝนจิต

ศาลปกครองชั้นตนไดมีคําสั่งใหมีการตรวจสอบสถานที่บริเวณที่เกิดขอพิพาท โดยมอบหมายใหพนักงานคดีปกครองไปตรวจสอบ ปรากฏขอเท็จจริงวา บุคคลที่อาศัยอยูบริเวณใกลเคียงบานของผูฟองคดีและผูรองสอดไดใหถอยคําในทํานองเดียวกันวา ปจจุบัน ผูรองสอดยังมีการเลี้ยงแมวอยู โดยมีกรงสําหรับขังแมวอยูในบาน และในบริเวณนี้ เจาของบานอีกหลายหลังก็ยังมีการเลี้ยงแมวอยูเชนกัน โดยทั่วไปก็จะเห็นแมวของผูรองสอดออกมานอกบานเปนบางครั้ง แตก็ไมไดทําความเดือดรอนแกบุคคลใด สวนผูฟองคดีใหถอยคําวา ขณะนี้ ผูฟองคดีก็ยังคงไดรับความเดือดรอนจากแมวของผูรองสอดอยู โดยแมวยังเขามาทําความรําคาญในบ้านของผูฟองคดีเปนบางครั้ง ผูฟองคดีมีความประสงคใหศาลมีคําสั่งใหผูถูกฟองคดีสั่งหามผูรองสอดเลี้ยงแมวโดยเด็ดขาด

ผูฟองคดียื่นคํารอง ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๐ ขอใหศาลกําหนดวิธีการชั่วคราวกอนการพิพากษา โดยมีคําสั่งหามผูรองสอดปลอยแมวออกนอกบานเลขที่ ๓๒๖/๑๒ และบานเลขที่ ๓๒๖/๑๓ อยางเด็ดขาด และใหผูถูกฟองคดีควบคุมดูแลมิใหแมวของผูรองสอดเขามารบกวนความปกติสุขของผูฟองคดี โดยอางวา เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ ผูฟองคดีไดพบเห็นแมวตัวใหญสีดําของผูรองสอดเขามาคุยเขี่ยสิ่งของในบริเวณหองครัวบานของผูฟองคดี ทําใหเครื่องครัวตกหลนลงพื้นเกิดความสกปรก ซึ่งเหตุการณดังกลาวเปนเพียงสวนหนึ่งที่แมวของผูรองสอดปลอยออกจากบานขาดการควบคุมดูแล และวิ่งเขามาในบานของผูฟองคดีทําความเสียหายเปนประจําไมนอยกวาสัปดาหละ ๓ ครั้ง ถึง ๔ ครั้ง ทําใหผูฟองคดีไดรับความเดือดรอนเสียหาย เครียด กังวลเกินกวาจะรับได ตองคอยระวังไลตลอดเวลา สวนการที่ผูรองสอดยอมรับวา ไดเลี้ยงแมว ๓ ตัว ในบานเลขที่ ๓๒๖/๑๒ นั้น ผูรองสอดไดเลี้ยงแมวอยูในบานเลขที่ ๓๒๖/๑๒ และบานเลขที่ ๓๒๖/๑๓ โดยไมไดเลี้ยงในกรงตามที่กลาวอาง ซึ่งแมวเดินเขา-ออกทั้งสองบานไมเปนเวลา ทั้งเชา กลางวัน และตอนเย็น และที่อางวาเลี้ยงเพียง ๓ ตัว นั้น ไมเปนความจริง เพราะผูรองสอดไดเลี้ยงแมวมากถึง ๔ ตัว โดยปลอยปละละเลยไมมีการควบคุม ทําใหแมวเดินเพนพานบนถนนสาธารณะ และบุกรุกเขาไปในบานของผูฟองคดี จนตองฟองเป็นคดีนี้ ซึ่งผูรองสอดเคยพูดกับพันตํารวจโทสุวัฒน องตอง วา “ถาเลี้ยงแมวไวในคอกหรือในกรงเหมือนติดคุก ฉันจะตองปลอยแมวออกนอกบาน ฉันเปนคนรักแมวและชอบเลี้ยงแมว”

ศาลปกครองชั้นตนพิจารณาแลวเห็นวา คดีนี้ขอเท็จจริงรับฟงไดวา เดิมผูฟองคดีเคยฟองผูถูกฟองคดีว่าละเลยตอหนาที่ในการแกปญหาที่ผูฟองคดีไดรับความเดือดรอนรําคาญจากแมวที่นางสาวฝนจิตเลี้ยงไว ซึ่งต่อมา ผูฟองคดีไดขอถอนฟอง และศาลอนุญาต ในคดีหมายเลขดําที่ ๑๒๕๔/๒๕๔๖ หมายเลขแดงที่ ๑๑๘๙/๒๕๔๖ ตอมา ผูฟองคดีไดฟองผูถูกฟองคดีในคดีนี้วาละเลยตอหนาที่ในการแกไขปญหาที่ผูฟองคดีไดรับจากแมวที่ผูรองสอดเลี้ยงไวอีก ซึ่งปรากฏขอเท็จจริงในสํานวนคดีนี้วา บานของผูฟองคดี (เลขที่ ๓๒๖/๖๒) ผูรองสอด (เลขที่ ๓๒๖/๑๒) และนางสาวฝนจิต (เลขที่ ๓๒๖/๑๓) เปนตึกแถว โดยบานของผูฟองคดีตั้งอยูเยื้องคนละฟากถนนกับบานของผูรองสอดและนางสาวฝนจิต กอนฟองคดีนี้ ผูฟองคดีไดรองเรียนเหตุแหงการฟองคดีนี้ตอปลัดกรุงเทพมหานครเปนหนังสือหลายครั้ง เชน หนังสือฉบับลงวันที่ ๒๓ และลงวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๘ และลงวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๙ ซึ่งปลัดกรุงเทพมหานครมีบันทึกสั่งการใหผูถูกฟองคดีตรวจสอบดําเนินการ ผูถูกฟองคดีไดตรวจสอบสรุปขอเท็จจริงไดวา ปจจุบัน นางสาวฝนจิตไดเลิกเลี้ยงแมวแลว เนื่องจากไดใชบานเลขที่ดังกลาวเปนรานขายของชํา และบางสวนเปนที่เก็บขนมประเภทขบเคี้ยว สําหรับผูรองสอดเลี้ยงแมวที่บานเลขที่ดังกลาวประมาณ ๓ ตัว ถึง ๔ ตัว นอกจากนี้ ยังมีแมวที่ประชาชนในบริเวณดังกลาวเลี้ยง หรือไมจงใจเลี้ยง แตอาจใหอาหารดวยใจเมตตาสัตว อีกจํานวนหนึ่ง สําหรับการดูแลแมวของผูรองสอดนั้น ในกรณีผูรองสอดไมอยูบาน ก็จะปดประตูหน้าต่างบานใหแมวอยูเฉพาะในตัวบาน หากผูรองสอดอยูบาน เมื่อเปดประตูหนาตาง แมวก็อาจจะออกมานอกตัวบานไปตามถนนหรือบานเรือนของผูอื่นบาง เหมือนเชนแมวตัวอื่น ๆ ซึ่งอาจพบเห็นไดในชุมชนทั่วไป แตจากการตรวจสอบประชาชนที่มีบานอยูบริเวณใกล ไมปรากฏวามีใครไดรับความเดือดรอนจากแมว นอกจากผูฟองคดี ซึ่งเมื่อผูถูกฟองคดีไดตรวจสอบและพิจารณาขอเท็จจริงหลาย ๆ ประเด็น และหลาย ๆ ครั้ง ที่ผูฟองคดีไดรองเรียนผูรองสอดและนางสาวฝนจิตผานหลายหนวยงานตลอด ๓ ป ถึง ๔ ปที่ผานมา เห็นวา ผู้ฟ้องคดีไมไดรับความเดือดรอนจริง แตเปนปญหาเฉพาะตัวของผูฟองคดีเอง ผูถูกฟองคดีจึงเห็นวา ขอรองเรียนของผูฟองคดีไมเปนเหตุเดือดรอนรําคาญตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข จึงพิจารณายุติเรื่อง โดยรายงานปลัดกรุงเทพมหานครและแจงผูฟองคดีเพื่อทราบ พรอมทั้งมีหนังสือขอความรวมมือประชาชนใหควบคุมดูแลสัตวเลี้ยงมิใหกออันตรายหรือเหตุรําคาญแกผูอื่น นอกจากนี้ ผูถูกฟองคดียังไดมีบันทึกขอความรวมมือจากผูอํานวยการกองสัตวแพทยสาธารณสุขจัดสงเจาหนาที่ดําเนินการจับแมวจรจัดหรือแมวที่ไมมีเจาของและดําเนินการตามอํานาจหนาที่ ซึ่งกองสัตวแพทยสาธารณสุขตรวจสอบแลว ไมพบแมวจรจัดในบริเวณที่มีการร้องเรียน จึงเพียงแตใหคําแนะนําประชาชนใหดูแลสัตวดวยตนเองดวยความรับผิดชอบ ไมกอเหตุเดือดรอนรําคาญ และนําไปทําหมันเพื่อควบคุมการแพรขยายพันธุ พรอมฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาเพื่อปองกันโรคสัตวติดคน นอกจากนี้ ผูฟองคดี ไดมีบันทึกชวยจําประจําวันที่ ๒๐ ถึงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๔๙ วันที่ ๑ ถึงวันที่ ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ วันที่ ๑๑ ถึงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ วันที่ ๘ และวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๙ วันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒๕ ถึงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๙ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ วันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๔๙ วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒๑ ถึงวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๙ วันที่ ๔ และวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙ วันที่ ๓๐ และวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙ วันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๙ วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๐ วันที่ ๖ เมษายน ๒๕๕๐ วันที่ ๘ ถึงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๐ วันที่ ๒๑ และวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๐ วันที่ ๒๔ และวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๐ และหนังสือชี้แจงตอศาลอีกจํานวนหนึ่ง ถึงพฤติการณของแมวที่ผูฟองคดีเขาใจวาเปนแมวของผูรองสอดและนางสาวฝนจิตในลักษณะเปนรายวัน รายชั่วโมง นาทีตอนาที โดยขอความจะมีลักษณะเหมือน ๆ กันวา วันเวลาใดพบเห็นแมวสีอะไร หมอบอยูใตทองรถหรือปนขึ้นไปบนตัวรถหรือหลังคารถของรถคันหมายเลขทะเบียนใด โดยรถคันดังกลาวจอดอยูที่ใด หรือพบเห็นผูรองสอดและนาวสาวฝนจิตเลนหยอกลออยูกับแมว หรือพบเห็นแมวดังกลาวเดินเพนพานอยูที่ถนน หรือกําลังเดินขามถนน หรือบางครั้งพบแมวดังกลาวยืนอยูหนาบานของผูฟองคดีเพื่อเตรียมบุกรุกเขามาขโมยอาหาร ถายอุจจาระ ปสสาวะ หรือทําขาวของในบานเสียหาย หรือแพรเชื้อโรค เมื่อผูฟองคดีตะโกนไลแมวก็วิ่ง เขาบานของผูรองสอดหรือบานของนางสาวฝนจิต แตขอเท็จจริงตามที่พนักงานคดีปกครองไดตรวจสอบสถานที่ สรุปไดวา ประชาชนที่อาศัยอยูบริเวณใกลเคียง รวม ๕ ราย ตางใหถอยคําตรงกันวา ผูรองสอดและประชาชนในบริเวณใกลเคียงหลายรายยังคงเลี้ยงแมวอยู ซึ่งแมวของผูรองสอดจะออกมานอกตัวบานบ้างเป็นบางครั้ง แตไมไดทําความเดือดรอนใหกับผูใด สวนผูฟองคดียังคงยืนยันวา ไดรับความเดือดรอนจากแมวของผูรองสอด เห็นไดวา ปญหาความเดือดรอนที่ผูฟองคดีอางวาเกิดขึ้นจากแมวของผูรองสอดนั้น หากมีขอเท็จจริงเปนเชนนั้น ก็มีลักษณะเปนความเดือดรอนรําคาญที่อาจเกิดขึ้นไดตามสภาพและธรรมชาติของสัตว และเกิดขึ้นเปนครั้งคราว กรณีไมเพียงพอที่จะถือวาเปนเหตุรําคาญตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข ประกอบกับการที่ผูถูกฟองคดีไดตรวจสอบขอเท็จจริงเปนระยะในหลาย ๆ ประเด็นหลาย ๆ ครั้ง แลวเห็นวา กรณีการร้องเรียนไมถือเปนเหตุรําคาญตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข เห็นควรใหยุติเรื่อง และมีบันทึกขอความร่วมมือใหกองสัตวแพทยสาธารณสุขตรวจสอบดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของ และมีหนังสือขอความรวมมือประชาชนในการควบคุมดูแลสัตวเลี้ยงมิใหกอเหตุเดือดรอนรําคาญ ซึ่งกองสัตวแพทยสาธารณสุขก็ไดดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของแลว และมีหนังสือแจงผูฟองคดีเพื่อทราบ จึงเปนการปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติแลว สําหรับคําขอใหศาลกําหนดวิธีการชั่วคราวกอนพิพากษานั้น เมื่อศาลไดวินิจฉัยในประเด็นพิพาทในเนื้อหาแหงคดีแลววา ผูถูกฟองคดีมิไดละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ กรณีจึงไมมีเหตุที่ศาลจะตองพิจารณาคําขอดังกลาวอีก ศาลปกครองชั้นตนจึงพิพากษายกฟอง

ผูฟองคดีอุทธรณวา การที่ผูรองสอดเลี้ยงแมวถึง ๔ ตัว เปนจํานวนเกินสมควร แตมีกรงเลี้ยงเพียงกรงเดียว ซึ่งทําใหแมวเขามาทําความเดือดรอนใหแกผูฟองคดี จึงเปนเหตุเดือดรอนรําคาญตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๕ (๒) และ (๔) และในระยะ ๓ ป ถึง ๔ ป ที่ผูฟองคดีไดรองเรียนเพื่อใหผูถูกฟองคดีไดรับทราบถึงเหตุเดือดรอนรําคาญตามมาตรา ๒๕ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ และมาตรา ๒๘ แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว แตผูถูกฟองคดีก็ไมไดระงับเหตุเดือดรอนรําคาญ ซึ่งศาลปกครองชั้นตนยังไมไดวินิจฉัยวา เหตุใดผูถูกฟองคดีจึงไมระงับเหตุเดือดรอนรําคาญใหแกผูฟองคดี ทั้งที่ผูรองสอดและนางสาวฝนจิตยังเลี้ยงแมว และกอเหตุเดือดรอนรําคาญใหแกผูฟองคดีทั้งกอนและหลังฟองคดี ขอใหศาลปกครองสูงสุดพิพากษากลับคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน และพิพากษาตามคําขอทายฟองของผูฟองคดี

ผูถูกฟองคดีแกอุทธรณวา ผูถูกฟองคดีไดดําเนินการตรวจสอบบานผูรองสอด พบวา ไดเลี้ยงแมวประมาณ ๓ ตัว ถึง ๔ ตัว ซึ่งผูรองสอดไดปองกันไมใหเผลอออกไปนอกอาคาร โดยทําการปดประตูดานหนาอาคารไวมิดชิด และยังไดตรวจสอบบานของประชาชนบริเวณใกลเคียง พบวา ไดมีการเลี้ยงแมวและสุนัข หรือไมไดจงใจเลี้ยง แตใหอาคารดวยใจเมตตาสัตว ในบางอาคารมีแมวเขาออกอาคาร หรือแมวอาจออกมาเดินบนถนน เปนปรากฏการณที่อาจพบไดในชุมชนทั่วไป ทั้งไดสอบถามผูอยูอาศัยในบริเวณนั้น ก็ไมปรากฏวามีผูใดไดรับความเดือดรอนจากแมวแตอยางใด ผูถูกฟองคดีไดพิจารณาจากการตรวจสอบดังกลาว ไมเปนเหตุเดือดรําคาญตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ทั้งไดมีบันทึกถึงกองสัตวแพทยสาธารณสุข เพื่อขอความรวมมือใหจัดสงเจาหนาที่มาดําเนินการจับแมวจรจัดหรือที่ไมมีเจาของ ซึ่งเมื่อเจาหนาที่กองสัตวแพทยสาธารณสุขไปตรวจสอบ ไมพบแมวจรจัด เจาหนาที่จึงใหคําแนะนําประชาชนใหดูแลสัตวเลี้ยงของตนมิใหกอเหตุเดือดรอนรําคาญและนําสัตวเลี้ยงไปทําหมัน พรอมทั้งฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาใหกับสัตวเลี้ยง ทั้งไดทําหนังสือขอความรวมมือกับผูรองสอดและเจาของหรือผูครอบครองอาคารในบริเวณซอยประชาอุทิศ ๘๗ เกี่ยวกับการควบคุมสัตวเลี้ยง โดยไดแจงใหผูฟองคดีทราบแลว จะเห็นไดวา ผูถูกฟองคดีไดดําเนินการตรวจสอบขอเท็จจริงเปนระยะในหลายประเด็นหลายครั้ง เปนการปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติขอใหศาลปกครองสูงสุดพิพากษายืนตามคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน

ผูรองสอดชี้แจงวา ที่ผูฟองคดีอางวาแมวของผูรองสอดไปขโมยของกินในบานของผูฟองคดี ที่จริงในซอยก็มีแมวอยูหลายบานเขาไปในบานผูฟองคดี บางทีก็ไมใชแมวของผูรองสอด มีอยูครั้งหนึ่ง ผูฟองคดีวางจานข้าวใกลประตูบาน แมวของผูรองสอดก็ไปกิน แลวสักพักก็อาเจียน พออยูตอมาไมนาน แมวตัวนั้นก็ตาย และถาผูฟองคดีไมวางจานขาว แมวคงไมไปกิน เพราะธรรมชาติของแมวจะอยูแตในบานของตัวเอง มีบางก็คือเดินอยูแถวหนาบาน แตผูฟองคดีก็ไลแมวของผูรองสอดอยูเปนประจําทั้ง ๆ ที่เดินอยูแถวหนาบานของผูฟองคดี ขนาดแมวบางตัวก็รูมาก พอเดินผานหนาบานผูฟองคดี ก็หลีกไปเดินฝงตรงขามบานผูฟองคดี ผูฟองคดีก็ยังไลไมเลิก

ผูฟองคดีทําคําชี้แจงวา คําชี้แจงของผูรองสอดที่วา แมวที่เขาไปขโมยของกินในบานของผูฟองคดีไมใชแมวของผูรองสอด เพราะในซอยมีแมวหลายบานนั้น ไมเปนความจริง เพราะแมวของผูรองสอดจองจะบุกรุกเข้าไปในบานกอความเดือดรอนรําคาญ ตองคอยตะโกนขับไล ซึ่งไมเคยมีแมวของบานอื่นเขาไปในบานของผูฟ้องคดีแมแตครั้งเดียว และคําชี้แจงของผูรองสอดที่วา ธรรมชาติของแมวจะอยูแตในบานของตนเอง แตผูฟองคดีก็ไลแมวของผูรองสอดประจํา ทั้ง ๆ ที่เดินอยูหนาบานนั้น เปนเท็จ ขัดแยงกับขอเท็จจริงซึ่งพบเห็น ซึ่งผูรองสอดเคยทะเลาะโตเถียงกับผูฟองคดีอยางรุนแรง โดยผูฟองคดีไดดําเนินคดีกับผูรองสอดในขอหาดูหมิ่น และผูร้องสอดรับสารภาพ พนักงานสอบสวนจึงปรับผูรองสอด

ศาลปกครองสูงสุดออกนั่งพิจารณาคดี โดยไดรับฟงสรุปขอเท็จจริงของตุลาการเจาของสํานวน และคําชี้แจงดวยวาจา ประกอบคําแถลงการณของตุลาการผูแถลงคดี

ศาลปกครองสูงสุดไดตรวจพิจารณาเอกสารทั้งหมดในสํานวนคดี กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ฯลฯ ที่เกี่ยวของประกอบแลว

ขอเท็จจริงรับฟงไดวา ผูฟองคดีพักอาศัยอยูบานเลขที่ ๓๒๖/๖๒ ซอยประชาอุทิศ ๘๗ ถนนประชาอุทิศ แขวงทุงครุ เขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ ผูฟองคดีไดมีหนังสือรองเรียนตอผูถูกฟองคดีวาผูฟองคดีไดรับความเดือดรอนจากการเลี้ยงแมวของผูรองสอดและนองสาว ซึ่งอยูบานเลขที่ ๓๒๖/๑๒ และบานเลขที่ ๓๒๖/๑๓ ในซอยเดียวกัน โดยผูรองสอดปลอยปละละเลยใหแมวออกมาอยูตามทางสาธารณะ และเขามากอความรําคาญในบานของผูฟองคดี ตอมา ผูถูกฟองคดีไดมอบหมายใหเจาหนาที่ดําเนินการตรวจสอบขอเท็จจริงกรณีการรองเรียนดังกลาว พบวา ผูรองสอดเลี้ยงแมวประมาณ ๓ ตัว ถึง ๔ ตัว โดยทั่วไป ผูรองสอดจะควบคุมใหแมวอยูในบริเวณบานของผูรองสอด แตบางครั้งแมวไดออกมานอกบานบางเหมือนกัน นอกจากนี้ ยังมีแมวจรจัดหรือที่ผูอยูอาศัยใกลเคียงเลี้ยงไวดวยเชนกัน แตจากการสอบถามผูอยูอาศัยบริเวณนั้น ไมปรากฏวามีผูใดไดรับความเดือดรอนจากแมวนอกจากผูฟองคดี หลังจากนั้น ผูถูกฟองคดีไดรับความรวมมือจากกองสัตวแพทยสาธารณสุขจัดสงเจาหนาที่มาดําเนินการจับแมวจรจัดหรือไมมีเจาของ พร้อมใหคําแนะนํากับประชาชนในการดูแลสัตวเลี้ยงมิใหไปกอเหตุเดือดรอนรําคาญ นําสัตวเลี้ยงไปทําหมัน และฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา จากนั้น ผูถูกฟองคดีไดรายงานเกี่ยวกับกรณีการรองเรียนของผูฟองคดีต่อปลัดกรุงเทพมหานคร โดยเห็นควรยุติการพิจารณาเรื่องรองเรียน และไดทําหนังสือขอความรวมมือกับผูรองสอดและเจาของอาคารในบริเวณเดียวกันในการควบคุมสัตวเลี้ยงของตน แตผูฟองคดีชี้แจงตอศาลในลักษณะบันทึกชวยจําเปนรายวันวา แมวของผูรองสอดยังเขามากอเหตุเดือดรอนรําคาญในบริเวณบานของผูฟองคดี

คดีมีประเด็นที่ตองวินิจฉัยวา ผูถูกฟองคดีไดละเลยตอหนาที่ในการแกไขความเดือดรอนรําคาญใหแกผูฟองคดีตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ หรือไม

เห็นวา มาตรา ๒๕ (๒) และ (๔) แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดกําหนดใหการเลี้ยงสัตวในที่หรือโดยวิธีใด หรือมีจํานวนเกินสมควร จนเปนเหตุใหเสื่อมหรืออาจเปนอันตรายตอสุขภาพ และการกระทําใด ๆ อันเปนเหตุใหเกิดกลิ่น หรือกรณีอื่นใด จนเปนเหตุใหเสื่อมหรืออาจเปนอันตรายตอสุขภาพ เปนเหตุรําคาญ ซึ่งหากมีเหตุรําคาญเกิดขึ้นหรืออาจเกิดขึ้นในที่หรือทางสาธารณะ มาตรา ๒๗ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดใหอํานาจเจาพนักงานทองถิ่นมีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือใหบุคคลซึ่งเปนตนเหตุ หรือเกี่ยวของกับการกอ หรืออาจกอใหเกิดเหตุรําคาญนั้น ระงับหรือปองกันเหตุรําคาญภายในเวลาอันสมควรตามที่ระบุไวในคําสั่ง และถาเห็นสมควร จะใหกระทําโดยวิธีใดเพื่อระงับหรือปองกันเหตุรําคาญนั้น หรือสมควรกําหนดวิธีการ เพื่อปองกันมิใหมีเหตุรําคาญเกิดขึ้นอีกในอนาคต ใหระบุไวในคําสั่งได และวรรคสอง บัญญัติวา ในกรณีที่ปรากฏแกเจาพนักงานทองถิ่นวา ไมมีการปฏิบัติตามคําสั่งของเจาพนักงานทองถิ่นตามวรรคหนึ่ง และเหตุรําคาญที่เกิดขึ้นอาจเกิดอันตรายอยางรายแรงตอสุขภาพ ใหเจาพนักงานทองถิ่นระงับเหตุรําคาญนั้น และอาจจัดการตามความจําเปน เพื่อปองกันมิใหเกิดเหตุรําคาญนั้นขึ้นอีก โดยบุคคลซึ่งเปนตนเหตุ หรือเกี่ยวของกับการกอ หรืออาจกอใหเกิดเหตุรําคาญ ตองเปนผูเสียคาใชจายสําหรับการจัดการนั้น ในกรณีมีเหตุรําคาญเกิดขึ้นในสถานที่เอกชน มาตรา ๒๘ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติเดียวกัน ไดใหเจาพนักงานทองถิ่น มีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือใหเจาของหรือผูครอบครองสถานที่นั้นระงับเหตุรําคาญภายในเวลาอันสมควรตามที่ระบุไวในคําสั่ง และถาเห็นวาสมควรจะใหกระทําโดยวิธีใด เพื่อระงับเหตุรําคาญนั้น หรือสมควรกําหนดวิธีการ เพื่อปองกันมิใหมีเหตุรําคาญเกิดขึ้นในอนาคต ใหระบุไวในคําสั่งได ดังนั้น เหตุรําคาญตามมาตรา ๒๕ (๒) และ (๔) แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ตองมีความร้ายถึงขนาดอันจะกอใหเกิดอันตรายอยางรายแรงตอสุขภาพของประชาชน หรือมีผลกระทบตอสภาวะความเปนอยูที่เหมาะสมกับการดํารงชีพของผูฟองคดีและผูอยูอาศัยขางเคียง

เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวา ผูรองสอดเปนเจาของอาคารเลขที่ ๓๒๖/๑๓ ซอยประชาอุทิศ ๘๗ ถนนประชาอุทิศ แขวงทุงครุ เขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร ไดเลี้ยงแมว ๓ ตัว ถึง ๔ ตัว ภายในอาคารของผูรองสอดโดยมีกรงสําหรับขังแมวไวภายในอาคาร และผูรองสอดไดปลอยแมวออกมานอกอาคารเปนครั้งคราวซึ่งเป็นวิสัยของสัตวที่อาจเดินผานบานของผูฟองคดีและบานขางเคียงได แมจะกอใหเกิดความรําคาญใจแกผูฟองคดี แตไมรายแรงถึงขนาดกอใหเกิดอันตรายอยางรายแรงตอสุขภาพ หรือมีผลกระทบตอสภาวะความเปนอยูที่เหมาะสมกับการดํารงชีพของผูฟองคดี เนื่องจากผูฟองคดียังสามารถดํารงชีวิตประจําวันไดตามปกติ อีกทั้ง ปรากฏขอเท็จจริงตามบันทึกขอความ ที่ กท ๘๘๐๔/๔๕๒๓ ลงวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๘ บันทึกขอความ ที่ กท ๐๗๐๕/๘๑๔ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๘ และบันทึกขอความ ที่ กท ๘๘๐๔/๑๙๑ ลงวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๔๙ วา ผูถูกฟองคดีไดสงเจาหนาที่ออกไปตรวจสอบขอเท็จจริงในบริเวณอาคารของผูฟองคดีและบริเวณใกลเคียง โดยไดสอบถามประชาชนที่อยูอาศัยในบริเวณนั้น ไดความวา ไมมีผูใดไดรับความเดือดรอนรําคาญจากแมวของผูรองสอด และเมื่อกองสัตวแพทยสาธารณสุขไดสงเจาหนาที่ไปตรวจสอบบริเวณอาคารของผูฟองคดีและบริเวณใกลเคียง และไดสอบถามประชาชนที่พักอาศัยในบริเวณดังกลาว ก็ไมพบวามีแมวจรจัดในบริเวณดังกลาว กรณีจึงไมอาจถือไดวาการเลี้ยงแมวของผูรองสอดภายในอาคารของผูรองสอดมีลักษณะเปนเหตุใหเสื่อมหรืออาจเปนอันตรายตอสุขภาพ อันจะเปนเหตุรําคาญ ตามนัยมาตรา ๒๕ (๒) และ (๔) แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกอบกับผูถูกฟองคดีไดมีบันทึกขอความรวมมือไปยังผูอํานวยการกองสัตวแพทยสาธารณสุข กรุงเทพมหานครใหจัดสงเจาหนาที่ไปดําเนินการจับแมวจรจัดหรือแมวไมมีเจาของ และขอความรวมมือจากประชาชนใหดูแลรับผิดชอบสัตวเลี้ยงของตัวเองไมใหกอเหตุเดือดรอนรําคาญแกผูอื่น ใหนําสัตวเลี้ยงไปทําหมัน พรอมกับใหฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา และมีหนังสือแจงใหผูฟองคดีทราบดวยแลว ตามมาตรา ๒๗ และมาตรา ๒๘ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ กรณีจึงถือไมไดวา ผูถูกฟองคดีละเลยตอหนาที่ตามที่พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ กําหนดใหตองปฏิบัติ อุทธรณของผูฟองคดีฟงไมขึ้น การที่ศาลปกครองชั้นตนพิพากษายกฟองของผูฟองคดี ศาลปกครองสูงสุดเห็นพองดวย

พิพากษายืน



นายนพดล เฮงเจริญ                 ตุลาการเจ้าของสำนวน
ตุลาการศาลปกครองสูงสุด


นายหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล
ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด


นายวิชัย ชื่นชมพูนุท
ตุลาการศาลปกครองสูงสุด


นายวิษณุ วรัญญู
ตุลาการศาลปกครองสูงสุด


นายวรวิทย์ กังศศิเทียม
ตุลาการศาลปกครองสูงสุด


                  ตุลาการผู้แถลงคดี : นายจิรศักดิ์ จิรวดี




งานนี้ไม่มีลิขสิทธิ์ เพราะเป็นงานตาม แม่แบบผิดพลาด: โปรดระบุประเภทของงานนี้ (ดูวิธีใช้) แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ของประเทศไทย ซึ่งบัญญัติว่า

"มาตรา 7 สิ่งต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้
(1) ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสาร อันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ
(2) รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย
(3) ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น
(4) คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ
(5) คำแปลและการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น จัดทำขึ้น"