ข้ามไปเนื้อหา

ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๗๓

จาก วิกิซอร์ซ

ประชุมพงสาวดาร ภาคที่ ๗๓

เจ้าภาพให้พิมพ์เปนที่ระลึก ไนงานพระราชทานเพลิงสพ เจ้าจอมสว่าง ไนรัชกาลที่ ๕ ที่เมรุสุสานหลวงวัดเทพสิรินทราวาส วันที่ ๒๗ กันยายน พ.ส. ๒๔๘๕



คำนำ นายสุคนธ์ ประดิสถรัตน์ รับฉันทะจากเจ้าภาพ มาแจ้งความจำนง ขอต้นฉบับสำหรับพิมพ์เปนที่ระลึกไนงาน พระราชทานเพลิงสพเจ้าจอมสว่าง นะนคร ไนรัชกาลท ๕ กรมสิลปากร จึงแนะนำไห้พิมพ์ทำเนียบข้าราชการนครสรี ธัมราชสมัยราชกาลทิ ๒ รวมกับพระประวัติสังเขปพระเจ้า ขัตติยราชนิคม, ประวัติสังเขปเจ้าพระยาสุธัมมนตรีสรีโสก ราชวงส์, เจ้าพระยานคร (เจ้าน้อย) , เจ้าพระยานคร (น้อย กลาง นะนคร) ซึ่งเจ้าหน้าที่ไนกองวรรนคดีกรมสิลปากร ได้เรียบเรียงรวมไว้ด้วย นับเปนประชุมพงสาวดารภาค ที่ ๗๓ เจ้าภาพรับไปพิจารณาแล้วก็พอไจ ตกลงพิมพ์ประชุม พงสาวดารภาคที่ ๗๓ ตามคำแนะนำ หวังว่า หนังสือเล่มนี้ จะเปนคู่มือสำหรับผู้สนไจ ประวัติสาตรแห่งนครสรีธัมราชได้ ส่วนหนึ่ง ต่อเนื่องกับประชุมพงสาวดารภาคที่ ๒ กรมสิลปากรขอโมทนากุล ซึ่งเจ้าภาพตั้งไจบำเพ็น เปนปติการคุณแด่เจ้าจอมสว่าง นะนคร เพื่อไห้สำเหร็ด มนูญผลตามสมควนแก่คติภพยิ่ง ๆ ขึ้น.

กรมสิลปากร ๑๘ สิงหาคม ๒๔๘๕



ชาตะ ๓๐ มิถุนายน ๒๓๙๙ มรนะ ๑๔ มิถุนายน ๒๔๘๕

ประวัติย่อ ท่านเจ้าจอมสว่าง ไนรัชกาลที่ ๕

ท่านเจ้าจอมสว่างไนรัชกาลที่ ๕ ต.จ. เปนธิดาเจ้าพระยา นครสรีธัมราช (น้อยกลาง นะนคร) หม่อมราชวงส์หยิง (ธิดา หม่อมเจ้าจันทร พระโอรสเจ้าฟ้ากรมหลวงนรินทร์รนเรส วังหลัง) เปนมารดา เกิดเมื่อวันที่ ๓๐ เดือนมิถุนายน พ.ส. ๒๓๙๙ ตรงกับ วัน ๒๗ค่ำ ปีมะโรง ที่จังหวัดนครสรีธัมราช เมื่อประมาณ พ.ส. ๒๔๑๔ ได้เข้าถวายตัวเปนเจ้าจอมไนพระบาทสมเด็จพระจุล จอมเกล้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ได้รับราชการสนองพระเดชพระคุน โดยความซื่อสัจกอร์ปด้วยกตัญญูกตเวทีตลอดมา จวบจนพระบาท สมเด็ดพระเจ้าหยู่หัวรัชกาลที่ ๕ สเด็ดสวรรคต จึงได้ออกจากพระบรมมหาราชวังมาหยู่ที่บ้านตำบนหลังวัดมหาธาตุ ท่านเจ้าจอมสว่าง เปนผู้มีนิสัยสุภาพ เยือกเย็น สุขุม มีความเมตตาอารีแก่บุคคลทั่วไป เปนผู้มีสัทธาปสาทะมั่นไนพระ พุทธสาสนามาก ได้บำเพ็นการกุสลด้วยการบริจาคท่านและรักสา สีลเปนเนืองนิจ ได้บริจาคเงินทำการปติสังขรณ์ปูชนียสถานซึ่งบรรพ บุรุสส้างไว้แต่โบรานกาลไห้ถาวรมั่นคงดีขึ้น และได้ส้างขึ้นไหม่อีก ก็หลายหย่าง โดยฉเพาะวัดเขาน้อยตำบนร่อนพิบูลย์ จังหวัดนคร



ข สรีธัมราช ได้บริจาคเงินส้างเปนส่วนมาก เกือบจะนับได้ว่าได้ ส้างวัดเขาน้อยทั้งวัด ถาวรวัตถุตามปูชนียสถานต่าง ๆ ซึ่งเจ้าจอม สว่าง ได้ออกเงินกะทำการปติสังขรน์ และส้างไหม่ มีรายการดังนี้

รายการปติสังขรน์ ๑. พ.ส. ๒๔๗๓ ปติสังขรน์อุโบสถวัดประดู่ เงิน ๑,๐๐๐ บาท ๒. พ.ส. ๒๔๗๕ ปติสังขรน์อุโบสถและซุ้มสีมาวัดท่าโพธิ์เงิน ๙,๖๘๐ บาท ๓. ทำหน้าวิหารหลวงวัดพระบรมธาตุ จังหวัดนครสรีธัมราช เงิน ๔,๙๖๐ บาท

รายการส้างใหม่ ๔. พระพุทธรูปหล่อ ๒ องค์ เงิน ๑,๑๒๕ บาท องค์หนึ่ง ประดิสถานหยู่ที่โรงเรียนชมปากคลอง อำเพอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ๕. กุดีตึก ๒ ชั้นวัดราชาธิวาส จังหวัดพระนคร รวมค่า ส้างและค่าฉลองเงิน ๑๑,๒๗๒ บาท ๖. วัดเขาน้อย ส้างพระเจดีย์ พระประธาน อุโบสถ โรง ธัมสภา กุดีไม้ ๒ ชั้น กัปปิยกุดี กำแพงแก้ว สาลาบนเขา หอไว้รูป เขื่อนหน้าอุโบสถ ซุ้มสีมา รวมเงินประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาทเสส

๗. ฝากเงินไห้เปนมูลนิธิสำหรับบำรุงวัดเขาน้อยเงิน ๖,๐๐๐ บาท รวมเงินที่จ่ายไนการปติสังขรน์และส้างไหม่ประมาณ ๖๔,๐๓๗ บาท เมื่อได้กะทำการปติสังขรน์หรือส้างถาวรวัตถุสิ่งไดเส็ดเรียบ-ร้อยแล้ว เจ้าจอมสว่างได้ออกไปจัดการฉลองประกอบการกุสล ด้วยตนเองอีกเกือบทุกคราว ซึ่งไนการนี้ต้องไช้จ่ายเงินและเปนภาระ หยู่มิไช่น้อย แต่ถึงกะนั้นท่านเจ้าจอมสว่างมิได้ท้อถอยไนการที่จะ บำเพ็นกุสลนั้น ๆ เลย นอกจากนี้ยังเปนผู้รับอุปการะพระสงค์เปนประจำหยู่หลายองค์ และได้เคยส่งเงินบำรุงโรงพยาบาลจุลาลงกรน์ คราวหนึ่งเปนเงิน ๘๐๐ บาท นับว่าท่านเจ้าจอมสว่างเปนผู้มีไจ บุญไจกุศลโดยแท้ผู้หนึ่ง. เมื่อประมาณวันที่ ๑๐ พรึสภาคม ๒๔๘๕ ท่านเจ้าจอมสว่างได้ป่วยลง แพทย์ตรวดว่าเปนโรคหัวไจพิการ แพทย์ได้ไห้การ รักสาหย่างดีที่สุด แต่อาการมีซงกับซุดตลอดมา ครั้นวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๔๘๕ อาการกำเริบมากขึ้น สุดความสามารถของแพทย์ จะกะทำการบำบัดแก้ไขได้ ท่านเจ้าจอมสว่างได้ถึงแก่อสัญญกัม ด้วยอาการอันสงบ อายุได้ ๘๗ ปี



ทำเนียบข้าราชการนครสรีธัมมราช ครั้งรัชชกาลที่ ๒

สุภมัสดุ ๑๑๗๓ เอลกสังวัจฉระ อาสุขมาส สุกรปักส์ ทสมี ดิถี สุกรวาร ปริจเฉทกาลกำหนด สมเด็ดพระพุทธเจ้าหยู่หัว ผู้ ซงพระคุนอันมหาประเสิด นะกรุงเทพมหานคร ซงพระกรุนา โปรดเกล้า ฯ ให้เลื่อนเจ้าพระยานคร เปนเจ้าพระยาสุธัมมนตรี สรีโสกราชวงส์ เชสถพงส์ลือไชย อนุทัยธิบดี อภัยพิริยปรากรม พาหุ ตั้งพระบริรักส์ภูเบสร เปนพระยาสรีธัมมโสกราช ชาติเดโช ชัย มไหสุริยาธิบดี อภัยพิริยปรากรพาหุ พระยานครสรีธัมมราช ไห้มีตราพระคชสีห์โปรดเกล้าฯ ออกมา จึงพระหลวงกรมการพร้อม กัน เชินตราพระคชสีห์ไปลุวางนะพระวิหารหลวงลานพระบรมธาตุ ตามขนบธรรมเนียมสืบมาแต่ก่อน ไนลักสนะท้องตราซึ่งซงพระกรุนาโปรดเกล้า ฯ ออกมานั้นเปนไจความว่า เจ้าพระยานครเข้าไปเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท แจ้งราชการนะกรุงเทพมหานคร กราบทูล พระกรุนาว่า สูงอายุหลงลืม จึงซงพระกรุนาตรัสเหนือเกล้าฯ สั่งว่า ฝ่ายปักส์ไต้เมืองนครสรีธัมมราชไหย่กว่าหัวเมืองทั้งปวง เปน ที่พำนักอาสัยแก่แขกเมืองและลูกค้านานาประเทส เจ้าพระยานครสูงอายุ ไห้เลื่อนขึ้นเปนเจ้าพระยาสุธัมมนตรี สรีโสกราชวง เชสถ ๑



๒ พงส์ลือไชย อนุทัยธิบดี อภัยพิรินปรากรมพาหุ เปนผู้ไหย่อยู่ไน เมืองนคร ไห้พระบริรักส์ภูเบสร เปนพระยาสรีธัมมโสกราช ชาติ เดโชชัย มไหสุริยาธิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ พระยานครสรี ธัมมราช ออกมาครองเมืองสำเหร็ดกิจสุขทุขของอานาประชาราสดร์ ต่างพระเนตรพระกรรณสืบไป. อนึ่ง พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นสักดิพลเสพย์ กราบทูล พระกรุนาว่า พระหลวงกรมการเมืองนคร ขาดมิครบตามตำแหน่งและซงพระกรุนาโปรดเกล้า ฯ ไห้จัดแจงขึ้นไห้ครบคาบตามตำแหน่ง นะวัน จันทร์เดือน ๑๒ ขึ้น ๕ ค่ำปีมะแมตรีสก พระหลวงกรมการพร้อมกัน ไห้หลวงเทพสนามผู้ว่าที่จ่า หลวงแพ่งนอก หลวงแพ่งไน กรมการ คนเก่า เชินพระอัยยการตำแหน่งนายทหานหัวเมือง ซงชำระไหม่ ขุนทิพยมนเทียรเชินพระอัยยการไนพระบรมโกส ซึ่งซงพระกรุนา โปรดเกล้า ฯ ไว้สำหรับเมือง กับสมุดตำแหน่งพระหลวงกรมการ เมืองนคร ครั้งพระยาสุโขทัยออกมาเปนเจ้าพระยานคร ดูแลไน พระอัยยการ มีแต่กรมการผู้ไหย่ สมุดตำแหน่งครังพระสุโขทัย เปนเจ้าพระนครนั้น มีกรมการขุนหมื่นผู้น้อยหยู่ด้วย จึงเอา บันจบคัดขึ้น เปนจำนวนกรมการเมืองนครสรีธัมมราช ตาม ตำแหน่งแต่ก่อน ไนนี้ ออกพระสรีราชสงครามราชภักดี ปลัด ถือสักดินา ๓๐๐๐ ฝ่ายขวา ถือตรารูปโตยืนบนแท่น เครื่องประจำยสมีช้างพลาย ๑ ช้างพัง ๑ จำลอง ๒ ทงทวน ๔ นวม ๖ แหลน ๔ ปืนนกสับ หลังช้าง ๒ กระบอก หมวกม้า ๒ เครื่องม้า ๒๐ ปืนกระสุนนิ้วกึ่ง


๓ บันดาสักดิ์ ๑๘ กระบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒๔ กระบอก ปืนนกสับ ชเลยสักดิ์ ๑๘ กระบอก เสื้อพล ๔๒ หอกเขน ๓๐ ทวนเท้า ๑๕ เรือพนัก ๒ ได้รับพระราชทานกิจกะทงความและข้าวผูกกึ่งเจ้าเมือง และที่พกหมากตำบลพเนียนขนอมขึ้นสำหรับที่ ๓ ตำบล มีนาสัดทิสตะวันออกเมือง ๒ เส้น หลวงสงครามวิชิต ผู้ช่วยราชการพิเสส นา ๑๐๐๐ หลวงชัยสงคราม รองปลัด นา ๑๐๐๐ ถือตรารูปโตไม่มี แท่น มีช้างพลาย ๑๒ ทงทวน ๒ นวม ๓ แหลน ๒๐ หมวก สำหรับช้าง ๑ ปืนกระสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กระบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กระบอก ปืนนกสับชเลยสักดิ์ ๔ กะบอก เสื้อ ๔ ทงทวน ๑๐ เสื้อ ๑๐ ทวนเท้า ๔ เรือพนัก ๑ ลำ ได้รับพระราชทานเชิงประกัน พิจารนาความไนกรมปลัดความซึ่งมีตราโกสาธิบดีออกมา มีนาสัด ออกเมือง ๑ เส้น สมุหบัญชีนา ๔๐๐ คุมไพร่บโทน จำเจียมสำหรับที่ปลัดถือ ขุนจ่าไตรจักร ตรารูปคนนา ๔๐๐ ได้รับพระราชทานพระยา ขุนแก้วไกรพัธน์ พยาบาลที่พกหมากสำหรับปลัด มีเรือ พนัก ๑ ลำ นา ๔๐๐ ได้รับพระราชทานพยาบาลที่พกหมากสำหรับปลัดมี ขุนไชยเสสถี เรือพนัก ๑ ลำ ขุนจ่าสงคราม นา ๔๐๐ เปนขุนหมื่นไช้ไนกรม ขุนอินทรสงคราม นา ๔๐๐ เปนขุนหมื่นไช้ไนกรม ขุนเทพสงคราม นา ๔๐๐ เปนขุนหมื่นไช้ไนกรม

๔ ขุนสรีสงคราม นา ๔๐๐ เปนขุนหมื่นไช้ไนกรม ขุนพินิจอักสร นา ๒๐๐ เปนเสมียนไนกรมปลัด ขุนทิพยอักสร นา ๒๐๐ เปนเสมียนไนกรมปลัด ขุนเทพอักสร นา ๒๐๐ เปนเสมียนไนกรมปลัด ขุนวิชิตอักสร นา ๒๐๐ เปนเสมียนไนกรมปลัด เมืองไชยคิรีสรีสงคราม เมืองขนอม นา ๘๐๐ มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เขน ๑ หมวก ๑ ได้รับพระราชทานพยาบาลที่ขนอม หมื่นรน รองที่ขนอม นา ๔๐๐ หมื่นเทพคิรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นสรีคิรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ สิริกรมปลัดฝ่ายขวา พระ ๑ หลวง ๒ ขุน ๑๑ หมื่น ๓ เมืองขนอมพเนียนเปนที่พกหมาก ๑ รวม ๑๘ คน . ออกพระภักดีราช ยกรบัตร นา ๑๖๐๐ ฝ่ายขวา ถือตรา มีช้างพลาย ๑ ช้างพัง ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๔ นวม ๑ แหลน ๔๐ หมวกสำหรับช้าง ๖ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒๔ กะบอก ปืนนกสับ หลังช้าง ๒๐๐ กะบอก ม้า ๑ เครื่องม้า ๑ ทวน ๑ หมวกม้า ๑ ปืนกระสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก หมวก ๒๐ หอกเขน ๓๐ ทวนเท้า ๑๕ ได้พิจารนาเนื้อความนานาประเทส ขุนพรหมภักดี นา ๔๐๐ ได้พิจารนาความนานาประเทส ไนกรมยกรบัตร


๕ ขุนทิพยภักดี นา ๔๐๐ ได้พิจารนาความนานาประเทส ไน กรมยกรบัตร สิริกรมยกรบัตรฝ่ายขวา พระ ๑ ขุน ๒ รวม ๓ คน ออกพระจำลองสรีสุรินทร์ กรมหมาดไทย ถือสักดินา ๑๖๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปคนขี่ม้า มีช้างพลาย ๑ ช้างพัง ๑ จำลอง ๒ ทงทวน ๔ นวม ๖ หมวก ๖ แหลน ๔ ปืนหลังช้าง ๒ กะบอก ม้า ๒ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ ทวน ๑ ปืนกะสุน ๒ นิ้วบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑๐ กะบอก ปืนกะสุน ๑ นิ้วชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับชเลยสักดิ์ ๒ กะบอก หอกเขน ๒๐ ทวนเท้า ๘ ได้รับพระราชทานบโทนเหล่า ๑ มีนาสัตตำบลตะวันออกเมือง ๑ เส้น ถ้าราสดรร้องฟ้องความอาญาและอุทธรน์ ตระลาการไห้พิจารนา บันจบด้วยราชการเรือพนัก ๑ ลำ หลวงอินทรเสนา รองมหาดไทย นา ๑๐๐๐ ถือตรารูปคน ยืนเคียงม้า มีช้างพลาย ๒ จำลอง ๑ ทงทวน ๒ นวม ๓ หมวก ๓ แหลน ๒๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ทวน ๑ ปืนกะสุนนิ้วกึ่ง ๑ กะบอก ปืนนกสับ ๔ กะบอก หมวกเขน ๑๐ ทวนเท้า ๔ ได้พิจารนาความเกนเรื่อง ฟ้องบันจบราชการ หลวงวิเสสโยธา นา ๖๐๐ หลวงภักดีโยธา นา ๖๐๐ ขุนภักดีบริบาล นา ๘๐๐ ราชปลัด ขุนต่างไจราสดร์ นา ๖๐๐ มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑


๖ หมวก ๑ ทวน ๑ ปืนกะสุน ๑ นิ้ว ๑ กะบอก ปืนนกสับ ๑ กะบอก ได้ว่าราชการเบ็ดเส็ดนะสาลาไหย่ รับฟ้องราสดร พนักงานตรวด ทางเรือ ขุนต่างตาราสตร์ นา ๖๐๐ มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ทวน ๑ ปืนกะสุน ๑ นิ้ว ๑ กะบอก ปืนนกสับ ๑ กะบอก ได้ว่าราชการนะสาลาไหย่ รับฟ้องราสดร พนักงานตรวดช้างทางบก ขุนเสนาทิพ นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กระบอก หอกเขน ๒ ได้ว่าราชการนะสาลากลางพิจารนาเนื้อความพวกแย่ง ขุนเสนาเทพ นา ๔๐๐ มีปืนสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๒ ได้หมายความราสดรร้องฟ้องไนกรมมหาดไทย ขุนต่างจง นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๒ ขุนต่างจิตต์ นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๒ ขุนเทพภักดี นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๒ ถือตรารูปคน ขุนไชยนรินทร์ นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๒ ถือตรารูปม้า หลวงสิทธิสาร นา ๖๐๐ ได้เร่งรัดกำแพงเมือง ขุนไกรพงสา นา ๔๐๐ พนักงานตึกดิน ขุนไชยภักดี นา ๓๐๐ ได้ว่าการไนกรม ขุนพรหมรจนา นา ๔๐๐ คุมช่างเหล็ก

๗ ขุนราชอาวุธ นา ๔๐๐ คุมช่างเหล็ก ขุนสรีสุรินทร์ นา ๔๐๐ มหาดไทยไนพระ ขุนเทพนรินทร์ นา ๓๐๐ ได้ว่าราชการนะสาลา ขุนทิพสุรินทร์ นา ๔๐๐ มหาดไทยไนวัง ขุนอักสรภักดี นา ๒๐๐ ขุนราชสุรินทร์ นา ๓๐๐ ออกหลวงไชยสุรินทร์อินทรเสนา มหาดไทยกลาง นา ๑๒๐๐ ถือตรารูปคนยืนเคียงม้า มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๑ นวม ๓ แหลน ๒๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอกม้า ๑ เครื่องม้า ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ ทวน ๑ ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดา สักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๓ กะบอก หอกเขน ๑๐ ทวนเท้า ๔ ได้รับพระราชทานพิจารนาความต่ำแสนซึ่งราสดรร้องฟ้องและพนักงานจ่ายปืนไหย่ตำหรวด ๖ หมู่ หยู่ไนกรมมหาดไทยว่ากล่าว ขุนเทพสุรินทร์ ปลัด นา ๖๐๐ ถือตรารูปม้า ขุนทิพอาวุธ ปลัด นา ๔๐๐ ขุนเทพอาวุธ ปลัด นา ๔๐๐ หมื่นพรหมรักสา สมุหบัญชี นา ๓๐๐ หมื่นอินทรรักสา สมุหบัญชี นา ๓๐๐ หมื่นชำนานอาวุธ นายเวน นา ๓๐๐ หมื่นวิจิตรอาวุธ นายเวน นา ๓๐๐ หมื่นสรีอาวุธ นายเวน นา ๓๐๐ หมื่นไชยอาวุธ นายเวน นา ๓๐๐

๘ พันรุด ปลัดเวน นา ๒๐๐ พันราช ปลัดเวน นา ๒๐๐ พันเดช ปลัดเวน นา ๒๐๐ พันเพ็ชร ปลัดเวน นา ๒๐๐ หลวงเทพอาญา นา ๖๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปเรือสีสะม้า มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ ทวน ๑ หมวก ๑ ปืนกะสุน นิ้วกึ่ง ๑ กะบอก หอกเขน ๔ มีเรือพนัก ๑ ลำ ได้รับพระราชทาน อ่านฟ้อง เปนขุนสาลาได้ว่าความกะซวงอาญา ขุนราชอาญา นา ๔๐๐ ถือตรารูปสีสะม้า ทงสามชาย ปลายเสา ได้รับพระราชทานรับฟ้องราสดรนะสาลา ขุนสรีอาญา นา ๔๐๐ ขุนพรหมอาญา นา ๔๐๐ ขุนอินทอาญา นา ๔๐๐ ขุนไชยอาญา นา ๔๐๐ ทั้งสี่คนนี้ถือตรารูปเรือสีสะม้า ทงสามชายปลายเสา และ ได้รับพระราชทานรับฟ้องราสดรนะสาลา หมื่นอินจ่าสาลา นา ๒๐๐ ไนกรม หมื่นมโนทิพย์ นา ๒๐๐ หมื่นมโนเทพ " ๒๐๐ หมื่นมโนยิ่ง " " หมื่นมโนยง " " ทั้งสี่คนนี้เปนทนายดาบไนกรม

๙ สิริกรมมหาดไทยฝ่ายซ้าย ไนกรม พระ ๑ หลวง ๔ ขุน ๑๘ กรมไชยสุรินทร์ หลวง ๑ ขุน ๑ หมื่น ๖ พัน ๔ กรม อาญา หลวง ๑ ขุน ๕ หมื่น ๕ รวม ๔๘ คน ออกหลวงพรหมเสนา พระสุรัสวดีกลาง นา ๑๔๐๐ ฝ่าย ซ้าย ถือตรารูปสัสดียืนบนแท่น มือชูสมุดซ้ายขวา มีช้างพลาย ๑ พัง ๑ จำลอง ๒ ทงทวน ๔ นวม ๖ หมวก ๖ แหลน ๔๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๒ กะบอก ม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ ทวน ๑ หมวก ๑ ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดา สักดิ์ ๘ กะบอก หอกเขน ๒ ทวนเท้า ๘ ได้รับพระราชทานว่า ความร้องฟ้องวิวาท ชิงไพร่หมู่ ได้เรียกค่าเชิงประกันจบราชการ เรียกหน้าบัญชี ขุนอินทเสนา รองพระสุรัสวดีกลาง นา ๔๐๐ ถือตรา รูปคนชูสมุดซ้ายขวา ขุนไชยเสนา ช่วยราชการ นา ๖๐๐ ถือตรารูปคนชูสมุด ซ้ายขวา ขุนอินทกะดานพล นา ๒๐๐ " " ขุนพรหมกะดานพล นา ๒๐๐ " " ขุนเทพรักสา นา ๓๐๐ หมื่นเทพ สมุหบัญชี นา ๒๐๐ สิริกรมสุรัสวดีกลางฝ่ายซ้าย หลวง ๑ ขุน ๕ หมื่น ๑ รวม ๗ ออกพระเทพเสนาบดี สรีสมุหพระสุรัสวดี นา ๑๔๐๐ ฝ่าย ๒

๑๐ ขวา ถือตรารูปคน มือขวาชูสมุดนั่งบนแท่น มีช้างพลาย ๑ ช้าง พัง ๑ จำลอง ๒ ทงทวน ๔ นวม ๔ หมวกสำหรับช้าง ๖ ม้า ๑ เครื่องม้า ๑ ปืนนกสับหลังช้าง ๒ กะบอก หมวกสำหรับ ม้า ๑ ทวนม้า ๑ เสื้อ ๑ ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนกะสุน ๓ นิ้ว ชเลยสักดิ์ ๑ กระบอก ปืนนกสับ ๒๐ กระบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑๑ หอกเขน ๒๐ เสื้อพล ๒๐ ทวนเท้า ๘ เรือพนัก ๑ ลำ ได้รับพระราชทานบโทนนักการ และข้าวผูก ๑๐ คน เรียก เสมอคนละ ๒๐ สัด นายหมวดเอาผ้าขาวมาผูกปีละคู่ เมืองตรัง เอาดีบุกมาผูกปีหนึ่ง ๑๕ ชั่งไทย เมืองกุแหระเอาดีบุกผูกปีหนึ่ง ๗ ตำลึง ๑๐ บาทไทย ถ้าขุนหมื่นเมืองตรังภูฮากุแหระ ร้องฟ้องเปน กะซวงแพ่งอาญา ธรรมาธิกรน์นครบาลได้รับหนังสือฟ้องเอาว่าแก่ เจ้าเมืองผู้รั้ง ได้พิจารนารับผลพระราชทานหัวเบี้ย พินัย อาญากรมสุรัสวดี มีนาสัดออกเมืองเส้นหนึ่ง. หลวงราชเมธา รองพระสุรัสวดี ถือสักดินา ๘๐๐ ถือตรา รูปคนมือซ้ายชูสมุด มีม้า ๑ เครื่อง ๑ ทวนม้า๑ หมวก ม้า ๑ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก ปืนกะสุน ๑ นิ้วชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก หมวก ๑ เสื้อ ๒ หอก ๕ เสื้อพล ๕ ได้ว่า ราชการถึงเจ้ากรม ได้รับเรียกพนักเข้าด้วยหลวงประชาบาลลำหนึ่ง. ขุนโนพิสาล ปลัดพระสุรัสวดี ถือสักดินา ๖๐๐ มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ทวน ๑ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก หอกเขน ๔ ปลัดทูลฉลอง ได้เร่งรัดเครื่องบรรนา


๑๑ การสำหรับดอกไม้ทองเงิน พระราชพิธีและราชการไนวังจวนทำเนียบเจ้าเมืองผู้รั้ง ขุนอินทรภักดี ปลัดบัญชี ถือสักดินา ๔๐๐ มีปืนกลับ บันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อ พล ๒ ปืนนกสับชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก ได้ว่าราชการเบ็ดเส็ดไน สาลาบัญชีมีเรือพนักเข้าด้วยขุนสรีราชประหยาลำหนึ่ง. ขุนพรหมปัญญา ถือสักดินา ๔๐๐ ปืนนกสับดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ ได้ว่าราชการสารบัญชี เกนเรือตระเวน หมื่นอินทราโยธา ถือสักดินา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ ได้ว่าราชการ จ่ายเลกเกนเรือตระเวน ขุนอินทรราชประหยา ถือสักดินา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดา สักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ ได้ ว่าราชการบาญชีสรรพเหตุ ไนสาลาบัญชีด้วยขุนอินทรภักดี ขุนอินทปัญญา นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ ได้ว่าราชการบาญชี สรรพเหตุ ขุนกะดานพล นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ ได้จ่ายพลเกณท์ทัพ และตรวดบัญชีกองด่านกับเพลิงล้อมเสือ ขุนภักดีโยธา นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก


๑๒ เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ ได้ว่าราชการ บัญชีเกนทัพบก ตรวดบัญชีทหาน ขุนทิพโยธา นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ ได้ว่าราชการตรวด เลกพิจารนาทั้งปวง ขุนไชยรักสา นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ ได้ว่าราชการ จำนำบำเรอจ่ายชันน้ำมันทาเรือพนัก ขุนอินทเสนา นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ ได้ว่าราชการเบ็ด เส็ดไนกรม ขุนราชโยธา นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ เปนสมุห์บัญชีคุม ไพร่บโทน นักการเรียกส่วยอากรสำหรับกรมสัสดี ขุนทิพรักสา นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ ได้ว่าราชการเร่งรัด หัวเมืองทั้งปวง ขุนเทพรักสา นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ได้เร่งรัดการไนตึกดิน และ ว่าราชการไนวังด้วยขุนโนพิสาล ขุนราชเสนา นา ๔๐๐ ได้ว่าราชการตรวจกำแพงเมือง ขุนพรหมรักสา นา ๔๐๐ ได้ว่าราชการไนตึกดิน

๑๓ ขุนสรีรักสา นา ๔๐๐ ไช้ราชการเบ็ดเส็ด ขุนสรีเสนา " " " " ขุนครองพล " " " " ขุนโยธาราช " " " " ขุนอินทรรักสา " " " " ขุนเทพโยธา " " " " ขุนพรหมภักดี " " " " ขุนไชยเสนา " " " " หมื่นสรีเสนา นา ๒๐๐ ไช้ไนกรม หมื่นภักดีโยธา " " " หมื่นพรมปัญญา " " " หมื่นพรหมรักสา " " " หมื่นพรหมราชประหยา " " " สิริกรมสุรัสวดีขวา พระ ๑ หลวง ๑ ขุน ๒๓ หมื่น ๖ ออกพระไชยประยาบดี สรีสมุหพระสัสดี ถือสักดินา ๑๔๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปคนนั่งบนแท่น มือซ้ายชูสมุด มีช้างพลาย ๑ ช้างพัง ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๒ หมวก ๓ นวม ๓ แหลน ๔๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ ม้า ๑ เครื่องม้า ๑ ทวน ๑ เสื้อ ๑ ปืนกะสุนหนึ่งนิ้วบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๖ กะบอก ปืนกะสุน ๒ นิ้วชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก เรือพนัก ๑ ลำ ได้รับพระ ราชทานบโทนนักการ และข้าวผูก ๘ คน เรียกเสมอคนละ ๒๐ สัด นายหมวดเอาผ้าพับผูกปีละคู่ เลกส่งเชือกผูกเรือพนักคนละเส้น เมือง

๑๔ ถลางเอาดีบุกมาผูกปีละ ๕ ไทย เมืองภูงา ๕ ๒ ไทย เมืองตะกั่วทุ่ง หมื่นพรหมคุมคนทำดีบุก เอากะสุนมาผูก ๒ ๖ ไทย เมืองบางคลีเปนที่พกหมาก แลเรือลูกค้าเข้ามา เจ้าเมืองเบิกเอาเงิน ๗ ๒ เข้ามาส่ง ได้รับพระราชทาน ถ้าขุนหมื่นและราสดรเมือง กลางบางคลี่ ตะกั่วทุ่ง ตะกั่วป่า ท่าทอง ร้องฟ้องความแพ่งอาญาธรรมาธิกรน์นครบาล ได้รับฟ้องว่าแก่เจ้าเมืองผู้รั้งได้พิจารนาเปน สินไหมพินัย รับผลพระราชทานแต่เท่านั้น มีนาสัดออกเมือง เส้นหนึ่ง หลวงประชาบาล รองพระสัสดี นา ๘๐๐ ถือตรารูปคน มือซ้ายชูสมุด มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ๑ หมวก ๑ ปืน นกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก ปืนกะสุนนิ้วกึ่งชเลยสักดิ์กะบอกหนึ่ง หอกเขน ๕ เข้าเรือพนักกับหลวงราชเมธาลำหนึ่ง ได้ว่าราชการ บัญชีเบ็ดเส็ด และได้รับผลพระราชทานค่าบัญชีเวหะบันจบราชการ ขุนโนพิเสส ปลัดพระสัสดี นา ๖๐๐ มีม้า ๑ เครื่อง ม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ทวน ๑ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก หอกเขน ๔ ปลัดทูลฉลอง ได้เร่งรัดเครื่องบรรนาการสำหรับดอก ไม้ทองเงินพระราชพิธี และราชการไนวังจวนทำเนียบเจ้าเมืองผู้รั้ง ขุนสรีราชประหยา ปลัดบัญชี นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดา สักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๒ และว่าบัญชีพลเมืองนะสาลบัญชี เข้า เรือพนักกับขุนอินทรภักดีลำหนึ่ง ขุนอินทรปัญญา นา ๔๐๐ ถือตรารูปคน มือซ้ายชูสมุด มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๒ ได้ว่าตึกปืน ๑


๑๕ ขุนพรหมปัญญา นา ๔๐๐ ถือตรารูปคน มือซ้ายชูสมุด มีปืนนกสับบันดาสักดิ์กะบอกหนึ่ง หอกเขน ๒ ได้ว่าการเกนเรือ ขุนรักสาพล นา ๔๐๐ ถือตรารูปคน มือซ้ายชูสมุด มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๒ ตรวดประตูกำแพงเมือง ขุนสรีเสนา นา ๔๐๐ ถือตรารูปคน มือชูสมุด มีปืนนกสับ บันดาสักดิ์กะบอกหนึ่ง หอกเขน ๒ คุมไพร่นักการสำหรับหลวง ไชยประหยา ขุนอินทรรักสา นา ๓๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์กะบอกหนึ่ง หอกเขน ๑ ได้ว่าราชการคลัง ขุนไชยรักสา นา ๓๐๐ ขุนหมื่นไช้ไนกรม ขุนทิพรักสา " " ขุนอินทรพงสา " " ขุนสรีรักสา " " ขุนพรหมราชประหยา " " ขุนไชยราชา " " หมื่นไชโยธา " " หมื่นสรีราชรักสา " " ทั้งเจ็ดคนนี้ เปนขุนหมื่นไช้ไนกรม สิริกรมพระสุรัสวดีซ้าย พระ ๑ หลวง ๑ ขุน ๑๓ หมื่น ๒ รวม ๑๗ คน ออกพระสรีราชวัง กรมเมือง ถือสักดินา ๑๔๐๐ ฝ่ายขวา ถือตรารูปคนขี่กระบือ มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๒

๑๖ นวม ๓ แหลน ๒ หมวก ๑ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ปืน นกสับบันดาสักดิ์ ๖ กะบอก เสื้อ ๖ หมวก ๖ เขน ๑๕ ทวน- เท้า ๖ เสื้อพล ๑๔ เรือพนัก ๑ ลำ ได้พิจารนาความนครบาล สมนอกสาล. ขุนเทพราชรองเมือง นา ๘๐๐ มีปืนกะสุนนิ้งกึ่งชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ เขน ๕ เสื้อพล ๕. ขุนราชเมืองขวาง นา ๖๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ เขน ๑ เสื้อพล ๒ ขุนนครจักร ถือสักดินา ๖๐๐ ขุนรัดบุรี นา ๓๐๐ ไช้ไนกรม ขุนนครบุรี " " ขุนไชยจ่าเมือง " " ขุนไกรทิพ " " ขุนไกรเทพ " " ขุนนครรักสา " " หมื่นนครบุรี นา ๒๐๐ หมื่นไช้ไนกรม หมื่นไชยจ่าเมือง " " หมื่นนครจักร " " หมื่นนาสไพรี " " หมื่นยมบาล " " หมื่นผลานชีวิต " "

๑๗ หมื่นเพ็ชคาต นา ๒๐๐ หมื่นไช้ไนกรม หมื่นนครรักสา " " หมื่นบาลบุรี " แขวงกลางเมือง สิริกรมเมืองฝ่ายขวา พระ ๑ ขุน ๙ หมื่น ๙ รวม ๑๙ คน ออกหลวงพลพากรราชมนตรี นา ๑๔๐๐ ฝ่ายขวา เปนกรมนาถือตรารูปไพสพถือรวงข้าว มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๒ นวม ๓ แหลน ๒๐ หมวก ๓ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ปืนกะสุน ๒ นิ้วชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๔ กะบอก เสื้อ ๔ หมวก ๔ หอกเขน ๑๐ เสื้อพล ๑๐ ทวนเท้า ๔ เรือพนัก ๑ ลำ ได้เรียกพวกนาสำหรับเจ้าเมืองผู้รั้ง. ขุนธรนีสวน รองนา นา ๘๐๐ มีนาสัดประหยาม ๑ เส้น. ขุนราชสมโภช ปลัด นา ๖๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ มีนาสัดประหยาม ๑ เส้น. ขุนสรีสมโภช นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หมวก ๑ เสื้อ ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒. หมื่นโภช ทะนายนบ นา ๒๐๐ หมื่นสรีสุภราช นายแขวงที่นา นา ๒๐๐ สิริกรมนาฝ่ายขวา หลวง ๑ ขุน ๓ หมื่น ๒ รวม ๖ คน หลวงอินทรมนตรี สรีรัตนโกสา คลังนอก นา ๑๔๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปนาคราช มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๓ หมวก ๓ ๓

๑๘ นวม ๓ แหลน ๒๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ ทงทวน ๑ หมวก ๑ ปืนกะสุนนิ้งกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๔ กะบอก หมวก ๑๐ ทวน ๔ ได้เรียกส่วยขนอนตลาด ผูกสำหรับเจ้าเมือง มีนาปรังส ตกเมือง ๒ ริ้ว นาประหยาม ออกเมือง ๒ รวม ๔ ริ้ว และได้พิจารนาความต่ำแสนไนที่สมุย ขึ้นแก่ คลัง ได้ตั้งขนอมปากนคร และด่านคลองน้ำท่าวัง และเบิกจังกอบปากเรือลูกค้า และเก็บส่วยตลาดเปนหลวง. ขุนพิมลสมบัติ รองคลัง นา ๘๐๐ มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ทวน ๑ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก หอกเขน ๕ ขุนทิพไกรลาส นา ๖๐๐ มีม้า ๑ เสื้อ ๑ เครื่องม้า ๑ หมวก ๑ ทวน ๑ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก ปืนกะสุน ๒ นิ้ว ชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๕ ได้ตรวดตราเงินเฟื้องเงินสลึง. เมืองสรีสาคร นา ๖๐๐ มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ ทวน ๑ หมวก ๑ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก ปืนกะสุนนิ้วกึ่ง บันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๕ . ขุนสรีสมบัติ นา ๔๐๐ มีปืนสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๒. ขุนราชสมบัติ นา ๔๐๐ ขุนอินทรสมบัติ นา ๔๐๐ ขุนพัธไมตรี นายบ่อนเบี้ย นา ๔๐๐ ขุนสุนทรไมตรี ล่าม นา ๔๐๐

๑๙ สิริกรมคลังฝ่ายซ้าย หลวง ๑ ขุน ๗ เมือง ๑ รวม ๙ คน หลวงเทพมนเทียร กรมหน้าวัง นา ๑๔๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือ ตรารูปคนค่อมชูพานผ้านั่งบนแท่น มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๒ นวม ๓ แหลน ๒ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ปืนกะสุนนิ้งกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับ บันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับชเลยสักดิ์ ๖ กะบอก หอกเขน ๑๕ พวนเท้า ๖ เรือพนัก ๑ ลำ ได้รับพระราชทานนาส ตกเมือง ๑ เส้น แลถ้าผึ้งลงไนที่นายที่เอามาผูก ๕ ถ้าประเปนลูกนายที่เอามาผูก ๕ ตลวง ถ้าประชาราสดรไนที่หน้าวัง ร้องฟ้องแต่เนื้อความต่ำแสน ไห้พิจารนาบันจบราชการ. ขุนสรีวังยส รองวัง นา ๘๐๐ มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ทวน ๑ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอด หอกเขน ๕ ได้เร่งเครื่องบรรนาการ ถ้ามีผู้มาร้องฟ้อง ไห้กราบเรียน ได้รับ พระราชทานค่าเรียกค่าสั่ง. ขุนพรหมสุภา แพ่งไน ถือสักดินา ๘๐๐ ถือตรารูปนก แขกเต้าหยู่ไนกรงคาบรวงข้าว มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๔ ได้ว่าความแพ่งสมไนสาล ๑. ขุนอินทรรักสา นครบาลไน นา ๖๐๐ ถือตรารูปกะบือ เปนขุนสาล ได้พิจารนาความนครบาลสมไนสาล ๑. ขุนทิพรักสา รองนครบาลไน นา ๔๐๐ ถือตรารูปกะบือ ได้ว่าเนื้อความนครบาลสมไนสาล ๑ ขุนทิพราช กลางวัง นา ๖๐๐ ถือตรารูปคนถือแม่กุนแจ

๒๐ ขุนอินทรอาญา ไน นา ๔๐๐ ถือตรารูปเรือสีสะม้า ได้ ว่าเนื้อความอาญาสมไนสาล ๑ ขุนอินทรมนเทียร นา ๔๐๐ ปลัดวัง ถือตรารูปคนถือลูก กุญแจ ถ้ามีผู้ฟ้องร้อง ได้รับพระราชทานค่าเรียนค่าฮวด. ขุนทิพมนเทียร นา ๔๐๐ ขุนพรหมมนเทียร " ขุนเทพมนเทียร " ทั้งสามคนนี้เปนปลัดวัง ถือตรารูปคนถือลูกกุญแจ ถ้า มีผู้ร้องฟ้อง ได้รับพระราชทานค่าเรียนค่าฮวด ขุนไชยมนเทียร นา ๓๐๐ ปลัดเวน ขุนจำนง " " ขุนจงไจราช " " ขุนแสนอาวุธ " " ขุนพรหมมาลา นา ๔๐๐ พนักงานส่งดอกไม้ทองเงิน ขุนทิพมาลา " " " ขุนเทพมาลา " " " ขุนอินทรมาลา " " " ขุนสรีวังกามาส " ถือตรารูปคนถือแม่กุนแจ คุมไพรj ๑๒ คำนับ. ขุนอินทรักสาภักด นายที่กำโลน นา ๔๐๐ ถือตรารูปคนถือไม้ถวาย.


๒๑ ขุนสรีโกสา คลังไน นา ๘๐๐ ถือตรารูปคนถือถุงเงิน ได้ รับพระราชทานขนอนบ่อจิก เอาส่วยขนอนทำดอกไม้เงิน. สิริกรมหน้าวัง ฝ่ายซ้าย หลวง ๑ ขุน ๒๑ รวม ๒๒ คน. ขุนสวัสดิภักดี นา ๘๐๐ นายกองมหาดเล็ก ฝ่ายขวา ขุนสรีสวรราช " " " " ฝ่ายซ้าย หมื่นรักส์ นา ๔๐๐ นายเวนมหาดเล็ก ฝ่ายขวา หมื่นริทธิ์ " " " ฝ่ายซ้าย หมื่นสนิท " " " ฝ่ายขวา หมื่นเสน่ห์ " " " ฝ่ายซ้าย จ่าชำนิ นา ๒๐๐ ฝ่ายขวา จ่าชำนาญ " ฝ่ายซ้าย จ่านิตย์ " ฝ่ายขวา จ่านาถ " ฝ่ายซ้าย สิริกรมมหาดเล็ก ขุน ๒ หมื่น ๔ จ่า ๔ รวม ๑๐ คน. ขุนธัมเสนา นา ๒๐๐ เจ้ากรมสังคการี ขุนธัมลังการ์ " " ขุนธรรมาทิพย์ " " ขุนธัมไตรโลก " " หมื่นจิตรโอสถ " เจ้ากรม กรมหมอ หมื่นเทพ " กรมหมอ หมื่นทิพย์ " " หมื่นสิทธิ์ " "

๒๒ หมื่นไชย นา ๒๐๐ กรมหมอ หมื่นจักร " " หมื่นอินท " " หมื่นพรหม " " ขุนจักรสุริญาน นา ๔๐๐ โหรสำหรับเมือง ขุนโหราจารย์ นา ๔๐๐ " " ขุนสิทธิโวหาร " " " ขุนโลกนัย " " " หมื่นเทพ นา ๒๐๐ นายหมวดคันหาม ขุนทิพ " นายหมวดค้องยาม ออกหลวงโยธาทิพ ตำหรวดไหย่ นา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๕ เสื้อพล ๕. หมื่นราชรักส์ ปลัด นา ๔๐๐ หมื่นภักดีราช สมุหบัญชี นา ๓๐๐ หมื่นเพ็ชร์ ทะนายไช้ นา ๒๐๐ ออกหลวงโยธาเทพ ตำหรวดไหยา นา ๑๒๐๐ ฝ่ายซ้าย มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๕ เสื้อพล ๕. หมื่นภักดีภูธร ปลัด นา ๔๐๐ หมื่นนครจักร สมุหบัญชี นา ๓๐๐ หมื่นไชย ทะนายไช้ นา ๒๐๐


๒๓ หมื่นทิพนรงค์ ตำหรวดไน นา ๘๐๐ ฝ่ายขวา มี ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๔ หอกเขน ๔ เสื้อพล ๔. หมื่นนรงคพินาส ปลัด นา ๔๐๐ หมื่นพินาสไพริน นา ๒๐๐ หมื่นเสนาราช " หมื่นเสนาไชย " หมื่นซงบาดาล " หมื่นทยานอากาส " หมื่นแคล้วจัตุรงค์ " หมื่นจงไจหาน " หมื่นสักดิ์ " หมื่นสรี " ขุนเทพนรงค์ ตำหรวดไน นา ๘๐๐ ฝ่ายซ้าย มีปืน นกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๔ เสื้อพล ๔ หมื่นราชภักดี ปลัด นา ๔๐๐ หมื่นสรีสักดา นา ๒๐๐ หมื่นริทธิจักรสรี " หมื่นริทธิจักรรัตน " หมื่นโจมไจเพ็ชร์ " หมื่นระเห็ดอากาส "

๒๔ หมื่นสรีวิสุทธิ์ นา ๒๐๐ หมื่นพุทธวิเสส " หมื่นเพ็ชร์ " หมื่นคง " ขุนนนทจินดา ตำหรวดนอก นา ๖๐๐ ฝ่ายขวา มีปืน นกสับบันดาสัาดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๔ เสื้อพล ๕ หมื่นยง ปลัด นา ๓๐๐ หมื่นยุทธ์ นา ๒๐๐ หมื่นรุด " หมื่นราช " หมื่นอาด " หมื่นหาน " หมื่นแคล้ว " หมื่นกล้า " พันริทธิ " พันรบ " ขุนรักสามนี ตำหรวดนอก นา ๖๐๐ ฝ่ายซ้าย มี ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๔ เสื้อพล ๕. หมื่นผลาน ปลัด นา ๓๐๐ หมื่นแผลง นา ๒๐๐

๒๕ หมื่นสร นา ๒๐๐ หมื่นสิทธิ " หมื่นจักร " หมื่นเพ็ชร์ " หมื่นอินท " หมื่นองค์ " พันจบ " พันไกร " สิริกรมตำหรวดฝ่ายขวา หลวง ๑ ขุน ๒ หมื่น ๒๑ พัน ๒ รวม ๒๖ ฝ่ายซ้าย หลวง ๑ ขุน ๒ หมื่น ๒๑ รวม ๒๖ รวมทั้งสิ้น ๕๒ คน หลวงสรีราชสุภา กรมแพ่งนอก นา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา ถือตรารูปนกแขกเต้า มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๔ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๕ เสื้อพล ๕ มีเรือพนักเข้าด้วย ได้รับพระราช ทานกิจกะทงความกะซวงแพ่ง ได้พิพากสาความนะสาลา เปนขุนสาล ขุนราชสุภา รองแพ่ง นา ๖๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หอกเขน ๒ หมวก ๑ เสื้อพล ๒. ขุนไชยสุภา ปลัดแพ่ง นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๑ หอกเขน ๑ เสื้อพล ๑ หมวก ๑ ๔


๒๖ ขุนสุภาเทพ นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๑ เสื้อพล ๑ หมื่นสุภาทิพ นา ๒๐๐ ทะนายดาบคุมความ หมื่นสิทธิสักดิ์ " " " หมื่นรัตนราช " " " สิริกรมแพ่งนอกฝ่ายขวา หลวง ๑ ขุน ๑ หมื่น ๓ รวม ๗ คน หลวงกลางราชมนตรี นา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา ถือตรารูปคน ถือลูกกุนแจ ได้ว่าราชการปืนน้อย กะสุนดินปะสิวไนตึก พนักงาน นั่งพิพากสาความไนสาลากลาง. ขุนทิพมนตรี รองกลาง นา ๖๐๐ หมื่นไชยรักสา สมุห์บัญชี นา ๓๐๐ หมื่นพินาสอัคคี นา ๓๐๐ นายตำดิน พันสีหนาท นา ๒๐๐ นายเวน พันพิลึก " นายเวน พันนนท์ " นายเวน พันอินทร์ " สิริกรมกลางฝ่ายขวา หลวง ๑ ขุน ๑ หมื่น ๓ พัน ๔ รวม ๙ คน หลวงเทพนรามรดก ขุนสาล นา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา ถือ ตรารูปแร้งหยู่บนแท่น ได้ว่าเนื้อความมรดก และพิพากสาความ นะสาลาลูกขุน

๒๗ ขุนนราภักดี รอง นา ๔๐๐ ขุนเทพอักสร เสมียน นา ๒๐๐ สิริกรมมรดก หลวง ๑ ขุน ๒ รวม ๓ คน หลวงวิจารน์ภักดีสรีสวภาค กรมสรรพากร นา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา ถือตรารูปตะเข็บ มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทง ทวน ๒ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก แหลน ๒๐ นวม ๓ ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๕ กะบอก เสื้อ ๕ หมวก ๕ หอกเขน ๑๐ เสื้อพล ๑๐ ได้ชำระพินัย กะทงความ ๘ สาล พกหมากสำหรับเจ้าเมือง ได้ที่พกหมากแขวง จันตะพ้อ ขุนวิสุทธากร รองสรรพากร นา ๖๐๐ มีปืนนกสับ บันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๒ เสื้อ พล ๒ ขุนทิพชำนาญ นา ๓๐๐ มีเสื้อ ๑ หมวก ๑ หอก เขน ๒ เสื้อพล ๒ ขุนพรหมชำนาญ นา ๓๐๐ มีเสื้อ ๑ หมวก ๑ หอก เขน ๒ เสื้อพล ๒ ขุนอินทรชำนาญ นา ๓๐๐ มีเสื้อ ๑ หมวก ๑ หอก เขน ๒ เสื้อพล ๒ ขุนเทพชำนาญ นา ๓๐๐ มีเสื้อ ๑ หมวก ๑ หอก เขน ๒ เสื้อพล ๒ สิริกรมสรรพากร ฝ่ายขวา หลวง ๑ ขุน ๕ รวม ๖ คน



๒๘ ออกหลวงทิพรักสา กรมท้ายวัง นา ๑๒๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปคนถือถุงเงิน มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๒ แหลน ๒๐ นวม ๓ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ปืนกะสุนนิ้ว กึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๖ กะบอก หอก เขน ๑๕ ทวนเท้า ๖ มีหน้าที่กำแพงและเรือพนัก ๑ ลำ ได้รับพระ ราชทานนาประหยามตำบลลานนาสะกา ๒ ริ้ว เปนนา ๑๒ บิ้ง นา ปรังส ตกเมือง ๒ ริ้ว เปนนา ๑๒ บิ้ง และได้พิจารนาความเบี้ยต่ำแสนบันจบราชการ มีแขวงขึ้นที่บางจากบางเคร็ง ที่พนางตุง ที่พังไกร ๔ ตำบล ขุนทิพรักสา รองท้ายวัง นา ๖๐๐ มีม้า ๑ เครื่อง ม้า๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ทวน ๑ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก หอกเขน ๕ ได้รับพระราชทานนาตำบลท่ากะสัง ๑๕ บึ้ง ได้ว่าความต่ำแสนบันจบราชการ ขุนวิชิตภักดีสรีสนมกลาง นา ๔๐๐ ถือตรารูปคน ได้รับ ข้าวเชิงโค ข้าวนิจภัตร ข้าวหมกสำหรับเจ้าเมือง. ขุนอินทราชรักสา ปลัดท้ายวัง นา ๔๐๐ ขุนสรีมนเทียร คุมแขวงหลัง นา ๔๐๐ มีปืนนกสับ บันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๒ ขุนพรเจต นา ๔๐๐ ฝ่ายหลัง ขุนหมื่นไช้ไนกรม ขุนอินทรภักดี นา ๔๐๐ คุมไพร่ข้าวผูก ขุนหมื่นไช้ไนกรม ขุนเทพภิรมย์ นา ๓๐๐ ขุนหมื่นไช้ไนกรม ขุนทิพภิรมย์ นา ๓๐๐ " "


๒๙ หมื่นราชภิรมย์ นา ๒๐๐ ขุนหมื่นไช้ไนกรม หมื่นสรีภิรมย์ " " " หมื่นอินทร์ภิรมย์ " " " หมื่นไพยภิรมย์ " " " สิริกรมท้ายวัง ฝ่ายซ้าย หลวง ๑ ขุน ๘ หมื่น ๔ รวม ๑๓ คน หลวงพิชัยราชรักสา กรมลูกเทอ นา ๑๒๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปพระอุเชนทร์ ได้พิจารนาความสมสาล มีแขวงขึ้นบ้าน แพงชา บ้านน้ำแคบ บ้านปากหราม บ้านม่วง บ้านทวนป่า ห้าม ๕ ตำบล มีทะนายดาบ ขุนไชยราชพงสา รองกรมลูกเทอ นา ๖๐๐ มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ ทวน ๑ หมวก ๑ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก หอกเขน ๕ ขุนแก้วรัตนราช ปลัดลูกเทอ นา ๔๐๐ มีม้า ๑ เครื่อง ม้า ๑ เสื้อ ๑ ทวน ๑ หมวก ๑ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก หอกเขน ๕ ขุนเรนรักสา จ่านายกรมลูกเทอ นา ๔๐๐ ได้ว่าความ ร้องทุข ขุนชำนาญราชวากย์ นา ๓๐๐ สิริกรมลูกเทอฝ่ายซ้าย หลวง ๑ ขุน ๔ รวม ๕ หลวงพิไชยนาเคนทร์ กรมช้างกลาง นา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา ถือตรารูปคนขี่ช้าง

๓๐ ขุนภักดีกุญชร นา ๖๐๐ ปลัดกรม ขุนไชยกุญชร นา ๓๐๐ ขุนทรนาเคนทร์ " ขุนอินทคชลักสน์ " ขุนสักดิ์คชบาล " ขุนทิพคชริทธิ์ " ขุนเทพคชริทธิ์ " ขุนอินทคชกรรม นา ๒๐๐ หมอช้าง ขุนพรหมคชกรรม " " ขุนสักดิคชพล " ขุนสรีคชพล " ขุนเทพคชพล " หมื่นทิพคชพล " หมื่นราชคชพล " หมื่นจบอารัญ " หมื่นจ่าภักดี สมุห์บัญชี " หมื่นจงภักดี " สิริกรมช้างกลาง ฝ่ายขวา หลวง ๑ ขุน ๑๒ หมื่น ๕ รวม ๑๘ คน ออกพระแสนสุรินทร์สงคราม ครอบส่วย นา ๑๒๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปนางพระธรนี มีช้างพลาย ๑ ช้างพัง ๑ จำลอง ๒ ทงทวน ๔ หมวก ๖ นวม ๖ แหลน ๔๐ ปืนนกสับหลังช้าง

๓๑ ๒ กะบอก มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ทวน ม้า ๑ ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๘ กะบอก ปืนกะสุน ๒ นิ้วชเลยสักดิ์ ๒ กะบอก ปืนนกสับ ๖ กะบอก หอกเขน ๒๐ ทวนเท้า ๘ และครั้นหัวเมืองเอาส่วยมาผูก ได้รับพระราชทานค่าหัวจำนวน ๑ ชั่ง เอา ๒ ตำลึง ๒ บาท ไพร่ประพนักเปนคนไช้ เหล่าหนึ่ง ถ้าราสดรร้องฟ้อง ถวายเปนหลวง ได้รับพระราชทาน พิจารนา หลวงอินทรโกสา กรมคลัง ถือสักดินา ๑๐๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปคนถือลูกกุนแจ ขุนเทพสุรินทร์ ถือสักดินา ๖๐๐ ปลัดคลัง ถือตรารูป คนถือถุงเงิน ขุนอินทนเรนทร์ ถือสักดินา ๖๐๐ ปลัดคลัง ถือตรา รูปคนถือถุงเงิน ขุนสิทธิสมบัติ ถือสักดินา ๔๐๐ ถือตรารูปคนถือถุงเงิน ขุนสวัสดิ์โกสา " " ถือตรารูปคนถือถุงเงิน ขุนพรหมนรินทร์ " " ถือตรารูปคนถือถุงเงิน ขุนทิพสุรินทร์ " " มหาดไทยไนกรม หมื่นแสนไจซื่อ " " ดาบส่วยไนกรม หมื่นราชสมบัติ " " นายหมวดส่วยไนกรม ขุนอินทร " " " "


๓๒ สิริกรมส่วยกรมคลัง พระ ๑ หลวง ๑ ขุน ๗ หมื่น ๒ รวม ๑๑ คน ออกพระไกรพลแสนยากร อธิบดีสรีสุรินทรเดโชไชย หลวง พล ถือสักดินา ๑๖๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปคนถือดาบโล่ห์ ช้างพลาย ๑ ช้างพัง ๑ จำลอง ๒ ทงทวน ๔ หมวก ๖ แหลน ๔๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๒ กะบอก ม้า ๑ ทวนม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๘ กะบอก ปืนกะสุน นิ้วกึ่งชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๒๐ ทวนเท้า ๘ ได้รับ พระราชทานบโทนหมวก ๑ ถ้าชาวอาสาร้องฟ้อง เปนแต่ความ สาเร่ ได้พิจารนา ออกหลวงราชนายก ถือสักดินา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา มี ช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๒ หมวกสำหรับช้าง ๑ นวม ๓ แหลน ๒๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ปืนกะสุน ๒ นิ้วชเลย สักดิ์ ๑ กะบอก ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับ บันดาสักดิ์ ๖ กะบอก เสื้อ ๖ หมวก ๖ หอกเขน ๑๕ ทวน เท้า๖ เสื้อพล ๑๕ ได้รับพระราชทานบโทนหมวด ๑ ถ้าชาว อาสาร้องฟ้องได้พิจารนา ออกหลวงภักดีสงคราม ถือสักดินา ๑๒๐๐ ฝ่ายซ้าย มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๒ หมวกสำหรับช้าง ๑ นวม ๑ แหลน ๒ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ปืนกะสุน ๒ นิ้ว ชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืน นกสับบันดาสักดิ์ ๖ กะบอก เสื้อ ๖ หมวก ๖ หอกเขน ๑๕ ๓๓ ทวนเท้า ๖ เสื้อพล ๑๕ ได้รับพระราชทานบโทนหมวด ๑ ถ้า ชาวอาสาร้องฟ้อง ได้พิจารนา หลวงไชยพลบาล ถือสักดินา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ มีปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก หมวกสำหรับช้าง ๓ แหลน ๒๐ ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๕ กะบอก เสื้อ ๕ หมวก ๕ หอกเขน ๑๐ เสื้อพล ๑๐ ทวนเท้า ๕ หลวงชาญพลรบ ถือสักดินา ๑๒๐๐ ฝ่ายซ้าย มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๔ เสื้อพล ๔ ขุนไชยสรสิน ถือสักดินา ๑๐๐๐ ฝ่ายขวา ขุนอินทสรแผลง ถือสักดินา ๑๐๐๐ ฝ่ายขวา หมื่นนราพลริทธิ์ ถือสักดินา ๔๐๐ ปลัดราชนายก ฝ่ายขวา หมื่นวิชิตพลเดช ถือสักดินา ๔๐๐ ปลัดหลวงภักดีสงคราม ฝ่ายซ้าย หมื่นปราบพลสิทธิ ถือสักดินา ๔๐๐ ปลัดหลวงพิชัยพลบาล ฝ่ายขวา หมื่นริทธิพลไกร ถือสักดินา ๔๐๐ ปลัดหลวงชาญพลรบ ฝ่ายซ้าย หมื่นชะนะพลชัยถือสักดินา ๔๐๐ ปลัดขุนไชยสรสิน ฝ่ายขวา หมื่นไกรพลชาญ ถือสักดินา ๔๐๐ ปลัดขุนอินทสรแผลง ฝ่ายซ้าย ๕

๓๔ สิริกองอาสาฝ่ายซ้าย พระ ๑ หลวง ๒ ขุน ๑ หมื่น ๑ ฝ่ายขวา หลวง ๒ ขุน ๑ หมื่น ๓ รวม ๓๓ คน ออกพระวิชิตสงคราม รามภักดี สรีปลาหวัน เจ้ากรมท่า นา ๑๔๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปคนถือเขน มีช้างพลาย ๑ ช้างพัง ๑ แหลน หลังช้าง ๔๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๒ กะบอก ม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ ทวน ๑ หมวก ๑ ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๘ กะบอก หอกเขน ๒๐ ทวนเท้า ๘ หาได้รับ พระราชส่วยสาอากรไม่ ออกหลวงนรงคชลธี นายกองเรือ ๆ ตะเวน ถือสักดินา ๑๒๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปคนขี่เรือถือดาบ ๒ มือ มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก หมวก ๓ นวม ๓ แหลน ๒๐ ปืนกะสุน นิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๕ หมวก ๕ หอกเขน ๑๐ ทวนเท้า ๕ ขุนจำนงชลธี ถือสักดินา ๘๐๐ ปลัด ขุนภักดีชลธาร " ๘๐๐ " พันสักดิชลธี " ๔๐๐ สมุห์บัญชี พันสรีชลธาร " ๔๐๐ " หมื่นชำนาญสาคร " ๒๐๐ ฝ่ายขวา หมื่นขจรชลธี " " ฝ่ายซ้าย หมื่นชะนะคงคา " " ฝ่ายขวา หมื่นนราชลธี " " ฝ่ายซ้าย หมื่นอาดสาคเรส " " ฝ่ายขวา

๓๕ หมื่นเดชชลธาร ถือสักดินา ๒๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นจงสาคร " " ฝ่ายขวา หมื่นวรชลธี " " ฝ่ายซ้าย หมื่นทิพชลธาร " " ฝ่ายขวา หมื่นผลานชลธี " " ฝ่ายซ้าย หมื่นชำนิคงคา " " ฝ่ายขวา หมื่นจ่าชลธี " " ฝ่ายซ้าย หมื่นไกรชลธาร " " ฝ่ายขวา หมื่นหานชลธี " " ฝ่ายซ้าย หมื่นราชลธี " " ฝ่ายขวา หมื่นสรีชลธาร " " ฝ่ายซ้าย หมื่นเพชรสาคเรส " " ฝ่ายขวา หมื่นวิเสสชลธาร " " ฝ่ายซ้าย หมื่นไชยคงคา " " ฝ่ายขวา หมื่นกล้าชลธี " " ฝ่ายซ้าย หมื่นจบสาคร " " ฝ่ายขวา หมื่นนครชลธี " " ฝ่ายซ้าย หมื่นระเห็ดคงคา " " ฝ่ายขวา หมื่นสัจจาชลธี " " ฝ่ายซ้าย หมื่นเทพวาริน " " ฝ่ายขวา หมื่นอินทรสาคร " " ฝ่ายซ้าย หมื่นกิจชลธาร " " ฝ่ายซ้าย

๓๖ หมื่นบาลชลธี สักดินา ๒๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นพลชลธาร " " ฝ่ายขวา หมื่นดานชลธี " " ฝ่ายขวา ขุนชุมนุมแขก ถือสักดินา ๔๐๐ สิริกองเรือตระเเวน ฝ่ายซ้าย พระ ๑ หลวง ๑ ขุน ๓ หมื่น ๓๐ พัน ๒ รวม ๓๗ คน ออกหลวงราชกวี สรีสาลักสมน์ ถือสักดินา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา มีตรารูปคนถือดินสอ มีนาสัดออกเมือง ๑ เส้น ได้ไสยพระธัมนูญ นั่งสาลพิพากสาความพนักงานแต่งหนังสือบอก ขุนสิทธิบันชา ถือสักดินา ๔๐๐ เสมียนไนกรม ขุนเทพกวี " " " ขุนราชกวี " " " ขุนสิทธิโวหาร " " " ขุนชำนาญอักสร " " " ขุนวิเสสอักสร " " " ขุนวิจารน์อักสร " " " ขุนอินทรอักสร " " " สิริกรมอาลักสน์ ฝ่ายขวา หลวง ๑ ขุน ๘ รวม ๙ คน ขุนยโสธรพญาริยสสรีนาคเทวันหัวชุมนุม สักดินา ๘๐๐ ลูกขุนนั่งสาลฝ่ายขวา ขุนพรหมสุทธิชาต ถือสักดินา ๘๐๐ ลูกขุนนั่งสาลฝ่ายขวา ขุนราชนารายน์ ถือสักดินา ๘๐๐ ลูกขุนนั่งสาลฝ่ายขวา

๓๗ ขุนสรีสวัสดิสมัย ถือสักดินา ๘๐๐ลูกขุนนั่งสาลฝ่ายขวา ขุนจันทร์ ปลัดพนักงานกองกุลพิธีตรุสสารท ถือสักดินา ๔๐๐ ขุนเท้าเพ็ชร ถือสักดินา ๒๐๐ พนักงานชิงช้าและรักสาเทวสถาน ขุนโหราจารย์ " " " " " ขุนมริทธิเสรียน " " " " " ขุนสรีสเภา " " " " " ขุนสรีราชภูเบนทร์ " " " " " ขุนโสพร " " " " " ขุนลักสน์จันทร์ " " พนักงานรักสาหอพระ ขุนรัตนา " " " " " ขุนรามราชา " " พนักงานรักสาพระสยมภูวนาถ ขุนวาสุเทพ " " พนักงานรักสาสถานพระนารายน์ ขุนรัสวรีย์ " " พนักงานขนานน้ำพระ ขุนเทวกรรม " " พนักงานเชินพระไปสำหรับพิธี ขุนญานสยมภูว์ " " พนักงานถวายน้ำสังข์ทำโขลน ทวาร ขุนพันเวก " " พนักงานอ่านพิชัยยาตรา ขุนเทพมุนี " " พนักงานอ่านตรีปะวายสำหรับ พระนารายน์ ขุนราชมุนี " " พนักงานอ่านตรีปะวายสำหรับ พระนารายน์ ขุนจิตภักดี " " พนักงานอ่านตรีปะวาย สำหรับ พระนารายน์

๓๘ ขุนรามดิต สักดินา ๒๐๐ พนักงานอ่านตรีปะวาย สำหรับ พระ ขุนญานภักดี " " พนักงานอ่านตรียำพวายสำหรับ พระอิสวร ขุนสรีภักดี " " " " ขุนสรีบาดาล " " " " ขุนญานชูด " " " " ขุนไชยบารมี พนักงานตั้งโขลนทวาร และตั้งคอกช้าง ทอด เชือกช้าง ฝังหลักช้าง ตั้งค่าย ถือสักดินา ๒๐๐ ขุนรันไภรี ถือสักดินา ๒๐๐ พนักงานตีกลองแห่พระ ขุนสวัสดิญาน ถือสักดินา ๒๐๐ พนักงานเร่งรัดเจ้าพนักงาน สิริพราหมน์ ขุนนั่งสาล ๔ ขุนเลว ๒๗ รวม ๑๑ หมื่นอินท์ ถือสักดินา ๔๐๐ ฝ่ายหลัง นายหมวดคุมข้าพระบรมธาตุ ขุนเจ็กแพน ถือสักดินา ๔๐๐ นายหมวดคุมข้าพระพุทธปติมาทอง หมื่นสรีนพรัตน์ ถือสักดินา ๓๐๐ หมื่นเพ็ชร ถือสักดินา ๓๐๐ ขุนทิพมน ถือสักดินา ๔๐๐ นายหมวดคุมข้าพระพุทธปติมาเงิน หมื่นเสนาะ สมุห์บัญชี ถือสักดินา ๓๐๐

๓๙ ขุนราชภักดี ถือสักดินา ๔๐๐ นายหมวดคุมข้าพระธัมสาลา หมื่นภักดี สมุห์บัญชี ถือสักดินา ๓๐๐ ขุนพันภักดี ถือสักดินา ๔๐๐ นายหมวดคุมข้าพระเชสถาราม หมื่นพุทธบาล ถือสักดินา ๔๐๐ นายหมวดข้าพระพุทธ สิหิงค์ หมื่นอินทร์ ถือสักดินา ๒๐๐ นายหมวดคุมเลกคานหามราชาคนะกาแก้ว หมื่นแผ้ว ถือสักดินา ๒๐๐ นายหมวดคุมเลกคานหามราชา คนะกาชาด หมื่นราช ถือสักดินา ๒๐๐ นายหมวดคุมเลกคานหามราชา คนะกาเดิม หมื่นธัมการ ถือสักดินา ๒๐๐ นายหมวดคุมเลกคานหามราชา คนะการาม สิริพระหลวงขุนหมื่นกรมการไนตำแหน่ง ๓๖ กรมพระ ๙ หลวง ๒๑ เมือง ๑ ขุน ๒๒๕ หมื่น ๑๔๙ พัน ๑๔ จ่า ๔ รวม ๔๒๔ คน หลวงเพ็ชรกำแหงสงคราม รัตนบุรี หลวงพนัง นา ๑๒๐๐ ถือตรารูปกะบือ มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๒ หมวก ๓ หมวก ๓ แหลน ๒๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดา สักดิ์ ๖ กะบอก ปืนกะสุน ๒ นิ้วชเลยศักดิ์ ๒ กะบอก ปืนกะสุนนิ้ว กึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๖ หมวก ๖ หอกเขน ๑๕ เสื้อพล


๔๐ ๑๕ ทวนเท้า ๖ ได้เรียกอากรไนที่ได้รับพระราชทานค่าคำนับรึชา พาสีส่วยตั้งด่านไนคลองน้ำพนัง ขุนมหาสักดิภักดี รองพนังนา ๔๐๐ มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ ทวนม้า ๑ หมวกสำหรับม้า ๑ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก ปืน กะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หมวก ๒ เสื้อ ๒ หอกเขน ๕ เสื้อพล ๕ แหลน ๒ ขุนไชยภักดี นายที่เลนทุบาต นา ๔๐๐ หมื่นพลบุรี สมุห์บัญชี นา ๔๐๐ หมื่นนรินทรบุรี สมุห์บัญชี นา ๓๐๐ หมื่นจง สารวัด นา ๒๐๐ หมื่นจักร สารวัด " ที่วัดพัมธเสมาเปนที่เลนทุบาตไนที่พนัง สิริขุนหมื่นที่เมืองพนังขวา หลวง ๑ ขุน ๒ หมื่น ๔ รวม ๗ คน ออกเมืองพิชัยธานี สรีสงคราม เมืองพิเชียร นา ๑๐๐๐ ฝ่ายขวาถือตรารูปเลียงผาไหย่ มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ปืนนก สับหลังช้าง ๑ กะบอก หมวกสำหรับช้าง ๓ นวม ๓ แหลน ๒๐ ปืนกะสุนนิ้วกึ่ง ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๕ กะบอก เสื้อ ๕ หมวก ๕ หอกเขน ๕ เสื้อพล ๑๐ ทวนเท้า ๕ ได้เรียกส่วยอากร ค่าคำนับรึชาพาสีส่วย ตั้งขนอนปากคลองน้ำพิเชียร ขุนเทพบุรี รองพิเชียร นา ๔๐๐ ถือตรารูปเลียงผาน้อย ขุนมงคลบุรี ปลัด นา ๒๐๐ ถือตรารูปเลียงผาน้อย

๔๑ หมื่นอินทรบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ ที่วัดลานกะบือ ๑ วัดคงคา ๑ เปนที่เลนทุบาตไนที่พิเชียร สิริขุนหมื่นที่พิเชียร เมือง ๑ ขุน ๑ หมื่น ๑ รวม ๓ คน เมืองรามธานี นายที่เบี้ยซัด นา ๘๐๐ ฝ่ายขวา มีปืนนก สับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๕ เสื้อพล ๕ ได้เรียกส่วยอากรไนที่ได้รับพระราชทานค่าคำนับรึชาพาสีส่วย หมื่นพรหมบุรี รองที่เบี้ยซัด นา ๓๐๐ หมื่นชะนะบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ พันทนาย นาคน นา ๒๐๐ สิริขุนหมื่นที่เบี้ยซัด เมือง ๑ หมื่น ๒ พัน ๑ รวม ๔ คน ขุนตรงธานี นายที่ตรง นา ๖๐๐ ฝ่ายขวา มีปืนนก สับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๕ เสื้อพล ๕ ได้เรียกส่วยอากรไนที่ได้รับพระราชทานค่าคำนับรึชาพาสีส่วย ขุนรักสาบุรี รองที่ตรง นา ๔๐๐ หมื่นสรีรักสาบุรี นา ๒๐๐ สิริขุนหมื่นที่ตรง ขุน ๒ หมื่น ๑ รวม ๓ คน หลวงพิชัยโยธา ธานิตภักดี สรีสงคราม หลวงปรามบุรี นา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา ถือตรารูปเสือ มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก หมวกสำหรับช้าง ๓ นวม ๓ แหลน ๒๐ ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดา ๖


๔๒ สักดิ์ ๕ กะบอก เสื้อ ๕ หมวก ๕ หอกเขน ๒๐ ทวนเท้า ๕ ได้เรียกส่วยอากรไนที่ได้รับพระราชทานค่าคำนับรึชาพาสีส่วย หลวงพิชัยภักดีสรีสงคราม ปลัดปราม นา ๖๐๐ มีปืน นกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๔ เสื้อพล ๔ ขุนพินิจ รองปลัดปราม นา ๔๐๐ ที่วัดบางน้อย เปนที่ เลนทุบาตไนที่ปราม ออกหลวงพินิจภักดีสรีราช อากรนาหมาก นา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ปืนนกสับชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก หมวกสำหรับช้าง ๓ นวม ๓ แหลน ๒ ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดา สักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๕ กะบอก หมวก ๕ หอก เขน ๑๐ ทวนเท้า ๕ ได้เรียกส่วยอากรไนที่ได้รับพระราชทาค่า คำนับรึชาพาสีส่วย เมืองพินิจภักดีสรีสงคราม เมืองรองนาหมาก นา ๖๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก เสื้อ ๒ หมวก ๒ หอกเขน ๔ เสื้อพล ๔ ขุนปลัด นาหมาก นา ๔๐๐ มีปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก เสื้อ ๑ หมวก ๑ หอกเขน ๒ เสื้อพล ๒ สิริหลวงขุนหมื่นเมืองที่ปรามนาหมาก หลวง ๓ ขุน ๒ หมื่น ๑ รวม ๖ คน ขุนชะนะธานี นายที่เกาะเต่าเขาครอบฟืม นา ๖๐๐ ฝ่าย ขวา

๔๓ หมื่นเกาะเต่าบุรี รองที่เกาะเต่าเขาครอบพืม นา ๓๐๐ หลวงอินทรคิรี สรีสงคราม นายที่อินทรคิรี นา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา มีช้างพลาย ช้างจำลอง ๑ ทงทวน ๒ หมวก ๓ แหลน ๒ นวม ๓ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๕ กะบอก เสื้อ ๔ หอกเขน ๑๐ เสื้อพล ๑๐ ทวนเท้า ๕ ได้เรียกส่วยอากรไนที่ ได้รับพระราชทานค่าคำนับรึชาพาสีส่วย ขุนเพ็ชรคิรี รองอินทรคิรี นา ๔๐๐ หมื่นทิพคิรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นพลคิรี สมุห์บัญชี " " หมื่นสารวัด " " ที่วัดโพธิ์ดอนซาย ๑ วัดไหย่รัตนโพธิ ๑ วัดจันพอ ๑ รวม ๓ วัด เปนที่เลนทุบาต ไนที่อินทรคิรี สิริ หลวง ขุน หมื่น ที่อินทรคิรี หลวง ๑ ขุน ๑ หมื่น ๓ รวม ๕ ขุนไชยธานี นายที่พิปูน นา ๖๐๐ ฝ่ายขวา มีช้าง พลาย ๑ ช้างจำลอง ๑ ทงทวน ๒ หมวก ๒ แหลน ๒ นวม ๓ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๔ กะบอก เสื้อ ๔ หมวก ๔ หอกเขน ๑๐ ทวนเท้า ๔ เสื้อพล ๑๐ หอกสำหรับช้าง หมื่นรงคบุรี รองที่พิปูน นา ๓๐๐ หมื่นกะเชนบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐


๔๔ หมื่นสารวัด เปนสารวัด นา ๒๐๐ " " " " " ขุนไกรธานี นายที่วัดถ้ำนารา นา ๔๐๐ ฝ่ายขวา หมื่นเดชบุรี รองที่ถ้ำนารา นา ๓๐๐ หมื่นสุรินทรบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นชำนาญบุรี " " สิริ หลวง ขุน หมื่น ที่พิปูน ถ้ำนารา ขุน ๒ หมื่น ๗ รวม ๙ ขุนแก้ววังไซ นายที่แก้ว นา ๖๐๐ ฝ่ายขวา หมื่นวังคชริทธิ รองที่แก้ว นา ๓๐๐ หมื่นแก้วบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นวังบุรี " " ขุนเดชธานี คุนบทิคำ นายทีนบทิตำ นา ๔๐๐ ฝ่ายขวา หมื่นหานบุรี รองที่คนบทิตำ นา ๓๐๐ หมื่นจบบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ ขุนทิพธานี นายทีละอาย นา ๔๐๐ หมื่นวิชิตบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นพลบุรี สมุห์บัญชี " หมื่นสารวัด นา ๒๐๐ หมื่นเพ็ชรธานี นายที่ฉวางท่าชี ที่พดชมโร ที่กะเที่ยง ที่ ต่อขนุน นา ๘๐๐ ฝ่ายขวา ขุนอินทบุรี รองที่ฉวางท่าชี นา ๔๐๐

๔๕ หมื่นริทธิบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นโภชนบุรี " " หมื่นสุรินทรบุรี สารวัด " หมื่นไชยบุรี อำเพอท่าชี " หมื่นแสนบุรี อำเพอวัดขรม " หมื่นจิตบุรี อำเพอที่วัดขรม " หมื่นยมบุรี อำเพอนำ้พุ " พันอินทร์ แขวงที่ฉวางท่าชี " ที่วัดโฉละเปนที่เลนทุบาตไนที่ฉวางท่าชี สิริขุนหมื่นที่ ฉวางท่าชี ที่พดชมโร ที่กะเที่ยง ที่ต่อขุนน ขุน ๒ หมื่น ๗ พัน ๑ รวม ๑๐ คน ขุนพรหมธานี นายทีเวียงสะ นา ๔๐๐ ฝ่ายขวา ขุนพรหมบุรี รองที่เวียงสะ นา ๓๐๐ หมื่นเทพบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นทิพบุรี " " หมื่นลบบุรี สารวัด " หมื่นสารวัด สารวัด " หมื่นโภชน์ นายอำเพอ " ที่วัดเวียงเปนทีเลนทุบาต ไนทีเวียงสะ ๒ ตำบน สิริขุน หมื่น ที่เวียงสะ ขุน ๒ หมื่น ๕ รวม ๗ คน ขุนจำนงธานี นายที่หัวหมากลำงาย นา ๔๐๐ หมื่นบำรุงบุรี รองที่หัวหมากลำงาย นา ๓๐๐

๔๖ หมื่นภักดีบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นชำนิบุรี " " หมื่นอำเพอ นายที่วัดคูหาสวรรค นา ๒๐๐ พันเพ็ง นายแขวงที่ช้างขวา " พันคง นายแขวงที่หัวหมากลำงาย " ที่วัดนาดอน ๑ วัดถ้ำคุ้มแป ๑ วัดเครียง ๑ วัดสน ๑ วัด คูหาสวรรค ๑ เปนที่เลนทุบาตไนที่ช้างขวา สิริขุน หมื่น ที่หัวหมากลำงาย ขุน ๑ หมื่น ๔ พัน ๒ รวม ๗ คน ขุนพินธรธานี นายที่กะเบียดละแวกที่กะชะรีสี นา ๔๐๐ ฝ่ายขวา หมื่นจันทบุรี รองกะเบียดละแวกกะชะรีสี นา ๓๐๐ หมื่นชำนาญบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ สิริขุน หมื่น นายที่กะเบียดละแวกทีกะชะรีสี ขุน ๑ หมื่น ๒ รวม ๓ ขุนสิทธิธานี นายที่ส้องห้วยมะนาว นา ๔๐๐ ฝ่ายขวา หมื่นผลานบุรี รองที่ส้องห้วยมะนาว นา ๓๐๐ ขุนไกรธานี นายที่นาเดือย นา ๔๐๐ หมื่นชำนาญบุรี รองทีนาเดือย นา ๓๐๐ หมื่นวัง สารวัด นา ๒๐๐ หมื่นแผ้ว สารวัด " หมื่นสารวัด สารวัด " หมื่นนรา สมุห์บัญชี "

๔๗ หมื่นไชยรักสา สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นอำเพอ ที่ทุ่งสง " สิริขุน หมื่น นายที่นาเดือยทุ่งสง ขุน ๑ หมื่น ๗ รวม ๘ คน หลวงทิพภักดี นายที่ภูรา นา ๑๐๐๐ ฝ่ายขวา ขุนไชยสงคราม นายค่ายลำเลียง นา ๔๐๐ ขุนเพ็ชรสงคราม นายค่ายท่าด่าน นา ๓๐๐ ขุนชะนะ นายด่าน นา ๓๐๐ หมื่นสรีสงคราม ปลัดด่าน นา ๒๐๐ สิริหลวง ขุน หมื่น ที่ภูรา หลวง ๑ ขุน ๓ หมื่น ๑ รวม ๕ คน หลวงอุภัยราชธานี ผู้พยาบาลเมืองตรัง ถือสักดินา ๑๖๐๐ ฝ่ายขวา ถือตรารูป หลวงปลัด ถือสักดินา ๑๒๐๐ ขุนยกรบัตร ถือสักดินา ๑๐๐๐ ขุนมหาดไทย " ๘๐๐ มหาดไทย ขุนไกร " ๓๐๐ มหาดไทย ขุนทิพ " ๓๐๐ มหาดไทย ขุนสุรินทร์ " ๔๐๐ กรมปืน ขุนนรงค์ " ๓๐ " ขุนเมืองนครบาล " ๖๐๐ นครบาล ขุนรองเมือง " ๔๐๐ " หมื่นบาล " ๓๐๐ " ขุนนา " ๖๐๐ กรมนา

๔๘ ขุนอักสร ถือสักดินา ๔๐๐ กรมนา ขุนรองคลัง " ๔๐๐ ขุนรองวัง " ๔๐๐ หมื่นเทพสุภา แพ่ง " ๖๐๐ ขุนสรรพากร " ๖๐๐ สรรพากร ขุนสุธากร " ๔๐๐ " ขุนไชยสงคราม รองปลัด ถือสักดินา ๖๐๐ ขุนพรหม รองยกรบัตร ถือสักดินา ๔๐๐ ขุนริทธิ ถือสักดินา ๔๐๐ กรมช่างเกนกำปั่น ขุนชะนะ " ๔๐๐ " " ขุนชำนาญ " ๔๐๐ " " เมืองอินทร์ " ๖๐๐ กองตระเวน เมืองปากน้ำ " ๖๐๐ " ขุนพล " ๒๐๐ ขุนหมื่นไช้ ขุนอินทรมนตรี " " " หมื่นสรี " " " หมื่นเพ็ชร " " " หมื่นริทธิ " " " หมื่นสารวัด " " " หมื่นอินทรรักสา " " " ขุนไชยสงคราม นายค่ายเป็ดหิงส์ ถือสักดินา ๓๐๐ หมื่นเดช ปลัดค่าย ถือสักดินา ๓๐๐

๔๙ ขุนเพ็ชร นายด่านเกาะเสื้อ ถือสักดินา ๓๐๐ ขุนเพ็ชรคิรี นายด่านท้ายสำเพา " " หมื่นชำนาญไพรี ปลัดด่าน " " ขุนสรีเดชะ นายด่านตะเหมก " " หมื่นเพ็ชรเดชะ ปลัดด่าน " " ขุนชะนะสงคราม นายด่านช่องไม้ไผ่ " " ขุนรามสรเดช นายด่านกะเบียด " " ขุนไกรเทพ ถือสักดินา ๓๐๐ ขุนพลธานี " " ขุนอินทรธานี " " หมื่นราชธานี " " หมื่นราชธานี " " หมื่นแก้วธานี " " สิริหลวง ขุน หมื่น ค่าย ด่าน นะเมืองตรัง กรมการ หลวง ๒ หมื่น ๗ เมือง ๒ ค่ายด่าน ๖ ตำบน ขุน ๙ หมื่น ๕ รวม ๔๖ คน สิริ หลวง ขุน หมื่น หัวเมืองขึ้นฝ่ายขวา ๒๐ ตำบน กรม การ หลวง ๘ เมือง ๔ ขุน ๔๖ หมื่น ๖๐ พัน ๔ รวม ๒๒๒ คน ค่ายด่าน ๖ ตำบน ขุน ๙ หมื่น ๕ รวม ๑๔ คน รวมทั้งสิ้น ๑๓๗ หลวงไชยมนตรี สรีมหาคลองพล ถือสักดินา ๑๒๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปโต มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๒ นวม ๓ ๗

๕๐ หมวก ๓ แหลน ๒ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ปืนกะสุนบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับ บันดาสักดิ์ ๖ กะบอก ปืนกะสุน ๒ นิ้วชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก ได้ผลพระราชทานนาตำบนพเตียน ๒๓๔ กะบิ้ง นาปรังตำบนหัวกะบือ ๑๘๕ กะบิ้ง ถ้าราสดรถางดินเปนไร่อ้อย ไร่ข้าว ไร่ฝ้าย และผู้ไดพยาบาลวานเอาราสดรลูกที่ช่วยตัดต้นไม้ค้นทวนและรางบืนจ่าย และเรียกเอาส่วย สาอากร และเรียกเอาหัวส่วยตามราสดร ได้เอาชื่อดีบุกสนองคันทวนและรางปืนเปนดีบุก ๗ ๒ และได้พิจารนาความต่ำแสน และเรียกส่วยมาผูกพระคลังเปนหลวง ขุนอินทรบุรี รองที่ไชยมนตรี ถือสักดินา ๖๐๐ มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ ทวน ๑ หมวก ๑ ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๒ กะบอก หอกเขน ๕ ขุนราชภักดี ปลัดไชยมนตรี ถือสักดินา ๔๐๐ หมื่นวิชิตบุรี สมุห์บัญชี ถือสักดินา ๒๐๐ ที่วัดพระเขียน ๑ วัดหัวนา ๑ วัดเขาแดง ๑ วัดปะกัด ๑ เปนที่เลนทุบาตไนที่ไชยมนตรี สิริขุน หมื่น ไนที่ไชยมนตรี หลวง ๑ ขุน ๒ หมื่น ๑ รวม ๔ ออกหลวงไทยบุรี สรีมหาสงคราม ถือสักดินา ๑๒๐๐ ฝ่าย ซ้าย ถือตรารูปโต มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทวน ๒ นวม ๓ แหลน ๒๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ปืนนกสับชเลยสักดิ์ ๖ กะบอก ปืนกะสุนนิ้วกึ่งชเลยสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๑๕ ทวน

๕๑ เท้า ๖ และได้รับผลพระราชทานไพร่เลวที่ไทยบุรี และได้พิจารนา ความต่ำแสน ซึ่งราสดรร้องฟ้องแก่กันบันจบราชการ ได้เรียก ส่วยอากรไนที่ ได้รับพระราชทานค่าคำนับรึชาพาสีส่วย ขุนราชบุรี รองที่ไทยมนตรี ถือสักดินา ๔๐๐ หมื่นเทพบุรี สมุห์บัญชี ถือสักดินา ๒๐๐ หมื่นบาลบุรี " " หมื่นสิทธิ สารวัด ถือสักดินา ๒๐๐ เมืองเพ็ชรชลธี เมืองท่าสูงขึ้นไทยบุรี ถือสักดินา ๒๐๐ ที่วัดโทลายสาบ ๑ วัดตะหมาบ ๑ วัดพนังครา ๑ เปนที่ เลนทุบาตหยู่ไนที่ไทยบุรี สิริหลวง ขุน หมื่น ไนที่ไทยบุรี หลวง ๑ ขุน ๑ หมื่น ๓ เมือง ๑ รวม ๖ คน เมืองภักดีสงคราม เมืองอลอง ถือสักดินา ๑๐๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปเลียงผา มีช้างพลาย ๑ จำลอง ๑ ทงทวน ๑ นวม ๓ หมวก ๓ แหลน ๒๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบัน ดาสักดิ์ ๑ กะบอก ปืนนกสับ ๔ กะบอก หอกเขน ๑๐ ทวนเท้า ๑๐ เกนหยู่รักสาอลอง ได้เรียกส่วยอากรไนที่ได้รับพระราชทานค่าคำนับ รึชาพาสีส่วย ขุนอินทรพิชัย ช่วยราชการที่อลอง ถือสักดินา ๔๐๐ ขุนเห็ดธานี รองที่อลอง ถือสักดินา ๔๐๐ ขุนพรหมบุรี สมุห์บัญชี ถือสักดินา ๒๐๐ หมื่นคชบุรี " "

๕๒ ที่วัดถ้ำตีมัน ๑ วัดเบิก ๑ วัดกลาง ๑ วัดถ้ำเทียนถวาย ๑ เปนที่เลนทุบาตหยู่ไนที่อลอง สิริขุน หมื่น ไนทีอลอง เมือง ๑ ขุน ๒ หมื่น ๒ รวม ๕ คน หลวงอินทรพิชัย นายที่ลำพูน ถือสักดินา ๘๐๐ ฝ่ายซ้าย ขุนเพ็ชรกำแหง ปลัด ถือสักดินา ๔๐๐ หมื่นเทพรักสา รอง " ๒๐๐ หมื่นพรหมอักสร สมุห์บัญชี ถือสักดินา ๒๐๐ หมื่นจิตรอักสร " " " หมื่นสุรบุรี เปนสารวัด " " หมื่นกล้า " " " สิริหลวง ขุน หมื่น ที่ลำพูน หลวง ๑ ขุน ๑ หมื่น ๕ รวม ๗ คน ออกหลวงแก้วรัตนราช นายที่เก้าระวาง ถือสักดินา ๘๐๐ ฝ่ายซ้าย ขุนวิชิตภักดี ปลัด ถือสักดินา ๔๐๐ ขุนยกรบัตร ปลัด " ๔๐๐ ขุนราชอาชญา ปลัด " ๓๐๐ ขุนทิพสาลี ปลัด " ๓๐๐ สิริหลวง ขุน หมื่น ที่เก้าระวาง หลวง ๑ ขุน ๔ รวม ๕ คน ออกหลวงพิบูลสมบัติ นายที่ร่อนพิบูล ถือสักดินา ๘๐๐ ฝ่ายซ้าย ได้รับพระราชทานค่าคำนับรึชาพาสีส่วยไนที ขุนแก้วบุรี รอง ถือสักดินา ๔๐๐

๕๓ ขุนกำแหงธานี นายที่ชมาย ถือสักดินา ๘๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปเสือ มีม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ ปืนนกสับบันดา สักดิ์ ๒ กะบอก หอกเขน ๕ ขุนปราบคชกรรม รองที่ชมาย ถือสักดินา ๓๐๐ หมื่นหานบุรี สมุหบุรี ถือสักดินา ๒๐๐ หมื่นภักดีโยธา " " " ที่วัดนาบอนเปนที่เลนทุบาต หยู่ไนที่ช้างซ้าย สิริ ขุน หมื่น ไนที่ชมาย ขุน ๒ หมื่น ๒ รวม ๔ คน เมืองพิชัยภักดีสรีคชไกร นายที่ช้างซ้าย ถือสักดินา ๘๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปช้าง มีช้างพลาย ๑ ช้างจำลอง ๑ ทงทวน ๒ นวม ๓ หมวก ๓ แหลน ๒๐ ปืนนกสับหลังช้าง ๑ กะบอก ปืนนกสับบันดาสักดิ์ ๖ กะบอก ม้า ๑ เครื่องม้า ๑ เสื้อ ๑ หมวก ๑ นวม ๑ ปืนกะสุนนิ้วกึ่งบันดาสักดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๕ ทวนเท้า ๖ หมื่นคชภักดี รองที่ช้างซ้าย ถือสักดินา ๔๐๐ หมื่นไชยรักสา สมุห์บัญชี ถือสักดินา ๓๐๐ ที่วัดโมคลาน ๑ เปนที่เลนทุบาตไนที่ช้างซ้าย สิริ หลวง ขุน หมื่น ที่ช้างซ้าย เมือง ๑ หมื่น ๒ รวม ๓ คน ขุนริทธิธานี นายที่ ๓ ตำบน ถือสักดินา ๖๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นชะนะบุรี รองที่ ๓ ตำบน ถือสักดินา ๓๐๐ หมื่นรัตนบุรี " " " " หมื่นอินทรธานี สมุห์บัญชี ถือสักดินา ๒๐๐ หมื่นสรีอักสร " "


๕๔ หมื่นไชยภักดี นายอำเพอ ถือสักดินา ๒๐๐ สิริขุน หมื่น ที่ร่อนสามตำบล ขุน ๒ หมื่น ๔ รวม ๖ คน หมื่นทิพคิรี นายที่ร่อนดินละมอตะมังแควะ ถือสักดินา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นราชบุรี รองที่ร่อนดินละมอตะมังแควะ ถือสักดินา ๓๐๐ ขุนไชยบุรี นายที่ร่อนกะหรอ ถือสักดินา ๔๐๐ หมื่นสักดิบุรี รองที่ร่อนกะหรอ " ๓๐๐ หมื่นจงบุรี สมุห์บัญชี " ๒๐๐ สิริ ขุน หมื่น ที่ร่อนกะหรอ ขุน ๑ หมื่น ๒ รวม ๓ คน ขุนไชยภักดี นายที่กำแพงกะแดะ ถือสักดินา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นธัมรักสาบุรี รองที่กำแพงกะแดะ ถือสักดินา ๓๐๐ หมื่นแสน สมุห์บัญชี ถือสักดินา ๒๐๐ หมื่นไกร่ " " " หมื่นราม " " " หมื่นหาน สารวัด " " หมื่นไชย อำเพอ " " สิริขุน หมื่น ที่กำแพงกะแดะ ขุน ๑ หมื่น ๖ รวม ๗ คน ขุนพิชัยธานีสรีสงคราม นายที่กลาย นา ๖๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นราชบุรี รองที่กลาย นา ๓๐๐ หมื่นรักสาบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นอินทบุรี " " พันพูน นายที่กลาย "

๕๕ ที่วัดเหยงคน์เปนที่เลนทุบาตไนที่กลาย สิริขุน หมื่น ที่กลาย ขุน ๑ หมื่น ๓ พัน ๑ รวม ๕ คน หมื่นชะนะตานี นายที่ไชยคราม นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นสักดิ สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นแก้ว " " ที่วัดจำปา ๑ วัดพระไหย่ ๑ เปนที่เลนทุบาติที่ไชยคราม สิริ หมื่น ไนที่ไชยครามรวม ๓ คน ขุนไชยภักดี นายที่ร่อนเขาไหย่ นา ๔๐๐ หมื่นวิจิตรบุรี รองที่ร่อนเขาไหย่ นา ๓๐๐ หมื่นริทธิบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นสิทธิบุรี " " สิริ ขุน หมื่น ที่ร่อนเขาไหย่ ขุน ๑ หมื่น ๓ รวม ๔ คน ขุนชะนะคิรี นายที่สิชล นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นไชย รองที่สิชล นา ๓๐๐ หมื่นสมุทคิรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ สิริ ขุน หมื่น ที่สิชล ขุน ๑ หมื่น ๒ รวม ๓ คน ขุนทิพธานี นายสมุหจะมัน นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นนนทบุรี รองที่สมุหจะมัน นา ๓๐๐ หมื่นเดช สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นวิเสสบุรี " " สิริ ขุน หมื่น ที่สมุหจะมัน ขุน ๑ หมื่น ๓ รวม ๔ คน ขุนอินทรตานี นายทีอิปัน นา ๖๐๐ ฝ่ายซ้าย

๕๖ ขุนไชยบุรี รองที่อิปัน นา ๔๐๐ หมื่นอักสร สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นพร " " หมื่นจงรัก สารวัด นา ๒๐๐ หมื่นสารวัด " " พันน่วม นายอำเพออิปัน นา ๒๐๐ พันเพ็ชร " " สิริ ขุน หมื่น ที่อิปัน ขุน ๒ หมื่น ๔ พัน ๒ รวม ๘ คน ขุนอินทรธานี นายที่กำโนนขึ้นหน้าวัง นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นจรกำโนน รองที่กำโนน ขึ้นหน้าวัง นา ๓๐๐ หมื่นจากำโนน สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นจิตรกำโนน " " สิริ ขุน หมื่น ที่กำโนน ขุน ๑ หมื่น ๓ รวม ๔ คน ขุนโจมธานี นายที่นาบอน นา ๒๐๐ ฝ่ายซ้าย ขุนสักดิ รองนายที่นาบอน นา ๔๐๐ ที่วัดนาบอน เปนที่เลนทุบาตไนที่ชมาย ขุนทันท์ธานี นายที่วัดโมคลาน นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นชนบุรี รองที่วัดโมคลาน นา ๓๐๐ ที่วัดโมคลานเปนที่เลนทุบาตไนที่ช้างซ้าย สิริ ขุน หมื่น ที่วัดโมคลาน ขุน ๑ หมื่น ๑ รวม ๒ คน ขุนวิชัยธานี นายที่อุหวากจงสะ นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นภิรมย์บุรี รองที่อุหวากจงสะ นา ๓๐๐

๕๗ หมื่นยสบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นสิทธิบุรี " " สิริ ขุน หมื่น ทีอุหวากจงสะ ขุน ๑ หมื่น ๓ รวม ๔ คน ขุนโคหา นายที่โคหาลำยูงบางมืด นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นเทพบุรี รองที่โคหาลำยูงบางมืด นา ๓๐๐ สิริ ขุน หมื่นที่โคหาลำยูงบางมืด ขุน ๑ หมื่น ๑ รวม ๒ คน หมื่นสวัสดิธานี นายที่พุมดวงบางเดือ นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นวิเสสบุรี รองที่พุมดวงบางเดือ นา ๓๐๐ หมื่นขจรบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ ที่วัดถ้ำสิงขรนารายน์เปนที่เลนทุบาต ไนที่พุมดวงบางเดือ สิริ ขุน หมื่น ไนที่พุมดวงบางเดือ รวม ๓ คน ขุนพินิตธานี นายที่ร่อนลิจังไชยสรี นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นพิจิตรบุรี รองที่ร่อนลิจังไชยสรี นา ๓๐๐ หมื่นพรบุรี รองที่ร่อนลิจังไชยเสรี นา ๓๐๐ หมื่นพล สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ สิริ ขุน หมื่น ที่ร่อนลิจังไชยสรี ขุน ๑ หมื่น ๓ รวม ๔ คน ขุนไชยภักดี นายที่พนังตุง นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้ายขึ้นท้ายวัง ขุนพัธนธานี รองที่พนังตุง นา ๓๐๐ หมื่นบาลธานี นายที่พังไกรท้ายวัง นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นไกรบุรี รองที่พังไกรท้ายวัง นา ๒๐๐ หมื่นโจม สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ สิริ ขุน หมื่น ที่พังไกร ร่วมหมื่น ๓ คน ๘ ๕๘ หมื่นภักดีนิจ นายที่เคร็ง เปนที่พกหมากขึ้นท้ายวัง นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นวังบุรี รองที่เคร็ง เปนที่พกหมากขึ้นท้ายวัง นา ๓๐๐ บ้านเพงเซา ๑ บ้านน้ำแคบ ๑ บ้านป่าคราม ๑ บ้านม่วง ๑ บ้านทอน ๑ ป่าห้าม ๑ พันแขวงขึ้นกรมลูกเทอฝ่ายซ้าย ถือสักดินาคนละ ๒๐๐ ออกหลวงเพ็ชรธานี นายที่ควรตะพังตะมิทชะ นา ๘๐๐ ฝ่ายซ้าย ขุนรัตนบุรี รองที่ควรตะพังวังตะมิทชะ นา ๓๐๐ หมื่นรักสาบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นรนบุรี " " สิริ ขุน หมื่น ที่ควรตะพังวังตะมิทชะ หลวง ๑ ขุน ๑ หมื่น ๒ รวม ๔ คน หลวงวิสุทธิสงคราม ผู้รักสาเมืองท่าทอง นา ๑๖๐๐ ฝ่าย ซ้าย ถือตรารูปไก่ยืนบนแท่น ได้รับพระราชทานค่ารึชาพาสีส่วย หลวงพิชัยราชรักสา ปลัด นา ๑๒๐๐ กรมปลัด ขุนไชยรักสา รองปลัด นา ๔๐๐ " ขุนไชยภักดี ยกรบัตรเมือง นา ๑๐๐๐ ขุนไชยรักสา มหาดไทย นา ๘๐๐ มหาดไทย ขุนสรีอาญา รองมหาดไทย นา ๔๐๐ ขุนเทพอาญา มหาดไทย เวนสาลา นา ๖๐๐ ขุนไชยเสนา สัสดี นา ๖๐๐

๕๙ ขุนไชยจ่าเมือง นครบาล นา ๖๐๐ นครบาล ขุนราชเมืองขวาง รองนครบาล นา ๔๐๐ ขุนนา ถือสักดินา ๖๐๐ ขุนสรีสุภราช รอง ถือสักดินา นา ๔๐๐ กรมนา ขุนทิพมนเทียร เจ้ากรม นา ๖๐๐ กรมวัง หมื่นพรหมมนเทียน รองเจ้ากรม นา ๔๐๐ " ขุนคลัง ถือสักดินา ๖๐๐ กรมคลัง ขุนสรีสมบัติ รองคลัง นา ๔๐๐ กรมคลัง ขุนสรรพากร นา ๖๐๐ ขุนเทพรักสาสุภาแพ่ง นา ๖๐๐ หมื่นสรีภักดี นายแขวงตะบาน นา ๓๐๐ พันสิทธิ์ รองแขวงตะบาน นา ๒๐๐ ขุนอินทรเดชะ นายแขวงที่ยวนตะเหอะ นา ๓๐๐ หมื่นทิพ รองนายแขวงที่ยวนตะเหอะ นา ๒๐๐ ขุนไกรตานี นายที่แขวงพลายวาส นา ๓๐๐ หมื่นราชภักดี รองที่แขวงพลายวาส นา ๓๐๐ หมื่นกลาง นายแขวงที่ท่าชี นา ๒๐๐ หมื่นอินท์ รองทีท่าซี นา ๒๐๐ ขุนทิพภักดี นายแขวงท่าทองอุแท นา ๓๐๐ หมื่นสรี รองนายแขวงท่าทองอุแท นา ๒๐๐ ขุนเพ็ชร นายด่านปากน้ำท่าทอง นา ๓๐๐ หมื่นสรี รองด่านปากน้ำท่าทอง นา ๒๐๐

๖๐ ขุนวิชิตสงคราม นายด่านท่าข้าม นา ๓๐๐ หมื่นริทธิ รองด่านท่าข้าม นา ๒๐๐ สิริกรมการพันแขวงค่ายด่านนะเมืองท่าทอง กรมการ หลวง ๒ ขุน ๑๕ หมื่น ๓ แขวงขึ้นขุน ๓ หมื่น ๕ ค่ายด่าน ๒ ตำบน ขุน ๒ หมื่น ๒ รวมทั้งสิ้น ๓๒ คน หลวงเพ็ชรคิรีสรีสมุทรสงคราม หลวงสมุย ถือสักดินา ๑๒๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปนาคนอนบนแท่น ขึ้นกรมคลัง ได้เรียกส่วยอากรไนที่ได้รับพระราชทานค่าคำนับรึชาพาสีส่วย ขุนทิพคิรี ปลัด นา ๘๐๐ ถือตรารูปพูเขา หมื่นเทพคิรี รองปลัด นา ๖๐๐ ขุนพรหมคิรี ยกรบัตร นา ๖๐๐ ขุนทิพสุภา แพ่ง นา ๖๐๐ หมื่นสุภา รองแพ่ง นา ๓๐๐ ขุนจ่าเมืองมหาดไทย นา ๖๐๐ หมื่นจ่า รองมหาดไทย นา ๓๐๐ ขุนสุภามาตรา นครบาล นา ๖๐๐ ขุนสุภมาตรา รองนครบาล นา ๓๐๐ ขุนไชยโยธา สัสดี นา ๖๐๐ หมื่นไชยรักสา รองสัสดี นา ๓๐๐ หมื่นพรหม นายด่านปากน้ำ นา ๓๐๐ ด่านขึ้นสมุย หมื่นเพ็ชร นานด่านน้ำจืด " " หมื่นอินท์ นายด่านท้องตรุด " "

๖๑ สิริ ขุน หมื่น ค่ายด่านที่สมุย กรมการ หลวง ๑ ขุน ๙ หมื่น ๒ ค่ายด่าน ๓ ตำบน หมึ่น ๓ รวม ๑๕ คน สิริ หลวง ขุน หมื่น หัวเมืองฝ่ายซ้าย ๓๑ ตำบน กรม การ หลวง ๙ เมือง ๓ ขุน ๕๘ หมื่น ๗๖ พัน ๓ ค่ายด่าน ๕ ตำบน ขุน ๒ หมื่น ๕ รวมทั้งสิ้น ๑๔๙ คน ขุนพินิจ นายด่านปากน้ำปกาไส นา ๔๐๐ ฝ่ายซ้าย ขุนทิพ ปลัดด่าน นา ๓๐๐ หมื่นวิชิต นา ๒๐๐ กองลาด หมื่นเพ็ชร " " หมื่นชะนะ " " หมื่นอาด " " ขุนอินทรเดชะ นายด่านบ่อเพรง นา ๔๐๐ ฝ่ายขวา หมื่นสรีสงคราม ปลัดด่านบ่อเพรง นา ๓๐๐ หมื่นชะนะ นา ๓๐๐ กองลาด หมื่นปราบ " " หมื่นหาน " " หมื่นเพ็ชร สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ หมื่นริทธิ์ " " หมื่นชะนะ นายด่านท่าหมาก นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นเด็ม ปลัดด่านท่าหมาก นา ๒๐๐ พันชุม สารวัด "

๖๒ หมื่นสรีเดชะ นายด่านกลาย นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นพล ปลัดด่านกลาย นา ๒๐๐ ขุนแพทย์เดชะ นายด่านท่าสูง นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นเพ็ชร ปลัดด่านท่าสูง นา ๒๐๐ ขุนไชยสาคร นายด่านมะยิง นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นไชยเดชะ ปลัดด่านมะยิง นา ๒๐๐ ขุนริทธิ์ นายด่านปากพูน นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นพรหม ปลัดด่านปากพูน นา ๒๐๐ ขุนเพ็ชร นายด่านปากนคร นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นเทพ ปลัดด่านปากนคร นา ๒๐๐ ขุนพรหม นายด่านปากน้ำพระยา นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นสรีสงคราม ปลัดด่านปากน้ำพระยา นา ๒๐๐ ขุนสรีสาคร นายด่านบางจาก นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นชะนะ ปลัดด่านบางจาก นา ๒๐๐ ขุนเพ็ชร นายด่านพนัง นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นกระเวน ปลัดด่านพนัง นา ๒๐๐ ขุนจบวาริน นายด่านระโงะ นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นจบ ปลัดด่านระโงะ นา ๒๐๐ ขุนสารวัด นายด่านกะแดะ นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นไกร ปลัดด่านกะแดะ นา ๒๐๐ ขุนเดช นายด่านถ้ำพระ นา ๓๐๐ ฝ่ายซ้าย หมื่นเฟื่อง ปลัดด่านถ้ำพระ นา ๒๐๐


๖๓ สิริด่านขึ้นขวา ๒ ตำบน ขุน ๓ หมื่น ๑๐ ซ้าย ๑๒ ตำบน ขุน ๑๐ หมื่น ๑๓ พัน ๒ รวม ๓๘ สิริผสม หลวง ขุน หมื่น หัวเมือง ค่าย ด่าน ฝ่ายซ้าย หัวเมือง หลวง ๑๗ เมือง ๗ ขุน ๑๐๐ หมื่น ๑๓๙ พัน ๕ ค่าย ด่าน ๒๕ ตำบน ขุน ๑๒๒ หมื่น ๓๒ พัน ๒ รวมทั้งสิ้น ๓๒๒ คน










พระประวัติสังเขป พระเจ้าขัตติยราชนิคม สมมติมไหสวรรย์ พระเจ้านครสรีธัมราช

เมื่อก่อนกรุงสรีอยุธยาเสียแก่พะม่า ไนต้น พ.ส. ๒๓๑๐ นั้น พระเจ้านครสรีธัมราชยังดำรงพระยสเปนหลวงนายสิทธิ์ นายเวนมหาดเล็ก ต่อมาหลวงนายสิทธิ์ได้เปนปลัดเมืองนครสรีธัมราช ซึ่งไน ครั้งนั้น นครสรีธัมราชหยู่ไนถานะเปนเมืองชั้นเอก ไนภาคไต้ของ ประเทสไทย ครั้นเมื่อกองทัพพะม่าตีรุกมาไกล้กรุงสรีอยุธยา ไนปลาย รัชกาลสมเด็ดพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ มีพระราชโองการไห้พระยานครสรีธัมราชเข้ามาทำการต่อสู้พะม่า หยู่ไนบริเวนหัวเมืองชั้นไน ส่วนเมืองนครสรีธัมราชนั้น โปรดไห้ปลัดเมืองรักสาราชการหยู่ พระยานครสรีธัมราชจะสู้รบพะม่าจนตัวตายหรือหย่างไรไม่แน่ แต่ไนคราวกรุงเก่าแตก เมื่อ พ.ส. ๒๓๑๐ ปรากตว่า พระยานครสรีธัมราชหาตัวไม่แล้ว กรมการและชาวนครสรีธัมราช พร้อมไจกันยกปลัด เมืองขึ้นเปนกสัตรครองนครสรีธัมราช ตั้งเปนอิสระหยู่แคว้นหนึ่ง มีอำนาจจักรตั้งแต่ชุมพรตลอดไปถึงมะลายูบางเมือง (ปรากตตามคำ


๖๕ โคลงที่นายสวนมหาดเล็กแต่งเมื่อปีเถาะ พ.ส. ๒๓๑๔ เรียกนามกรุงของนครสรีธัมราชว่า ปาตลีบุตร) ไนระหว่างนั้น มะลายูบางเมืองก่อการกำเริบขึ้น เจ้านครทำการปราบปรามจนสงบ และสามารถรักสาอำนาดของไทยภาคไต้ไว้ได้ ต่อมา พ.ส. ๒๓๑๒ สมเด็ดพระเจ้าตากสินสเด็ดกองทัพเรือออกไปรบนครสรีธัมราช เพื่อรวมอานาจักรไทย เจ้านครต้าน ทานไม่ไหว อพยพหนีไปหยู่ปัตตานี กองทัพกรุงธนบุรีตามจับ ได้ทั้งเจ้านครและพักพวกกลับมาพร้อม ลูกขุนปรึกสาไห้สำเหร็ดโทสเสีย แต่สมเด็ดพระเจ้าตากสินซงพระกรุนาเห็นว่า คนะนครสรีธัมราชไม่มีความผิดถานกบด และเมื่อถูกจับมาแล้ว ทุกคนก็ยอมสวามิภักดิ์ไม่มีอาการกะด้างกะเดื่อง จึงพระราชทานอภัยโทส โปรดไห้เข้า มารับราชการไนกรุง ตามสมควรแก่ความสามาถ สำหรับเจ้านคร ยังคงเรียกเปนเจ้านครหยู่ตามเดิม (ดูประชุมพงสาวดารภาคที่ ๖๖ หน้า ๓๙ ออกพระนามว่าเจ้านคร และหยู่หน้านามเจ้าราชนิกูล) ส่วนที่นครสรีธัมราช โปรดไห้พระเจ้านราสุริวงส์เปนผู้ครองต่อไป เพราะนครเคยตั้งเปนรัถมาแล้วประการหนึ่ง อีกประการหนึ่ง ถ้าจะ ยกนครเปนขันธสีมา ไห้ถานะสูงกว่าเมืองเอก เพื่อสดวกแก่การ เพิ่มพูนกำลังทางภาคไต้ ย่อมเหมาะสมกับนโยบายเวลานั้น สมเด็ดพระเจ้าตากสินจึงโปรดไห้ยกสรีธัมราชเปนประเทสราช ปกครองปัตตานี ไซบุรี (ต่อมาตรังกานูด้วย) ตลอดถึงหัวเมืองชายทเล ๙


๖๖ หน้านอกหมด ไห้เร่งขุดชำระคลองท่าข้าม เปนทางเรือไปออกทเล หน้านอกโดยเร็ว ฝ่ายเจ้านคร เข้ามารับราชการสนองพระเดชพระคุนหยู่นะกรุงธนบุรี ด้วยความอุสาหะสัจซื่อมั่นคงตลอดมา เจ้านครมีธิดา ตามที่สืบได้ความ คือ (๑) เจ้าหยิงสั้น เปนภริยาพระยาวิเสสสุนทร (นาค นกเล็ก) บรรพบุรุสแห่งสกุลบุรนะสิริ , สุจริตกุล, ภูมิรัตน์ (ดู ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๑๕ ฉะบับพิมพ์ครั้งที่ ๒ พ.ส. ๒๔๘๑ แผนที่ลำดับสกุลตอนท้ายเล่ม) ได้ความว่า เจ้าหยิงสั้นเปนภริยาพระยา วิเสสสุนทร (นาค นกเล็ก) ตั้งแต่ก่อนกรุงเก่าแตก ครั้งนั้นพระ บิดาเจ้าหยิงสั้นยังดำรงตำแหน่งปลัดเมืองนครสรีธัมราช (๒) เจ้าหยิงนวน เปนชายาพระมหาอุปราช (พัธน์) แห่งนครสรีธัมราช มีธิดา ๒ องค์ คือเจ้าหยิงนุ้ยไหย่ (พระชนนีสมเด็ด พระบวรราชเจ้ามหาสักดิพล สพ กรมพระราชวังบวรไนรัชกาลที่ ๓ สายสกุลที่สืบจากกรมพระราชวังบวรองค์นี้ คือ อิสระสักดิ์ นะอยุธยา, กำพู นะอยุธยา, เกสะรา นะอยุธยา, อนุชะสักดิ์ นะอยุธยา, นันทิสักดิ์ นะอยุธยา) เจ้าหยิงนุ้ยเล็ก (พระมารดาพระองค์เจ้าหยิงปัทมราช) (๓) เจ้าหยิงฉิม ถวายทำราชการไนสมเด็ดพระเจ้าตากสิน ได้ดำรงตำแหน่งกรมบริจาภักดีสรีสุดารักส์ มีพระราชโอรส ๓ องค์ คือ ๑. สมเด็ดเจ้าฟ้าชายทัสพงส์ ต้นสกุลพงส์สิน ๒. สมเด็ด


๖๗ เจ้าฟ้าชายทัสไพ (พระเจ้าตาของกรมหมื่นมเหสวรสิววิลาส ต้น สกุลนพวงส์ นะอยุธยา และ กรมหมื่นวิสนุนาถนิภาธร ต้นสกุล สุประดิถ นะอยุธยา) ๓. สมเด็ดเจ้าฟ้าชายนเรนทรราชกุมาร บรรพ บุรุสแห่งสกุลธัมสโรช ,รุ่งไพโรจน์ , พัธนะสิริ (๔) เจ้าหยิงปราง (หรือเจ้าหยิงเล็ก) ถวายทำราชการไน สมเด็ดพระเจ้าตากสิน ซงครรภ ๒ เดือน ขนะนั้นพระมหาอุปราช (พัธน์) แห่งนครสรีธัมราช ไปราชการทัพชะนะสึกมีความชอบมาก บังเอินเจ้าหยิงนวน ชายาของท่านสิ้นชีพลง สมเด็ดพระเจ้าตากสิน จึงพระราชเจ้าหยิงปราง ยกไห้เปนชายาพระมหาอุปราช (พัธน์) แต่พระมหาอุปราช (พัธน์) รับพระราชทานไปหยู่เปนแม่วัง มิได้ ถือเปนชายา เพราะมีความเคารพไนองค์พระประมุขมาก (ดูพระ ราชวิจารน์จดหมายความซงจำกรมหลวงนรินทรเทวี ไนรัชกาลที่ ๕ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒ หน้า ๗๙ เปนต้น) และครรภที่เจ้าหยิงปรางมีไปนั้น ประสูติเปนเจ้าชาย ดำรงพระยสเปนเจ้าราชบุตรพระมหาอุปราช (พัธน์) ปรากตพระนามว่า เจ้าน้อย (ซึ่งต่อมาไนสมัยกรุงรัตน โกสินท์ ได้เปนเจ้าพระยานคร ครองนครสรีธัมราชตลอดไซบุรี, ตรังกานู, เปห์ระ และเปนผู้สำเหร็ดราชการทัพสีกทางภาคไต้ ฝ่ายตะวันตก สิ้นชนมายุไนรัชกาลที่ ๓) (๕) เจ้าหยิงยวน หรือจวน พระราชทานแก่เจ้าพระยานคร ราชสีมา ไนทำนองคล้ายกับเมื่อพระราชทานแก่พระมหาอุปราช (พัธน์) คือ เจ้าพระยานครราชสีมา ( ซึ่งเรียกกันไนชั้นหลังว่า เจ้าคุนตามืด) ไปราชการสงครามมีความชอบอันยิ่งไหย่ เวลานั้น ประจวบด้วย

๖๘ เจ้าหยิงยวนซงครรภแล้ว แต่ยังเพียงเริ่มต้น สมเด็ดพระเจ้าตากสิน ซงพระกรุนาพระราชทานเจ้าหยิงยวนแก่เจ้าพระยานครราชสีมานั้น แต่ก็ รับพระราชทานไปเปนแม่เมือง มิได้ถือเปนภริยา ครรภที่ประสูติ ออกมาเปนเจ้าชาย ปรากตพระนามว่า ทองอิน (ซึ่งต่อมาไนสมัย กรุงรัตนโกสินท์ ได้เปนเจ้าพระยานครราชสีมา สิ้นชนมายุไนรัชกาลที่๓ เปนต้นสกุลอินทรกำแหง , อินทโสลส , มหานรงค์) ถึง พ.ส. ๒๓๑๙ พระเจ้านราสุริวงส์ทิวงคต สมเด็ดพระเจ้าตากสินจึงซงพระกรุนาเฉลิมพระยสเจ้านคร ขึ้นเปนพระเจ้าขัตติยราชนิคม สมมตมไหสวรรย พระเจ้านครสรีธัมราช นะวันอาทิจเดือน ๑๑ ขึ้น ๓ ค่ำสกนั้น (สำเนากดไนการเฉลิมพระยส มีพิมพ์หยู่ไนประชุม พงสาวดารภาคที่ ๒) โปรดไห้พระเจ้าขัตติยราชนิคม ครองนคร สรีธัมราช ดำรงพระอิสริยะยสเสมอพระเจ้าประเทสราชเช่นเจ้ากรุงกัมพูชาต่อไป ได้พบร่างพระราชปรารภไนสมเด็ดพระเจ้าตากสิน เกี่ยวกับ การเฉลิมพระยสพระเจ้านคร มีถ้อยคำต่างจากที่พิมพ์ไว้ในประชุม พงสาวดารภาคที่ ๒ บางคำ เห็นสมควรนำมาลงไว้ไห้เต็มตามร่างนั้น ดังต่อไปนี้ "ด้วยซงพระกรุนาตรัดเหนือเหล้าเหนือกะหม่อมสั่งว่า ถ้านครสรีอยุธยาหาเสียแก่ข้าสึกไม่ ฝ่ายเมืองนครสรีธัมราชอุบัติ จะ เลี้ยงมิได้ เมื่อพิจารนาดูพระนครสรีอยุธยาเสียแก่พะม่าข้าสึกแล้ว ฝ่ายกรมการพลเมืองเมืองนครหาที่พึ่งไม่ ยกปลัดเมืองขึ้นผ่านแผ่นดินเปนเจ้าพิภพ ก็ได้พึ่งพาอาสัย สับประยุธชิงชัยชะนะแขกข้าสึก ถ้า หาไม่ ขันธเสมาก็จะสำสามเปนไป ความชอบมีหยู่กับแผ่นดิน

๖๙ ฝ่ายสักดิกริสดานุภาพคงขัตติยราชผู้หนึ่ง บัดนี้ธิดาก็ได้ราชโอรส ฝ่ายพระยานครก็ได้ไปตามสเด็ดพระราชดำเนินช่วยทำการยุธชิงชัยเขมนพะม่าข้าสึก ครั้นจะเอาไว้ไห้บังคับพลช่วยราชการแผ่นดิน พระนคร สรีอยุธยาเปนฝาเปนตัวหยู่เส็ดสิ้น ประการหนึ่งก็มีทาสกัมกรแต่ยี่สิบสามสิบ หาต้องการที่หยู่ไม่ ฝ่ายเจ้านราสุริวงส์สู่สวรรคาลัย ควน ให้ไปบำรุงโยธาทหาน ทำการยุธสับประยุธชิงชัยล้างพะม่าข้าสึกประการหนึ่งควนไห้สืบสาวซ่องสุมสิบสองกำนัน บำรุงฝ่ายหน้าฝ่าย ไนไห้สัพด้วยอภิรุมราชยานราชาโภคจงเปนเกียรติยส ซงพระนาม เปนพระยาประเทสราช รับราชการผ่านแผ่นดินเมืองนครสรีธัมราชเหมือนหย่างกรุงกัมพูชาธิบดี " ถึง พ.ส. ๒๓๒๕ เปนปีที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินท์ โปรดให้ ลดถานะเสนาบดีจตุสดมภ์นครสรีธัมราช ลงเปนเพียงกรมการเมือง เอก แยกเมืองสงขลา ,ปัตตานี, ไซบุรี, ตรังกานู ขึ้นตรงต่อกรุงเทพ ไห้นครสรีธัมราชลดจากประเทศราชลงมาเปนชั้นหัวเมืองเอก (ข้อความพิสดารหยู่ไนสารตราตั้งเจ้าพัธน์ เปนเจ้าพระยานคร พิมพ์หยู่ ไนประชุมพงสาวดารภาคที่ ๒ ) ต่อมาปีมะโรง พ.ส. ๒๓๒๗ เปนปีที่ ๓ ไนรัชกาลที่ ๑ พระ เจ้านครถูกถอดพระยส ปลดจากราชตำแหน่ง ไห้มาประทับหยู่ นะกรุงเทพ จนตลอดพระชนมายุ รวมสกุลต่าง ๆ ที่สืบเชื้อสายจากพระธิดาพระเจ้านคร คือ ๑. บุรนะสิริ ๒. สุจรติกุล ๓. ภูมิรัตน์ ๔. อิสระสักดิ์

๗๐ นะอยุธยา, ๕. กำภู นะอยุธยา ๖, เกสะรา นะอยุธยา ๗. อนุชะสักดิ์ นะอยุธยา ๘.นันทิสักดิ์ นะอยุธยา ๙. พงส์สิน ๑๐. นพวงส์ นะอยุธยา ๑๑. สุประดิถ นะอยุธยา ๑๒. ธัมสโรช ๑๓. รุ่ง ไพโรจน์ ๑๔. พันธะสิริ ๑๕. นะนคร ๑๖. โกมารกุล นะนคร ๑๗. จาตุรงคกุล ๑๘. สรีธวัช นะอยุธยา ๑๙. วัธนวงส์ นะอยุธยา











หมายรับสั่งไนการเฉลิมพระยส พระเจ้าขัตติยราชนิคม สมมติมไหสวรรย พระเจ้านครสรีธัมราช

วันเสาร์เดือน ๑๑ ขึ้น ๒ ค่ำ จุลสักราช ๑๑๓๘ ปีวอกอัถสก (ตรงกับ พ.ส. ๒๓๑๙) เจ้าพระยาสรีธัมมาธิราชรับสั่ง ไห้ อาลักสน์จารึกพระนามเจ้านคร ลงแผ่นพระสุพรรนบัตร ตามซงพระ กรุนาแต่ง (ว่า) "ซงพระมหากรุนาโปรดเกล้าโปรดกะหม่อม ไห้พระยานครคืนเมืองเปนเจ้าขันธสีมา นามขัตติยราชนิคมสมมติ มไหสวรรย เจ้านครสรีธัมราช เสกไปนะมันอาทิจเดือน ๑๑ ขึ้น ๓ ค่ำ ปีวอกอัถสก เพลา ๕ โมง ๗ บาท " จตุสดมภ์มานั่งหอ จำเรินพระปริตร พระยายมราช หลวงรักส์ กรมวัง ขุนทิพ กรม นา หมื่นพิพัธโกสา กรมท่า นายสักดิ์มหาดเล็ก หลวงทิพสมบัติ ชาวที่ ขุนมหาสิทธิโวหาร นั่งพร้อมกัน นายทองคำอาลักสน์ จารึกพระสุพรรณบัตรเปนอักสร ๓ บันทัด แผ่นทองยาว ๑๔ นิ้วกึ่ง หนัก ๖ สลึง กล่องทองสูง ๕ นิ้วกึ่ง ไหย่รอบ ๖ นิ้ว หนัก ๒ บาท ๓ สลึงเฟื้อง กล่องเงินสูง ๖ นิ้วกึ่ง ไหย่รอบ ๗ นิ้ว หนัก ๖ บาทสลึง ช่างพระคลังมหาสมบัติได้ทำส่งไห้อาลักสน์แล้วไส่กล่องงา สูง ๑๕ นิ้ว ไหย่รอบ ๑๓ นิ้ว ไส่ถุงแพรม่วงก้านแย่งผุดทองแบน



๗๒ ขลิบแพรแดง มีพานรอง ๒ ชั้นมุขทึบ หุ้มถุงแพรแดงลายทองผุด ไหมระไบเขียว พระคลังวิเสสได้ทำส่งไห้อาลักสน์ แล้วปิดตรากรม อาลักสน์เปนรูปเทวดาถือจักรถือพระขรรค ประจำปากถุงทั้ง ๒ ชั้น กรมพระแสงไนเอาเครื่องต้นมาพระราชทาน พระมาลาหย่างฝรั่ง มี พระเกี้ยว พระยี่ก่า มีขนนกการเวก ยี่ก่าหนัก ๒ บาท เกี้ยวหนัก ๓ บาท ๓ สลึง ยอดหนัก ๗ สลึงเฟื้อง ซงประพาสกำมะหยี่พื้นเหลือง ดุมทอง ๑ หนัก ๒ ตำลึง ๒ สลึง ๒ ไพ (รวมทอง) ๔ ตำลึง ๒ สลึง ๒ ไพ พระสนับเพลาเชิงงอนพื้นเหลือง ๑ ฉลองพระองค์เข้มขาบ หย่างน้อยก้านแย่งพื้นแดง ๑ คลุมประทมลายพื้นแดงเทพนมซับแพร ๑ ฉลองพระองค์ยี่ปุ่น แพรผุดทองพื้นแดง ๑ พระภูสาลาย ๖ คืบ ๒ ผืน พื้นขาว ๑ (รวม) ๒ (ผืน) พระแสงกะบี่รองซงหนักทององค์ ๑ ตำลึง ๓ บาท ๓ สลึง ๑ พระแสงดาบยี่ปุ่นด้ามกัลปังหาองค์ ๑ พระแสง หอกปลายทองคู่ ๑ พระแสงปืนยาวรองซงองค์ ๑ พระแสงปืนสั้น ท้ายหอยโข่งองค์ ๑ พานพระสรีจำหลักกลีบบัวองค์ ๑ พระเต้า ทองจำหลักหนัก ๑ พานทองรองพระเต้าจำหลักหนัก ๑ พระ สุพรรนภาชน์เงินของหวานหนัก ๑ พระสุพรรนภาชน์เงินของคาว หนัก ๑ พระสุพรรนราชเงินหย่างเทสหนัก ๑ คิดค่าตั้ง ค่าตรา ค่าทำเนียม ซึ่งเจ้านครจะได้ออกไปผ่าน เมืองนครครั้งนี้ และเจ้าพนักงานทั้งปวงจะได้รับพระราชทานทวีขึ้น เท่าตัว กับเปนเจ้าพระยานคร เปนเงิน ๔๑ ชั่ง ๓ บาท ในนี้- ค่ารับสั่ง ๔ ต่อ ๆ ละ ๖ ตำลึง เปนเงิน ๑ ชั่ง ๔ ตำลึง ค่าทูลฉลอง ๑ ตำลึง ค่าตั้ง ๒๐ ชั่ง ค่าตรา ๑๐ ชั่ง รวม ๓๐

๗๓ ชั่ง กรมพระแสงไนซ้าย ได้ค่ารักสาตราพระราชโองการ ตรา พระครุทพาห แล้วได้เชินออกปิดพระราชโองการจำลองพระคุรทพาห ๓ ชั่ง กรมอาลักสน์ได้แต่งพระราชโองการจารึกพระสุพรรนบัตร ๓ ชั่ง ไบสรีซ้ายขวา เทียนเงินเทียนทอง สีสะสุกร ๑ ผ้า ขาวรองพระราชโองการผืน ๑ ผ้าขาวนุ่งห่มจารึกพระราชโองการ ๒ ผืน สนมได้เชินตราพระราชโองการ พระครุทพาหไปส่งถึงเรือ พระที่นั่งได้ ๑ ชั่ง ค่ากดสำหรับผู้ผ่านเมือง กรมท่าได้แต่ง ได้ ๓ ตำลึง ค่าตรานำหัวเมืองรายทาง ปลูกหอรับพระราชโองการ และทำกิจการสำหรับตำแหน่งทั้งปวง ๗ ตำลึง ๑ บาท คนหามพระมนดบพระราชโองการ ๑๐ คน ถือเครื่องสูงแห่พระราชโองการ ๑๐ คน ๆ ละ ๒ บาท ถือสับปะทน ๔ คน ๆ ละ ๒ บาท กลองชะนะ ๓ คู่ คนปี่คนหนึ่ง (รวม) ๗ คน ๆ ละ ๒ บาท แตรงอนคู่หนึ่ง ๒ คน ๆ ละ ๒ บาท ขุนเพ็ชวกัม กรมช่างเขียน ได้เขียนเรือพระนั่ง สำหรับซงพระราชโองการ ไบสรีซ้ายขวา ๒ สำรับ เทียนเงิน เทียนทองคู่หนึ่ง สีสะสุกรคู่หนึ่ง ผ้าขาวสำหรับนุ่งห่มเขียนเรือ พระที่นั่งสำรับหนึ่ง เงินกำนนหัว ๓ ตำลึง ท้าย ๓ ตำลึง รวม ๖ ตำลึง พันเงิน พันทอง ได้ค่าพระราชทานพระเสลี่ยง ๓ ตำลึง พระกรด ๓ ตำลึง รวม ๖ ตำลึง คิดสิริเข้ากันเบ็ดเส็ดเปนเงิน ๔๑ ชั่ง ๓ บาท ยกค่าตั้ง ๒๐ ชั่ง ค่าตรา ๑๐ ชั่ง (รวม ๓๐ ชั่งเสียแล้ว คงจะได้เสียแต่ค่าเบ็ดเส็ด นอกค่าตั้งค่าตราเปนเงิน ๑๐ ชั่ง ๑๑ ตำลึง ๓ บาท ๑๐

๗๔ ถ้าเปนแต่เจ้าพาะยานคร หักลงกึ่งหนึ่ง คงเรียกกึ่งหนึ่ง ทั้งค่าตั้งค่าตราและค่าเบ็ดเลดทั้งปวง สิริเข้ากันเปนเงิน ๒๐ ชั่ง ๕ ตำลึง ๓ บาท ๒ สลึง ยกค่าตั้ง ๑๐ ชั่ง ค่าตรา ๕ ชั่ง (รวม) ๑๕ ชั่ง แล้วคงจะได้เสียแต่ค่าเบ็ดเส็ดนอกกว่าค่าตั้งค่าตราเปนเงิน ๕ ชั่ง ๕ ตำลึง ๓ บาท ๒ สลึง ถ้าพระราชสาร พระราชโองการ โดยสเด็ดพระราชดำเนิน ถึงหัวเมืองได เจ้าพนักงานกรมอาลักสน์ได้รับพระราชทานค่าตำแหน่งสักดิ์ผู้รักสาเมืองผู้รั้ง และข้าหลวงกรมการ นายระวาง นาย พระขนอน ด่านคอย สิบรอยอายัต และแขวงนายบ้านายอำเพอ และพระ หลวง ขุน หมื่น วิเสสข้าส่วย และส่วยซ่องกองช้างทั้งปวง กราบถวายบังคมเสียค่าชักม่าน ค่าปี่กลอง เปนค่าตำแหน่งสักดิ์ ขุนขนอน ๑ ตำลึง ๒ บาท ค่าชักม่าน ๑ เฟื้อง ปี่กลอง ๑ เฟื้อง แตร ๑ เฟื้อง ช่วงขนอน ๓ บาท แตร ๑ เฟื้อง และพระหลวง ขุนหมื่นกรมการ และนายระวางนายบ้านนายอำเพอและข้าหลวงขุนหมื่นวิเสสข้าส่วยซ่องกองช้างทั้งปวง เสียค่าถวายบังคมและค่าชัก ม่าน ค่าปี่กลอง เปนค่าตำแหน่งสักดิ์ตามบันดาสักดิ์ แต่นา ๑๐๐ ขึ้นไปเสียค่าตำแหน่งสักดิ์ ๑๐๐ ละ ๒ สลึง แต่นา ๑๐๐ ขึ้น ไปถึงนา ๑๐๐๐๐ เสมอ ๑๐๐ ละ ๒ สลึง และเสียค่าชักม่านและ ปี่กลองและแตรเหมือนกันทุกคน


ประวัติสังเขป เจ้าพระยาสุธัมมนตรีสรีโสกราชวงส์ (เจ้าพัธน์)

เมื่อนครสรีธัมราชประกาสเปนแคว้นอิสระไน พ.ส. ๒๓๑๐ นั้นเจ้าพระยาสุธัมมนตรีโสกราชวงส์ (เจ้าพัธน์) ก็ได้เปนเจ้า จะ ดำรงตำแหน่งไดไม่ซาบ ปรากตนามไนพระราชพงสาวดารเรียกแต่ ว่าเจ้าพัธน์ เปนราชบุตรเขยพระเจ้านคร ชายาคือเจ้าหยิงนวน พี่สาวเจ้าหยิงปราง ประสูติธิดา ๒ องค์ คือเจ้าหยิงนุ้ยไหย่และ เจ้าหยิงนุ้ยเล็ก ต่อมาไนสมัยกรุงธนบุรี เจ้าพัธน์ได้เปนพระมหาอุปราชแห่งนครสรีธัมราช จะมีพระนามพิเสสหย่างไรยังไม่พบหลัก ถาน ระหว่างที่ดำรงราชตำแหน่งพระมหาอุปราช สเด็ดไปไนงานพระราชสงครามมีความชอบอันไหย่ยิ่ง บังเอินชายาสิ้นชีพลง สมเด็ดพระเจ้าตากสินมีพระราชหรึทัยสงสาร และโปรดปรานความสามาถเข้มแข็งของพระมหาอุปราชมากที่สุด จึงซงพระกรุนาพระราชทานเจ้าหยิงปราง (น้องเจ้าหยิงนวน) ซึ่งรับราชการไนราชสำนักซงครรภแล้ว ๒ เดือน ไห้เปนชายาพระมหาอุปราช แต่พระมหาอุปราช รับพระราชทานไปเปนแม่วัง ด้วยความเคารพในพระมหากรุนาธิคุณหาได้ถือเปนชายาไม่ ส่วนครรภที่มีนั้นประสูตรไนปีวอก พ.ส. ๒๓๑๙




๗๖ เปนชาย คือเจ้าน้อย ดังเล่ามาแล้วไนพระประวัติสังเขปพระเจ้าขัตติยราชนิคม ถึง พ.ส. ๒๓๒๗ พระเจ้าขัตติยราชนิคมถูกถอดพระยสปลดจากราชตำแหน่ง ยุบนครสรีธัมราชจากชั้นประเทสราช ลงเปน ชั้นเมืองเอก พระมหาอุปราชพ้นจากราชตำแหน่งพระมหาอุปราชด้วย แต่ได้รับบันดาสักดิ์เปนขุนนางที่เจ้าพระยานครสรีธัมราช (มีสำเนาซงตั้งพิมพ์หยู่ไนประชุมพงสาวดารภาคที่ ๒) ปีมะแม พ.ส. ๒๓๕๔ ปีที่ ๓ ไนรัชกาลที่ ๒ เจ้าพระยานคร สรีธัมราช (เจ้าพัธน์) ลาออกจากตำแหน่งผู้ครองนครสรีธัมราช เพราะชราทุพลภาพ จึงโปรดไห้เลือกขึ้นเปนเจ้าพระยาสุธัมมนตรี สรีโสกราชวงส์ เชสถพงส์ลือไชย อนุไทยธิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ แล้วโปรดไห้พระบริรักส์ภูเบสร์ (เจ้าน้อย ) เปนพระยานครสรีธรรมาโสกราช ชาติเดโชไชย อภัยพิริปรากรมพาหุ พระยานครสรีธัมราช สืบสนองต่อมา เจ้าพระยาสุธัมมนตรีสรีโสกราชวงส์ (เจ้าพัธน์) ยังมีบุตร ธิดา เมื่อครองนครสรีธัมราชอีก คือ ๑. พระยาภักดีภูธร (ฉิม นะนคร) ฝ่ายพระราชวังบวร ๒.ท่านผู้หยิงหนู นะนคร ภรรยาเจ้าพระยาทิพากัรวงส์ (ขำ บุนนาค) ๓. นายจ่ายง (ขัน นะนคร)


๗๗ ๔. พระราชภักดี (ร้าย นะนคร) ยกรบัตรนครสรีธัมราช ๕. ชาย คุนไจ นะนคร ๖. ชาย คุนเริกส์ นะนคร ๗. ชาย คุนกุน นะนคร ถึงปีกุน พ.ส. ๒๓๕๘ เจ้าพระยาสุธัมมนตรีสรีโสกราชวงส์ (เจ้าพัธน์) สิ้นชนมายุ









ประวัติสังเขปเจ้าพระยานคร (เจ้าน้อย) แม่ทัพไหย่ ผู้สำเหร็ดราชการทัพสึกภาคไต้ ฝ่ายตะวันตก ผู้ครองนครสรีธัมราช ไซบุรี ตรังกานู เปห์ระ

เจ้าพระยานคร (เจ้าน้อย) เปนราชโอรสสมเด็ดพระเจ้า ตากสิน ดังปรากตพระนามไนบัญชีลำดับสกุลเชื้อสายพระราชวงส์กรุงธนบุรี พิมพ์ครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ส. ๒๔๘๑ ประวัติเบื้องต้นของเจ้าพระยา (เจ้าน้อย) ได้กล่าวมา แล้ว ไนตอนว่าด้วยพระประวัติสังเขปพระเจ้านครสรีธัมราช และประวัติสังเขปเจ้าพระยาสุธัมมนตรีสรีโสกราชวงส์ (เจ้าพัธน์) ไนสมัยกรุงธนบุรี เจ้าพระยานคร (เจ้าน้อย) ดำรงอิสริยะ ยสเปนเจ้าราชบุตรพระมหาอุปราช (พัธน์) แห่งนครสรีธัมราช ครั้น สิ้นสมัยกรุงธนบุรีแล้ว ได้รับราชการไนตำแหน่งมหาดเล็กพระราชวังหลวงกรุงรัตนโกสินท์ มาจนปลายรัชกาลที่ ๑ จึงได้รับพระราชทาน บันดาสักดิ์เปนพระบริรักส์ภูเบสร มีข้อความพิสดารปรากตไนตราน้อย ดังต่อไปนี้ หนังสือเจ้าพระยาอัคมหาเสนาบดี อภัยพิริปรากรมพาหุ




๗๙ สมุหพระกลาโหม มาถึงเจ้าพระยาสรีธรรมาโสกราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยาธิบดีอภัยพิริยปรากรมพาหุ เจ้าพระยานครสรีธัมราช ด้วยซงพระกรุนาตรัดเหนือเกล้า ฯ สั่งว่า เมืองนครสรีธัมราช เปนเมืองไหย่ มีมืองขึ้น เมืองออก และจีนแขกลูกค้าต่างประเทสไป มาค้าขายเปนอันมาก และเจ้าพระยานครผู้ครองเมือง ก็เปนผู้ไหย่ สูงอายุแก่ชราหยู่แล้ว เกลือกจะมีราชการสงครามมาประการได หา ผู้ไดที่จะได้ช่วยคิดอ่านรักสาบ้านเมือง และว่ากล่าวคดีถ้อยความ สำเหร็ดกิจสุขทุกขของอานาประชาราสดรด้วยเจ้าพระยานครไม่ ราชการสำหรับเมือง และสิ่งของทอดเกนก็มีเปนอันมาก แลนายน้อย มหาด เล็ก บุตรเจ้าพระยานครนั้น ได้ทำราชการมาช้านาน กะทำการโดย สัจสุจริต ยั่งยืนชัดเจนเจ็บร้อนจงรักภักดีอุสาหะไนราชการ แล้ว มีสติปัญญาสัจซื่อมั่นคง คุนานุรูปแลตระกูลวงส์ก็บริบูรณ์มั่งคั่ง สมควน ที่จะชุบเลี้ยงขึ้นเปนผู้ไหย่ได้ ไห้พระราชทานเครื่องอุปโภคบริโภคแก่ นายน้อย มหาดเล็ก โดยยสถาสักดิแล้ว จึงตั้งนายน้อย มหาดเล็ก เปนที่พระบริรักส์ภูเบสร ผู้ช่วยราชการเมืองนคร ออกมาทำราช การด้วยเจ้าพระยานคร กรมการ ตามพระราชกำหนดกดหมาย ขนบ ทำเนีบมรานราชประเพนีสืบมาแต่ก่อน แลไห้พระบริรักส์ภูเบสร ผู้ช่วยราชการมีน้ำไจจงรักภักดี ตั้งไจทำราชการสนองพระเดชพระคุนโดยสัจสุจริต ทำนุบำรุงไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินไห้หยู่เย็นเปนสุขสืบไป แลไห้หลวงสรีราชวังเมือง ผู้ว่าที่ปลัด กรมการ ฟังบังคับบันชา พระบริรักส์ภูเบสร ผู้ช่วยราชการแต่ซึ่งชอบด้วยราชการ ตาม พระราชกำหนดกดหมาย ไห้เปนเอกจิตเอกฉันท์ น้ำหนึ่งไจเดียว

๘๐ หย่าไห้ถือเปรียบแก่งแย่งไห้เสียราชการไปแต่สิ่งหนึ่งสิ่งไดได้ ประการหนึ่งไห้พระบริรักส์ภูเบสร ตรวดดูราชการสำหรับเมืองค่ายคูประตู หอรบ ระเนียด เชิงเทิน สาลากลาง จวน ทำเนียบ คุกตราง ปืน ไหย่ ปืนน้อย กะสุนดินประสิว เรือรบ เรือไล่ แลโรงปืนไหย่น้อย สิ่งไดมีหยู่สำหรับเมืองมากน้อยเท่าได ชำรุดปรักหักพังประการได ไห้พระบริรักส์ภูเบสรว่ากล่าวเร่งรัดเจ้าพนักงาน ไห้ทำขึ้นไว้ให้มั่นคงดีจะได้เอาราชการสดวก อนึ่งไห้รู้บัญชีไพร่พลเมือง แลจำนวนเลกสักเดิม แลขึ้น หมวดไดกองได มากน้อยเท่าได มีลูกหมูเท่าใด ไห้เอาบัญชีไว้ไห้ แจ้ง จะได้กะเกนเอาราชการทั่วหน้ากัน ประการหนึ่งไห้พระบริรักส์ภูเบสร ปรึกสาด้วยเจ้าพระยา นคร กรมการ จัดแจงเรือรบเรือไล่ แลแต่งหลวงขุนหมื่นขาวด่านบก เรือ ลาดตระเวนทุกอ่าวทุ่ง พิทักส์รักสาประจำคอด่านจงกวดขัน หย่าไห้พะม่าข้าสึก แลสลัดสัตรูเล็ดลอดเข้ามาจับเอาผู้คนข้าขอบขันทเสมาไปได้ ประการหนึ่ง ทุกวันนี้การสึกสงครามยังหาสงบไม่ ไห้พระ บริรักส์ภูเบสร ผู้ช่วยราชการ คิดอ่านปรึกสาด้วยเจ้าพระยานคร กรม การ จัดแจงตกแต่งไพร่พลทหาน ไห้ชำนิชำนานไว้ไห้ลัพ ถ้าเห็นว่า พักพวกสมกำลังของผู้ใด องอาดสามาถห้าวหาน ไห้จัดตั้งเปนหลวงขุนหมื่น นายหมวด นายกอง ควบคุมเลกอาทมาต ไห้เปนหมวดเปนกองพร้อมมูลไว้ มีการสงครามขุกค่ำคืนมาประการได จะได้กะเกน เอาทันท่วงที


๘๑ ประการหนึ่ง เลกหมวดกองไดหลบหลีกหนีมูลนายออกไปซุ่มซ่อนหยู่ นะป่าดงซอกห้วยธารเขา มิได้มาสัก ละราชการแผ่นดิน ไห้พระบริรักส์ภูเบสรผู้ช่วยราชการ แต่งขุนหมื่นอันสัจซื่อ ออกไป ว่ากล่าวชักชวนเกลี้ยกล่อมไห้เข้ามาตั้งบ้านเรือนทำมาหากิน หยู่ตามถิ่นถานภูมิลำเนาไห้บริบูรณ์มั่งคั่ง ได้มากน้อยเท่าไดไห้บอกไปไห้แจ้ง ประการหนึ่ง จะพิจารนาพิพากสาตัดสินคตดีถ้อยความ ของอานาประชาราสดรประการใด ให้ตั้งอยู่ไนคติทั้งสี่ หย่าไห้ประกอบ ไปด้วยความอิจฉาริสยา ไห้พิจารนาจงเปนยสเปนธัม ตามพระ ราชกำหนดกดหมาย ประการหนึ่ง ไห้พระบริรักส์ภูเบสร มีน้ำใจโอบอ้อมเมตตา กรุนาแก่สมนะชีพราหมณ์อานาประชาราสดร ไพร่บ้านพลเมือง ลูกค้าวานิช ไห้หยู่เย็นเปนสุข ชักชวนทำบุนไห้ทาน จำเรินเมตตาภาวนาสดับตรับฟังพระธัมเทสนา รักสาสีลห้าสีลแปด แลบุรนะปติสังขรน์วัดวาอาราม พระพุทธรูป พระสถูป พระเจดียถานขึ้นไว้ไห้รุ่งเรืองสุก ไส จะได้เปนกุสลสืบไป ประการหนึ่ง ส่วยอากรซึ่งขึ้นนะท้องพระคลังหลวง มีหยู่ นะเมืองนคร แขวงเมืองนครมากน้อยเท่าได ถ้าถึงงวดจะได้ส่งแล้ว ก็ไห้พระบริรักส์ภูเบสร ตักเตือนว่ากล่าวแก่กรมการเจ้าพนักงาน นายหมวด นายกอง ไห้เร่งรัดคุมเอาดีบุก ส่วยสาอากรของหลวง เข้าไป ส่งนะกรุงเทพมหานครไห้ครบ หย่าไห้ค้างล่วงงวด ล่วงปีไปได้ อนึ่ง ถึงเทสกาลพระราชพิธีตรุสสารท ก็ให้พระบริรักส์ภูเบสร ๑๑

๘๒ พร้อมด้วยเจ้าพระยานคร กรมการ หลวงขุนหมื่นกรมการ ชาวด่าน ส่วยซ่องกองช้าง ตราภูมคุ้มห้าม กราบถวายบังคมรับพระราชทาน น้ำพระพิพัธน์สัจจาตามพระราชกำหนดกดหมาย หย่างทำเนียบสืบมาแต่ก่อน ถ้าผู้ไดขาดมิได้ถือน้ำพระพิพัธน์สัจจา ก็ไห้บอกส่งตัวเข้าไปนะกรุงเทพมหานคร จะเอาตัวเปนโทสโดยบทพระอัยการ อนึ่ง ไห้พระบริรักส์ภูเบสร กำชับว่ากล่าวแก่เสมียน ทนายบ่าวไพร่ สมัคสมาอาสัย หย่าไห้คบหากันเปนโจรผู้ร้ายปล้นสดมภ์ ตัดพกฉกชิง ฉ้อตระบัต เอาพัสดุทองเงินเครื่องอัญมนี ของสมนะชี พราหมน์ อานาประชาราสดรไพร่บ้านพลเมือง ลูกค้าวานิชทางบกทางเรือ แลสูบฝิ่นกินฝิ่น ซื้อฝิ่นขายฝิ่น ทำลายพระพุทธรูป, พระสถูป , พระเจดีย์ , พระสรีมหาโพธิ , พระอุโบสถ, พระวิหารการปเรียน, วัดอาราม ค่าช้างเอางาแลขนาย ค่าสัตว์อันมีคุน ตัดต้นไม้อันมีผล ลักลอบซื้อขายสิ่งของต้องห้าม กะทำไห้ผิดด้วยพระราชกำหนดกดหมายห้ามปรามเก่าไหม่ แต่สิ่งไดสิ่งหนึ่งไดเปนอันขาดทีเดียว ครั้นหนังสือนี้มาถึงวันได ก็ไห้เจ้าพระยานคร กรมการ ลอกเอาท้องตรานไว้แล้ว ไห้ส่งต้นตราตั้งนี้ไห้แก่พระบริรักส์ภูเบสร ผู้ ช่วยราชการ ทำราชการตามพนักงานพิกัดอัตราขนบทำเนียม ตำแหน่งที่ผู้ช่วยราชการสืบไป ไห้เจ้าพระยานคร กรมการ ทำตามหนังสือรับ สั่งมานี้จงทุกประการ หนังสือมานะ วันพรึหัสบดี เดือน ๙ ขึ้น ๗ ค่ำ ปีขาลอัถสก (จ.ส. ๑๑๖๘ ตรงกับ พ.ส. ๒๓๔๙)


๘๓ ปีที่ ๓ ไนรัชกาลที่ ๒ พระบริรักส์ภูเบสร ได้เลื่อนขึ้นเปน พระยาครองนครสรีธัมราช พ.ส. ๒๓๕๔ (มีสำเนาซงตั้งพิมพ์หยู่ ไนประชุมพงสาวดารภาคที่ ๒) ต่อมาปีมะเมีย พ.ส. ๒๓๖๕ (ปีที่ ๑๔ ไนรัชกาลที่ ๒) ได้เลื่อนขึ้นเปนเจ้าพระยานคร ปรากดไนสารตราดังต่อไปนี้ สารตราท่านเจ้าพระยาอัคมหาเสนาธิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ สมุหพระกลาโหม ไห้มาแก่หลวงพรหมเสนา ผู้ว่าที่ปลัด หลวง เทพเสนา ผู้ว่าที่จ่า และกรมการเมืองนคร ด้วยซงพระกรุนาตรัดเหนือเกล้าเหนือกะหม่อมสั่งว่า เมือง ไซนั้น แต่ก่อนเมื่อพระยาไซยังหยู่นะเมืองไซ หาเปนที่จะวางพระทัย ได้ไม่ ด้วยพระยาไซคิดราชการไม่ซื่อตรงต่อกรุงเทพพระมหานคร และเมื่อนะปีมะเส็งตรีนิสก (จ.ส. ๑๑๘๓ ตรงกับ พ.ส. ๒๓๖๔) บอกข้อราชการออกไปว่า พะม่าจะยกมากะทำแก่เมืองปักส์ไต้ ไห้ พระยาไซจัดซื้อข้าวเตรียมคนและเรือไว้ไห้พร้อม จะได้อุดหนุนช่วย กันรบพุ่งทันท่วงที พระยาไซก็หากะทำตามท้องตราไม่ หลีกตัว ลงไปหยู่นะที่มระโบะ แม้นมีราชการมาก็เสียเมืองไซ พระยา นครมิไว้ไจ ยกลงไปป้องกันรักสาเมืองไซ พระยาไซเปนคนผิดหนีลงไปหยู่นะเมืองเกาะหมาก กลับเปนขบถ คบคิดกันคุมสมัคพักพวกลงมาจะตีกองทัพพระยานคร ๆ รู้ความ แต่งกองออกสู้รบ พวกแขกแตกหนีไป พระยานครเอาเมืองไซไว้ได้ ครั้งนี้สิ้นพระราชธุระไปทาง หนึ่ง พระยานครมีความชอบเปนอันมากโปรดเกล้าไห้เลื่อนพระยา นครขึ้นเปนเจ้าพระยาสรีธัมโสกราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยาธิบดี

๘๔ อภัยพิริยปรากรมพาหุ เจ้าพระยานครสรีธัมราช พระราชทานเมือง ไซ เมืองเปห์ระ ไห้ขึ้นแก่เมืองนคร ไห้เจ้าพระยานครเปนผู้สำเหร็ด ราชการ จัดแจงเมืองไซ เมืองเปห์ระไห้ราบคาบ แต่เงินส่วนอากร นะเมืองไซ ซึ่งจะได้เข้าท้องพระคลังหลวงนั้น สิ่งไดจำนวนปีละ มากน้อยเท่าได ถึงกำหนดงวดปีแล้ว ก็ไห้เจ้าพระยานครเรียกเอา เงินส่วยสาอากร ส่งเข้าไปนะกรุงเทพพระมหานครไห้ครบ หย่าไห้ เงินหลวงขาดค้างล่วงงวดล่วงปีไปแต่จำนวนหนึ่งได้เปนอันขาดทีเดียว สารตรามานะวันสุกรเดือนยี่ขึ้น ๑๐ ค่ำ จุลสักราช ๑๑๘๔ ปีมะเมีย นักสัตรจัตวาสก (พ.ส.๒๓๖๕ ) เจ้าพระยานคร (เจ้าน้อย) มีบุตรธิดาตามที่ปรากตนามไนหนังสือลำดับสกุลเชื้อสายพระราชวงส์กรุงธนบุรี คือ (๑) เจ้าจอมารดาน้อยไหย่ นะนคร ไนรัชกาลที่ ๓ (๒) เจ้าจอมน้อยเล็ก นะนคร ไนรัชกาลที่ ๓ (๓) เจ้าพระยามหาสิริธัมพโลปถัมภ์เทพธาดา (น้อยไหย่ โกมารกุล นะนคร) ผู้รักสากรุงเก่า (๔) เจ้าพระยานคร (น้อยกลาง นะนคร) (๕) พระยาเสน่หามนตรี (น้อยเอียด จาตุรงคกุล) (๖) พระยาบริรักส์ภูธร (แสง นะนคร) เจ้าเมืองไซบุรี แล้ว ย้ายมาเปนผู้รักสาเมืองพังงา (๗) พระยาเสนานุชิต (นุด นะนคร) ผู้รักสาเมืองตะกั่วป่า (๘) พระยาวิชิตสรไกร (กล่อม นะนคร) ปลัดเมืองนคร สรีธัมราช

๘๕ (๙) พระยากาญจนะดิสถ์บดี (พุ่ม นะนคร) ผู้รักสาเมืองกาญจนะดิสถ์ (๑๐) พระอุทัยธานี (ม่วง นะนคร) ผู้รักสาเมืองตรัง (๑๑) พระวิชิตสรไกร (หง นะนคร) ปลัดเมืองนครสรี ธัมราช (๑๒) พระจเรินราชภักดี (ฉิม นะนคร) ผู้รักสาเกาะสมุย (๑๓) พระราชานุรักส์ (พู่ นะนคร) ผู้รักสาเมืองท่าทอง (๑๔) พระสรีสุพรรนดิสถ์ (เสม นะนคร) ปลัดเมืองกาญจนะดิสถ์ (๑๕) ท้าวสรีสัจจา (กลิ่น นะนคร) (๑๖) ชาย คุนเถื่อน นะนคร (๑๗) พระนิกรบริบาล (จัน นะนคร) ผู ช่วยราชการเมือง พังงา (๑๘) ชาย คุนเดช นะนคร (๑๙) หยิง คุนเหม นะนคร (๒๐) เจ้าจอมแย้ม นะนคร ไน ร. ๓ (๒๑) เจ้าจอมพัน นะนคร ไน ร.๓ (๒๒) ท้าวจับ นะนคร ไน ร. ๔ (๒๓) เจ้าจอมพุ่ม นะนคร ไนกรมพระราชวังบวร ร. ๓ (๒๔) เจ้าจอมปราง นะนคร ไนกรมพระราชวังบวร ร. ๓ (๒๕) เจ้าจอมตลับ นะนคร ไนกรมพระราชวังบวร ร. ๓ (๒๖) เจ้าจอมปริก นะนคร ไนกรมพระราชวังบวร ร. ๓

๘๖ (๒๗) เจ้าจอมทับทิม นะนคร ไนกรมพระราชวังบวร ร. ๓ (๒๘) เจ้าจอมอิ่ม นะนคร ไนกรมพระราชวังบวร ร. ๓ (๒๙) เจ้าจอมคล้าย นะนคร ไนกรมพระราชวังบวร ร. ๔ (๓๐) เจ้าจอมมารดาบัว นะนคร ไน ร. ๔ เปนเจ้าจอม- มารดาของพระองค์เจ้าชายเฉลิมลักสน์เลิด กรมขุนสิริธัชสังกาสต้นสกุลสรีธวัช นะอยุธยา , พระองค์เจ้าหยิงอรไทยเทพกัญญา , กรม ขุนมรุพงส์สิริพัธน์ ต้นสกุลวัธนวงส์ นะอยุธยา , พระองค์เจ้าชาย ดำรงริทธิ์ (๓๑) หยิง คุนเอม นะนคร (๓๒) หยิง คุนเสม นะนคร (๓๓) ชาย คุนนุ่น นะนคร (๓๔) คุนเอียด นะนคร เจ้าพระยานคร (เจ้าน้อย) สิ้นชนมายุวันอังคารที่ ๑๔ พรึส ภาสคม พ.ส. ๒๓๘๒ ท่านผู้นี้ควนได้รับความยกย่องเปนพิเสสเพราะพยายามทำคุนประโยชน์ไห่แก่ชาติบ้านเมืองเปนอันมาก เปนผู้ที่ เข้มแข็งไนการรักสาและแผ้วถางแผ่นดินไทย สมควนแก่การเชิดชูเกียรติของพระมหากสัตริย์โดยลำดับมา และสายสกุลทแยกกันออกเปน ๓ คือ นะนคร , โกมารกุล นะนคร , จาตุรงคกุล รวมทั้งสกุลสรีธวัช นะอยุธยา และวัธนวงส์ นะอยุธยา ที่สืบทางสายหยิง นับว่าเปน เชื้อสายสืบจากสมเด็ดพระเจ้าตากสิน พระผู้กู้ชาติไทยโดยทั่วกัน.


ประวัติสังเขป เจ้าพระยานครสรีธัมราช (น้อยกลาง นะนคร)

เจ้าพระยานครสรีธัมราช (น้อยกลาง นะนคร) เปนบุตรคนที่ ๒ ของท่านเจ้าพระยานคร (เจ้าน้อย) นับเปนชั้นหลานเทอไนสมเด็ด พระเจ้าตากสิน ได้รับราชการหยู่ที่นครสรีธัมราช ถึง ปีจอ พ.ส. ๒๓๖๙ ต้นรัชกาลที่ ๓ ได้รับพระราชทานบันดาสักดิ์เปนพระสเนหามนตรีตำแหน่งผู้ช่วยราชการเมืองนครสรีธัมราช ปรากตตามสำเนาสารตราต่อไปนี้ สารตราท่านเจ้าพระยาอัคมหาเสนาธิบดี อภัยพิริยปรา กรมพาหุ สมุหพระกลาโหม ไห้มาแก่หลวงพรหมเสนาผู้ว่าที่ปลัด หลวงชัยปัญญา หลวงพรหมเสนาสัสดี แลกรมการทั้งหลาย ด้วยซงพระกรุนาตรัดเหนือกะหม่อมสั่งว่า เมือง พัทลุงไพร่บ้านพลเมืองมีมากกว่าหัวเมืองตะวันตกทั้งปวง แลพระยาพัทลุงนั้นเปนคนแก่ชราสูงอายุหยู่แล้ว จะว่ากล่าวกิจการบ้านเมือง ทั้งปวงก็ไม่สิทธิ์ขาด และราชการฝ่ายทเลตะวันตก ก็ไม่ปกติเรียบ ร้อย เกลือกจะมีราชการสึกสงครามมา พระยาพัทลุงจะควบคุม รี้พลไปทำทัพสึกก็มิได้ ทั้งจะกะเกนเอาผู้คนก็จะมิได้คล่องสดวกเห็นจะเสียราชการไป จึงโปรดเกล้าโปรดกะหม่อม ไห้พระยาพัทลุงทำ ราชการสนอพระเดชพระคุนหยู่นะกรุงเทพมหานคร ไห้เอาพระ


๘๘ เสนหามนตรีเปนที่พระยาพัทลุง และพระภัทดีบริรักส์ นายนุด นายกล่อม นายภู นายม่วง หลวงประชาบาล ซึ่งเจ้าพระยานครจัดแจง ไว้ ไห้หยู่รักสาเมืองไซนั้น ก็จัดแจงทนุบำรุงพวกสรีตวันกรมการ แขกเมืองมีชื่อ ได้กลับคืนมาหยู่บ้านเมือง ผู้คนบริบูรน์มั่นคั่งขึ้น เหมือนแต่ก่อน เมืองไซก็ปกติเรียบร้อยหยู่แล้ว จึงโปรดเกล้าโปรด กะหม่อม ไห้ตั้งพระภักดีบริรักส์เปนพระยาไซ ทำราชการสนอง พระเดชพระคุนสืบไป แลเมืองนครเปนเมืองเอก ไหย่กว่าหัวเมือง ทั้งปวง ราชการบ้านเมืองก็มีเปนอันมาก สมเด็ดพระพุทธเจ้าหยู่หัว ก็โปรดเกล้าโปรดกะหม่อมไห้เจ้าพระยานครเปนแม่ทัพไหย่ผู้สำเหร็ดราชการทัพสึกทางปักส์ไต้ฝ่ายตะวันตก ปลงพระราชธุระขาดแก่เจ้า พระยานคร แลเมืองพัทลุง เมืองไซ ก็เปนธุระกับเจ้าพระยานคร ทั้งสิ้น แลที่พระเสนหามนตรี ผู้ช่วยราชการเมืองนคร ยังว่างเปล่า หยู่นั้น ซงพระราชดำริเห็นว่า นายน้อยกลางบุตรเจ้าพระยานคร น้องพระเสนหามนตรีนั้น มีสติปัญญารู้ขนบราชการพอจะเปนที่ผู้ ช่วยราชการได้หยู่ จึงโปรดเกล้าโปรดกะหม่อม ไห้ตั้งนายน้อยกลางเปนพระเสนหามนตรี ผู้ช่วยราชการออกมา จะได้ช่วยจัดแจงกิจการบ้านเมือง เบาแรงเจ้าพระยานครบ้าง ไห้พระราชทานถาดหมาก คน โททองสำรับหนึ่ง ประคำทองสายหนึ่ง สัปปทนปัสตูคันหนึ่ง ไห้นายน้อยกลางผู้เปนพระเสนหามนตรี ตั้งไจทำราชการสนองพระเดชพระคุนโดยสัจสุจริต ไห้มีจิตเมตตากรุนาแก่สมนะชีพราหมน์ไพร่บ้านพลเมือง อานาประชาราสดรลูกค้าวานิช ไห้หยู่เย็นเปนสุข หย่าไห้มี ความฉันทาพยาบาทเบียดเบียนฉ้อตระบัด กะทำข่มเหงอานาประชา

๘๙ ราสดร ไห้ได้ความยากแค้นเดือดร้อน ไห้พระเสนหามนตรีฟังบังคับ บันชาเจ้าพระยานคร แต่ซึ่งชอบด้วยราชการตามพระราชกำหนดกดหมาย หย่าไห้ถือเปรียบแก่งแย่งกันไห้เสียราชการไปได้ แลส่วยสัด พัทยากรของหลวง ซึ่งหยู่นะเมืองนครแลแขวงเมืองนคร สิ่งไดมาก น้อยเท่าได ถึงกำหนดส่งแล้ว ก็ไห้พระเสนหามนตรี ผู้ช่วยราชการ ตักเตือนไห้นายอากร แลนายกอง นายหมวด เร่งรัดเอาอากร แล ส่วยของหลวงเข้าไปส่งเจ้าพนักงานนะกรุงเทพพระมหานคร ไห้ครบจำนวนจงทุกปี หย่าไห้พระราชทรัพย์ตกค้างล่วงงวดปีไปแต่จำ นวนหนึ่งได้ ถ้าถึงพระราชพิธีตรุสสารท ก็ไห้พระเสนหามนตรี ผู้ช่วยราชการ พร้อมด้วยเจ้าพระยานคร กรมการผู้ไหย่ผู้น้อย กราบ ถวายบังคมรับพระราชทานถือน้ำพระพิพัธน์สัจจาปีละ ๒ ครั้ง ตาม หย่างทำเนียมจงทุกปี ถ้าผู้ไดขาดมิได้รับพระราชทานถือน้ำพระ พิพัธน์สัจจา ก็ไห้บอกส่งตัวผู้นั้นเข้าไปนะกรุงเทพพระมหานคร จะ เอาตัวเปนโทสโดยบทพระอัยการ อนึ่ง วัดวาอารามสำหรับเมือง ซึ่งปรักหักพังเส้าหมองคร่ำคร่าหยู่นั้น ไห้พระเสนหามนตรี ตักเตือนพระหลวงขุนหมื่นกรมการ ชักชวนสับปรุสทายก ทำนุบำรุงปติสังขรน์ซ่อมแปลงขึ้นไว้ไห้รุ่งเรือง สุกไส จะได้เปนกุสลสืบไป อนึ่ง ป้อมกำแพงเชิงเทินค่ายคูประตูหอรอบ สาลากลาง คุกตะรางฉางข้าว ตึกดิน สิ่งไดไม่มี แลชำรุดปรักหักพัง ก็ไห้พระเสนหามนตรีตักเตือนกำชับว่ากล่าวเจ้าพนักงาน ไห้จัดแจงซ่อมแปลงทำขึ้น ๑๒

๙๐ ไว้ไห้มั่นคงจงดี จะได้เปนสง่างามบ้านเมือง แลไห้จัดแจงตกแต่งปืน ไหย่น้อยกะสุนดินปะสิว เรือรบ เรือไล่ไว้ไห้พร้อม เลกข้าส่วย สมกำลังเจ้าเมืองกรมการ เลกสังกัดพันของผู้ได มีมากน้อยเท่าได เลกข้าหนีเจ้าบ่าวหนีนาย มาแอบแฝงหยู่นะเมืองนคร บ้านได ตำบนได ไห้เอาบาญชีไว้ไห้แจ้ง จะได้กะเกนเอาราชการได้สะดวก อนึ่ง อ้ายสลัดสัตรูย่อมกำเริบตีเรือลูกค้าพานิชชุกชุม ไห้ พระเสนหามนตรีปรึกสาด้วยเจ้าพระยานคร แต่งหลวงขุนหมื่นกองอาสา คุมไพร่แลเรือรบออกไปลาดตระเวนก้าวสะกัดจับอ้ายเหล่าร้ายกำหราบปราบปรามเสียไห้ราบคาบ หย่าไห้เกิดโจรผู้ร้ายขึ้นได้ทั้ง ทางบกทางเรือเปนอันขาด อนึ่ง จะพิจารนาพิพากสาคดีถ้อยความ ของอานาประชา ราสดรสิ่งได ไห้พิจารนาว่ากล่าวจงเปนยสเปนธัม หย่าไห้เห็นแก่อามิสสินจ้างสินบนแลเห็นแก่หน้าบุคคล ลำเอียงเข้าด้วยฝ่ายโจทจำเลย กลับเท็ดเปนจิงกลับจิงเปนเท็ด กลบเกลื่อนข้อความ แพ้เปนชะนะๆ เปนแพ้ ไห้ราสดรความยากแค้นเดือนร้อนแต่สิ่งไดสิ่งหนึ่งได้ แลไห้ พระเสนหามนตรี กำชับห้ามปรามแก่เสมียนทะนาย บ่าวไพร่สมัค พักพวก หย่าไห้คบหากันโจรผู้ร้าย ปล้นสดมภ์ตัดพกฉกชิง ฉ้อตระบัต เอาพัสดุทองเงินเครื่องอัญมนี ของสมนะชีพราหมน์อานาประชาราสดร ลูกค้าวานิชทางบกทางเรือ แลคบหากันสูบฝิ่นกินฝิ่น ซื้อฝิ่นขายฝิ่น ลักลอบซื้อขายสิ่งของต้องห้าม แลทำลายพระพุทธรูป พระสถูป พระเจดีย์ พระสรีมหาโพธิ พระอุโบสถ พระวิหารการ ปเรียน วัดวาอาราม ค่าช้างเอางาขนาย ค่าสัตว์อันมีคุน ตัดต้น

๙๑ ไม้อันมีผล กะทำไห้ผิด ด้วยพระราชกำหนดกดหมายห้ามปรามเก่า ไหม่ แต่สิ่งไดสิ่งหนึ่งได้เปนอันขาดทีเดียว ครั้นลุสารตรานี้ไซร้ ก็ไห้หลวงพรหมเสนา ผู้ว่าที่ปลัด หลวงชัยปัญญา หลวงพรหมเสนาสัสดี กรมการ ลอกเอาท้องตรา นี้ไว้ แล้วส่งตราตั้งนี้ไห้แก่พระเสนหามนตรี ผู้ช่วยราชการเมืองนคร รับราชการตามตำแหน่งพนักงานสืบไป สารตรามานะวันสุกรเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๒ ค่ำ ปีจออัถสก พระเสนหามนตรี รับราชการไนตำแหน่งผู้ช่วยราชการเมืองนครมาเปนเวลา ๑๒ ปี ครั้นรุ่งขึ้น พ.ส. ๒๓๘๒ ท่านเจ้าพระยา นคร (เจ้าน้อย) สิ้นชนมายุ นะวันอังคารที่ ๑๔ พรึสภาคม จึงได้รับ หน้าที่รักสาราชการเมืองนคร จนเมื่อพระราชทานเพลิงสพท่านเจ้า พระยานคร (เจ้าน้อย) แล้ว จึงซงตั้งเปนพระยานครไนปลายปีฉลู พ.ส. ๒๓๘๔ ดังข้อความตามสารตราและกดซงตั้งต่อไปนี้ สารตราท่านเจ้าพระยาอัคมหาเสนาธิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุสมุหกลาโหม ไห้มาแก่นายริทธิ์ นายเวนมหาดเล็ก ผู้ช่วย ว่าราชการเมืองนครสีธัมราช หลวงไชยปัญญา กรมการผู้ไหย่ผู้ น้อยทั้งปวง ด้วยซงพระกรุนาตรัดเหนือเกล้าเหนือกะหม่อมสั่งว่า เมือง นครสรีธัมราชเปนเมืองเอก หยู่ฝ่ายปักส์ไต้ มีหัวเมืองขึ้น เมืองแขก ก็ขึ้นหยู่กับเมืองนครหลายบ้านหลายเมือง ยังหาได้ตั้งแต่งเจ้าเมืองไม่ ไห้พระเสนหามนตรีว่าราชการบ้านเมืองหยู่ก่อน ด้วยยังไม่ได้ปลง สพเจ้าพระยานคร บัดนี้ปลงสพเจ้าพระยานครแล้ว ซงพระอาลัย เสียดายเจ้าพระยานคร ด้วยไว้พระทัยต่างพระเนตรพระกรรน ไห้

๙๒ รักสาขอบขันทเสมาฝ่ายทะเลตะวันตก มีทัพสึกครั้งไรก็ได้ไปทำราช การสนองพระเดชพระคุน เมื่อครั้งตนกูเดน ตนกูมัสอัถ ชักชวนแขกเมืองไซเปนขบด ก็ไปปราบปรามชะนะสึกทั้งสองครั้ง ทำราชการ โดยสัจซื่อมั่นคงสุจริต สมควนที่ซงพระมหากรุนาโปรดปราน เจ้า พระยานครถึงแก่อสัญญกัมแล้ว ตั้งพระทัยจะชุบเลี้ยงบุตรเจ้าพระยานครไห้สืบเชื้อตระกูลวงส์ต่อไป ผู้ไดไม่โหยกเหยก ก็จะโปรดไห้มี ยสถาสักดิ์ขึ้นทุกคน โปรดเกล้าโปรดกะหม่อมว่า พระเสนหา มนตรี ซึ่งไห้ว่าราชการตำแหน่งที่เจ้าเมือง อายุอานามก็สมควนจะเปนเจ้าเมืองได้หยู่ แล้วเจ้าพระยานครก็ได้ฝึกฝนไช้สอยการสึกการโยธา รู้ขนบทำเนียมราชการ สติปัญญาหนักแน่นรอบคอบโอบ อ้อมอารี ญาติพี่น้องกรมการผู้ไหย่ผู้น้อย ไพร่บ้านพลเมืองรักไคร่ ควนจะยกขึ้นไห้เปนเจ้าเมืองบังคับกิจราชการบ้านเมือง ว่ากล่าวชักชวนญาติพี่น้องกรมการผู้ไหย่ผู้น้อย ไห้สามัคคีรสช่วยกันทำราชการสนองพระเดชพระคุน รักสาบ้านเมืองสืบต่อไป จึงโปรดเกล้าโปรด กะหม่อม ไห้ตั้งพระเสนหามนตรี เปนที่พระยาสรีธัมโสกราช ชาติ เดโชชัย มไหสุริยธิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ พระยานครสรี ธัมราช ไห้พระราชทานเครื่องยสสำหรับตำแหน่งที่ เสื้อหมวกซงประพาสริมทองคำสำรับหนึ่ง กะบี่ฝักทองเล่มหนึ่ง พานทองแปดเหลี่ยมเครื่องกินพร้อมสำรับหนึ่ง คนโททองคำไบหนึ่ง กะโถนทอง คำไบหนึ่ง สับปทนปัสตูระบาย ๒ ชั้นคันหนึ่ง ดึงสายไหมสายหนึ่ง กะตรุดสายหนึ่ง โตกเงินคาวหนึ่ง หวานหนึ่ง เข้ากันสองไบ ไห้พระยานครตั้งไจทำราชการ รักสาบ้านเมืองโดยสุจริต มีจิตเมตตาอารีโอบ

๙๓ อ้อมญาติพี่น้อง กรมการผู้ไหย่ผู้น้อย ไห้เปนสามัคคีรสน้ำหนึ่งไจ เดียวกัน หย่ามีฉันทาพยาบาทไห้เกิดความอริวิวาทแตกสามัคคีรสกัน ได้ ญาติพี่น้องและพระหลวงขุนหมื่น กรมการทั้งปวง ก็ไห้ฟัง บังคับบันชาพระยานคร ไห้ชอบด้วยราชการตามลำดับยสสักดิ์ผู้ไหย่ ผู้น้อย หย่าไห้ถือเปรียบขัดแก่งแย่ง ไห้เสียราชการแต่สิ่งไดสิ่งหนึ่ง ได้ และกรมการผู้ไหย่ผู้น้อย ซึ่งขาดตำแหน่งหยู่นั้น ก็ไห้พระยา นครจัดแจงขึ้นไห้ครบตามตำแหน่งที่ หย่าไห้ขาดตำแหน่งหยู่ เห็นผู้ ไดได้ราชการ จะเปนที่ตำแหน่งไร ก็ไห้บอกเข้าไป จะได้ตั้งแต่ง ออกมาไห้เปนเกียรติยส และไห้พระยานครโอบอ้อมเมตตากรุนา แก่ สมนะชีพราหมน์ ไพร่บ้านพลเมือง ไห้หยู่เย็นเปนสุข ทำไห้ไพร่ บ้านพลเมืองรักไคร่ จะกะเกนราชการงานโยธาสิ่งไร ไห้ทั่วหน้า เสมอกัน การไม่ควนที่จะเคี่ยวเข็นกรากกรำไห้ไพร่ได้ความลำบาก ยากแค้น ก็หย่าไห้เอามาไช้สอยการงานกรากกรำ ทำไห้ไพร่พลเมือง ได้ความคับแค้นไจ จนอพยพหลบหนีไปเสียนอกเขตแดนต่างบ้าน ต่างเมือง และเลกสมเจ้าเมืองกรมการ เลกส่วยดีบุก ส่วยสรรพ เหตุ ไนพระราชวังหลวง พระราชวังบวรสถานมงคล ข้าเจ้าบ่าว นายบันดามีหมวดมีกอง หยู่ตามจำนวนสักทองมือปีฉลูเอกสกนั้น ก็ไห้ชำระสะสางเลกเดิมลูกหมู่ขึ้นบวกแทนเลกจำหน่ายตายหนี ไห้ เปนหมวดเปนกองขึ้นไว้ตามเดิม ถ้ากองไดหมวดได มูลนายขาดตำ แหน่งไม่มีตัว ก็ไห้แต่งตั้งขึ้นไห้ครบไว้ตามตำแหน่ง ทุกกองทุกหมวด มีราชการงานโยธาการสึกสงครามประการได หย่าไห้กำนันนายบ้าน นายอำเพอไปเที่ยวไล่กวาดต้อนจับกุมเอาตัวมาไช้ราชการ ไห้นาย


๙๔ พลัด ๆ บ่าวพลัดนาย ผู้คนจัดแจงเปนกองเปนหมวดขึ้นไว้แล้ว จะไช้สอยการงานสิ่งไร เกนเอากับนาย ๆ จะได้เกนบ่าวผลัดเปลี่ยนผ่อนปรนไห้มารับราชการ ตามควนกับการตามมากและน้อย นายกับบ่าวเปน ที่พึ่งกันได้ บ่าวก็จะได้รักนายไม่หลบหลีกราชการ ที่เปนเลกส่วยดีบุกส่วนสัพเหตุนั้น ถึงกำหนดงวดกำหนดปีจะได้ส่งส่วยเมื่อไดก็ไห้ตักเตือนนายกองนายหมวด ไห้คุมเอาส่วยของหลวงเข้าไปส่งยังเจ้าพนักงานนะกรุงเทพพระมหานครเสมอจงทุกงวดทุกปี หย่าไห้ส่วยขาดค้างล่วงงวดล่วงปีไปเหมือนหนหลัง และเมืองนครเปนเมืองไหย่ หัวเมืองเอก มีตำแหน่งทำดอกไม้ทองเงินเครื่องราชบรรนาการ เข้าไปทูลเกล้าทูล กะหม่อมถวายทุกปี เปนที่เฉลิมพระเกียรติมีมาแต่บุรานราชประเพนี ไม่ควนจะไห้ขาด พระยานครเข้ารับราชการตามตำแหน่งแล้ว ก็ไห้ทำดอกไม้ทองเงินเครื่องราชบรรนาการทูลเกล้ากะหม่อมถวาย หย่า ไห้เสียเยี่ยงหย่างราชประเพนีแต่บุรานได้ อนึ่ง ฝิ่นเปนของต้องห้าม ไห้พระยานครกำชับกำชับญาติ พี่น้องกรมการผู้ไหย่ผู้น้อย ไพร่บ้านพลเมือง ลูกค้าไทยจีนแขก หย่าไห้คบหากันสูบฝิ่น กินฝิ่น ซื้อฝิ่น ขายฝิ่น ไห้ประกาสป่าวร้อง กำนัน นายบ้าน นายอำเพอ เที่ยวสอดแนมดู ถ้าพบผู้ไดสูบฝื่น กิน ฝิ่น ซื้อฝิ่น ขายฝิ่น ไห้จับเอาตัวกับยาฝิ่น กล้องตะเกียง กะทะต้ม ฝิ่น ส่งเข้าไปยังกรุงเทพพระมหานคร จะได้กะทำโทสตามกดหมายไห้เข็ดหราบ หย่าไห้มีฝิ่นหยู่ไนบ้านไนเมืองได้เปนอันขาดทีเดียว อนึ่ง ถึงเทสการพระราชพิธีตรุสสราท ก็ไห้พระยานครกรม การผู้ไหย่ผู้น้อย ไปพร้อมกันนะพระอาราม จำเพาะพระพักตร์

๙๕ พระพุทธเจ้า พระธัมเจ้า พระสงคเจ้า กะทำสัตยานุสัจ บ่ายหน้า จำเพาะกรุงเทพพระมหานคร กราบถวายบังคมสมเด็ดพระพุทธเจ้า หยู่หัว รับพระราชทานถือน้ำพระพิพัธน์สัจจาปีละ ๒ ครั้ง เสมอ จงทุกปีหย่าไห้ขาด ครั้นลุสารตรานี้ไซ้ ก็ไห้นายริทธิ์ ผู้ว่าที่ผู้ช่วยราชการ เมืองนคร หลวงไชยปัญญา กรมการ จำลองลอกคัดท้องตรา ตั้งนี้ไว้ แล้วไห้ส่งต้นตราตั้งและตราจำนำ เลกสำหรับที่บโทน คนไช้ สารบาญชี กะทงความเก่าไหม่ ไร่นาเรือกสวน สำหรับที่ผู้ ครองเมืองนครสรีธัมราชสืบมาแต่ก่อน มอบไห้พระยานครคนไหม่เข้า รับราชการรักสาบ้านเมือง สำเหร็ดกิจสุขทุขของอานาประชาราสดรทำราชการสนองพระเดชพระคุนสืบไปได้ ไห้กดหมายพระราชโอวาท สำหรับที่เจ้าเมือง ออกมาด้วยฉบับหนึ่งความแจ้งหยู่แล้ว สารตราไห้มานะวันพุธ เดือนยี่ ขึ้น ๑๐ ค่ำ จุลสักราช ๑๒๐๓ ปีฉลู นักสัตร ตรีสก (พ.ส. ๒๓๘๔) กดหมายพระราชโอวาท กดไห้ไว้แก่พระเสนหามนตรี ผู้เปนที่พระยาสรีธัมโสกราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยาธิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ พระยา นครสรีธัมราช ด้วยซงพระมหากรุนาชุบเกล้าชุบกะหม่อมไห้พระเสนหามนตรี เปนพระยานครสรีธัมราช ออกมาครองเมืองรับกิจราชการ โดยกดหมายขนบทำเนียมแผ่นดินเมืองนครสรีธัมราชมาแต่ก่อน และ ลักขนะทุกวันนี้ เมืองข้าขอบขันทเสมาปักส์ไต้ฝ่ายเหนือตะวันตกตะวัน ออก โดยปริมนทลรอบคอบไม่สงบราบคาบ ประกอบไปด้วยการ

๙๖ นรงค์สงคราม เกิดการรบพุ่งกันทุกแห่งทุกตำบนหยู่ ถ้าพระยา นครสรีธัมราช ออกมาถึงเมืองนครสีธัมราชแล้ว ไห้ตรวดตราดู กำแพงแลค่ายคูประตูเมืองพ่วงรอหอรบเชิงเทิน การสิ่งไดซึ่งชำรุด ปรักหักพังหยู่ นั้น ไห้พระยานครสรีธัมราช ว่ากล่าวตักเตือนกรม การเจ้าพนักงานไห้เร่งทำ และตกแต่งซ่อมแปลงขึ้นไว้ไห้ดีจงแน่นหนามั่นคง หย่าไห้ชำรุดปรักหักพังหยู่ได้ ประการหนึ่ง ได้ตรวดดูบาญชีเลกคงสักท้องมือ จำนวนปีฉลูเอกสกเปนเลกหมวดไดกองได แลเลกหัวเมืองไนที่บันดาแว่นแคว้นแขวงจังหวัดขึ้นกับเมืองนครสรีธัมราช เปนจำนวนเลกมากน้อยเท่า ได ไห้คัดบาญชีมาอ่านดูจงเนือง ๆ ไห้จะเจนไว้ มีราชการจะได้ กะเกนสะดวก และเลกหมวดไดกองได ซึ่งเกียดคร้านหลบหนีมูล นายเสีย ออกไปซุ่มซ่อนหยู่ป่าดงซอกห้วยธารเขา มิได้เข้ามารับ ราชการแผ่นดิน ไห้พระยานครสรีธัมราชแต่งพระหลวงขุนหมื่น ซึ่ง สัจซื่อมั่นคงอกไปว่ากล่าวชักชวนเกลี้ยกล่อมโดยเมตตาจิต ไห้ ผู้มีชื่อเข้ามาตั้งบ้านเรือนทำมาหากิน หยู่ตามถิ่นถานที่ภูมิลำเนาไห้ บริบูรน์มั่นคง ได้มากน้อยเท่าไดไห้บอกบาญชี เข้าไปยังกรุงเทพ พระมหานครไห้แจ้ง อนึ่ง ไห้ตรวดดูปืนไหย่น้อย กะสุนดินประสิว เครื่องสาตราวุธไห้รู้ว่าดีแลชำรุดมีหยู่มากน้อยเท่าได ซึ่งชำรุดนั้นพอจะตกแต่งซ่อมแปลงขึ้นเปนราชการได้ ก็ไห้ตกแต่งซ่อมแปลงขึ้นไว้สำหรับเมือง สืบไป ปืนไหย่น้อยซึ่งดีหยู่มิได้ชำรุด ก็ไห้ว่าแก่หมู่พนักงาน ไห้


๙๗ เอาปืนโซมน้ำมัน เอาดินออกตากแดดจงเนือง ๆ หย่าไห้ดินอับรา ปืนเปนถนิมคร่ำคร่าเสียราชการไปได้ ประการหนึ่ง ไห้ตรวดดูเรือรบเรือไล่ มีจำนวนหยู่มากน้อยเท่าได ดีและชำรุดประการได ซึ่งชำรุดหยู่นั้นก็ไห้ว่ากล่าวเร่งรัด แก่เจ้าหมู่พนักงานเร่งตกแต่งซ่อมแปลงลิ่มยาลาพอนขึ้นไว้ไห้ดี หย่า ไห้เรือรบเรือไล่ชำรุดซุดโซมหยู่แต่ลำหนึ่งได้ แล้วไห้ทำร่มโรงพิทักส์ รักสาไว้จงทุกลำ หย่าไห้เรือรบเรือไล่ ตากแดดตากฝนผุเปื่อยเสีย ราชการไปแต่ลำหนึ่งได้ ถ้าถึงเทสกาล อ้ายสลัดสัตรูเหล่าร้ายจะเข้ามากะทำเบียดเบียนจับกุมผู้คน ลูกค้าวานิช ข้าขอบบันทเสมา ก็ไห้แต่งเรือรบเรือไล่ นายเรือไพร่พลรบพลกรรเชียง สรรพไปด้วย ปืนไหย่น้อยกะสุนดินประสิวเครื่องสาตราวุธ ออกลาดตระเวนจงทุกอ่าวทุ่ง บันจบถึงแขวงอำเพอหัวเมืองต่อกันจงกวดขัน ทั้งกลาง วันกลางคืน ถ้าได้ข่าวอ้ายสลัดสัตรู แลญวนเหล่าร้ายเล็ดลอดเข้า มาจับผู้คนประการได ก็ไห้ออกก้าวสะกัดติดตามรบพุ่ง แล้ว ไห้บอกราวข่าวถึงหัวเมืองต่อกัน ไห้แต่งเรือรบเรือไล่ ออกช่วย ก้าวสะกัดติดตามรบพุ่งจับกุมเอาอ้ายสลัดแลญวนเหล่าร้าย ไห้เข็ดขามย่อท้อ หย่าไห้อ้ายสลัดสัตรู แลญวนเหล่าร้ายเล็ดลอดเข้ามาจับ ผู้คนข้าขอบขันทเสมาไปแต่คนหนึ่งได้เปนอันขาดทีเดียว ประการหนึ่ง เมืองแขกทั้งปวงยังไม่ราบคาบ ไห้แต่งหลวง ขุนหมื่น ทแกล้วทหานโดยควน สรรพไปด้วยปืนกะสุนดินประสิวเครื่องสาตราอาวุธครบมือ ออกไปตรวดด่านตระเวนด่าน สอดแนมเอา ๑๓

๙๘ ข่าวราชการไห้รู้ ถ้าได้ข่าวว่าเมืองแขกมิได้ตั้งหยู่ไนสุจริต คบ คิดกันจะยกเข้ามากะทำประทุสร้ายกับบ้านเมืองประการได พอกำลังกองตระเวนจะรบพุ่งจับกุมเอาตัวได้ ก็ไห้รบพุ่งจับตัวเองไห้จงได้ ถ้าเหลือกำลัง ไห้บอกหนังสือไปยังหัวเมือง ไห้แต่งกองช่วยรบ พุ่งเอาชัยชะนะไห้จงได้ อนึ่ง ทุกวันนี้การนรงค์สงครามยังไม่สงบ ไห้พระยานคร สรีธัมราช กรมการคิดอ่านปรึกสาหารือ จัดแจงบำรุงซ่อมสุมหมู่ โยธาทวยหาน ไห้ชำนิชำนานไนการสรรพยุทธไว้จงสัพ ถ้า เห็นพักพวกสมกำลังของผู้ไดองอาดสามาถกล้าหาน ก็ไห้จัดแจงทนุบำรุงตั้งแต่งเปนหลวงขุนหมื่น นายกองนายหมวดควบคุมเลกอาทมาตไว้เปนหมวดเปนเหล่าจงพร้อมมูล มีการนรงค์สงครามขุกค่ำคืนประการได จะได้กะเกนเอาทันท่วงทีราชการโดยสดวก อนึ่ง ไห้พระยานครสีธัมราช ปรึกสาหารือด้วยกรมการ ทั้งปวง จัดแจงชำระพระอัยการ แลพระราชกำหนดกดหมายเก่าไหม่บทไดข้อไดซึ่งต้องด้วยขนบทำเนียมแผ่นดิน เคยพิจารนาว่ากล่าว มาประการได ก็ไห้คงไว้บังคับบัญชาว่ากล่าวโดยพระราชกำหนด สำหรับแผ่นดินสืบไป ถ้าพระอัยการและพระราชกำหนดกดหมาย บทไดข้อไดเคลือบแคลงหยู่ จะเอาไว้พิจารนาชำระว่ากล่าวมิได้ ก็ ไห้จัดแจงบอกส่งเข้าไปขอลอกจำลองออกมาไหม่ ไว้บังคับบัญชาสำหรับแผ่นดินสืบไป ประการหนึ่ง ไห้พระยานครสรีธัมราช ว่าราชการบ้านเมืองพร้อมด้วยผู้ช่วยราชการ ปลัด ยกรบัตร กรมการ จงเปนยุภติ

๙๙ เปนธัม ไห้เปนเอกจิตเอกฉันท์น้ำหนึ่งใจเดียว หย่าไห้มีความฉันทา โทสาริสยาถือเปรียบขัดแก่งแย่งกัน ไห้เสียราชการแผ่นดินไปแต่สิ่งไดสิ่งหนึ่งได้ อนึ่ง จะพิจารนาพิพากสาอัถคดีเนื้อความของราสดรทั้งปวงโดยมูลคดีประการได หย่าไห้ตั้งหยู่ไนอคติทั้งสี่ คือ ฉันทาคติ โทสาคติ ภยาคติ โมหาคติ หย่าไห้กอบไปด้วยความอิจฉาริสยาพยาบาทอาคาตจองเวรด้วยภัยต่าง ๆ ไห้พิจารนาจงเปนยุกติเปนธัม โดยอุเบกขาญานอันประเสิถ หย่าไห้อาสัจอาธรรม์เห็นแก่หน้าบุคคล และอามิสสินจ้างสินบน เข้าด้วยบุคคลฝ่ายโจทฝ่ายจำเลย กลับเท็ดเปน จิง กลับจิงเปนเท็ด ทำกลบเกลื่อนข้อความไห้ฟั่นเฟือน ไห้ทวยราสดรทั้งปวงมีความยากแค้นเดือดร้อน ผิดด้วยพระราชกำหนดกดหมายเก่าไหม่ แต่สิ่งได่สิ่งหนึ่งได้ ประการหนึ่ง ไห้พระยานครสรีธัมราช มีน้ำไจโอบอ้อมแก่ สมนะชีพราหมน์อานาประชาราสดรไพร่พลเมืองลูกค้าวานิช ไห้ชักชวนกันทำบุนไห้ทาน จำเรินเมตตาภาวนา สดับตรับฟังพระธัม เทสนา รักสาสีลห้าเปนนิจสีล สีลแปดเปนอดิเรกสีลจงเนือง ๆ แลไห้ตั้งหยู่ไนทสกุสลกัมบถสิบประการโดยพระราชกำหนด ซึ่งโปรดพระราชทานออกไปไว้ ก็จะได้พาตัวไปสู่สุคติภูมิอันประเสิถ ประการหนึ่ง พึงไห้บำรุงพระสงค์เถรเนร ผู้เล่าเรียนฝ่าย คันถธุระ วิปัสสนาธุระ จงทุกวัดวาอาราม จะได้เปนการกุสลสืบไปพายหน้า ประการหนึ่ง ไห้ตรวดดูพระพุทธรูป พระสถูป พระเจดีย์

๑๐๐ พระสรีมหาโพธิ พระอุโบสถ พระวิหารการเปรียญ วัดวาอาราม แห่งไดตำบนได ซึ่งชำรุดปรักหักพังเส้าหมองหยู่นั้น ไห้ชักชวนพระหลวงขุนหมื่น กรมการ แลอานาประชาราสดรผู้มีสัรทธา บุรนะปติสังขรน์ขึ้น ไห้สุกไสรุ่งเรือง ถวายพระราชกุสลเข้าไป หย่าไห้วัด ปรักหักพังเส้าหมองหยู่ได้ ประการหนึ่ง ข้าวเปนกะทู้ราชการ ถ้าถึงเทสกาลทำนา ไห้ ตักเตืนว่ากล่าวแก่อาราประชาราสดร ไห้ชักชวนกันทำไร่นาเต็มภูม ไห้ได้ผลเมล็ดข้าวจงมาก จะได้เปนกำลังราชการ แลทำบุนไห้ทาน เปนการกุสลสืบไป อนึ่ง ไห้พระยานครสรีธัมราช กำชับห้ามปรามกรมการผู้ไหย่ ผู้น้อย เสมียนทะนายบ่าวไพร่ พักพวกสมกำลังข้าทาส หย่าไห้คบ หากันสูบฝิ่นกินฝิ่นซื้อฝิ่นขายฝิ่น เปนโจรผู้ร้ายปล้นสดมภ์ลักช้างม้า โคกะบือ ตัดพกฉกชิงวิ่งราว ฉ้อตระบัดเอาพัสดุทองเงินเครื่อง อัญมนี ของสมนะชีพราหมน์ อานาประชาราสดรลูกค้าวานิชทางบกทางเรือ แลคบหากันทำลายพระพุทธรูป พระสถูป พระเจดีย์ พระ สรีมหาโพธิ พระอุโบสถ พระวิหารการปเรียนกุดีสาลาอาราม ค่า ช้างเอางาแลขนาย ค่าสัตว์อันมีคุน ตัดต้นไม้อันมีผล ทำไห้ผิดด้วยพระราชกำหนดกดหมายห้ามปรามเก่าไหม่ แต่สิ่งไดสิ่งหนึ่งได้เปนอันขาดทีเดียว ถ้าผู้ไดมิฟัง จะเอาตัวเปนโทสตามโทสานุโทส อนึ่ง ถ้าพระยานครสรีธัมราช จะมีไจปติพัทธ์ยินดีไนสตรีภาพ ผู้ได อันมีบิดามารดาญาติวงส์พงสา ปกครองหยู่โดยปกติ ก็ไห้ตกแต่งผู้ไปว่ากล่าวสู่ขอตามทำเนียม ยอมยกไห้ปันโดยปรกติสุจริต จึงไห้รับ

๑๐๑ มาเลี้ยงดูตามประเพนีโลก หย่าไห้ทำข่มเหงฉุดคร่าเอาลูกสาวหลานสาวของอานาประชาราสดร ผู้หวงแหนโดยพลการของอาตมาตาม อิตถารมน์ ไห้ราสดรมีความวิบัติเดือดร้อน ผิดด้วยพระราชบัญญัติแต่สิ่งไดสิ่งหนึ่งได้ อนึ่ง ส่วยสาอากรซึ่งขึ้นท้องพระคลังหลวง นะกรุงเทพพระมหานครบันดามีหยู่นะเมืองนครสรีธัมราช แขวงหัวเมืองขึ้นกับเมืองนคร สรีธัมราช เปนจำนวนมากน้อยเท่าได ถ้าถึงงวดถึงจำนวน จะได้ส่ง ก็ไห้พระยานครสรีธัมราชว่าแก่กรมการเจ้าพนักงาน ไห้ว่ากล่าวแก่นายที่นายอากร ไห้เร่งคุมส่วยของหลวงค้างเกินล่วงงวดล่วงจำนวนไปแต่สิ่งไดสิ่งหนึ่งได้ ซึ่งว่ากล่าวมาทั้งนี้ตามกดหมายหย่างทำเนียมโดยประมานไห้พระยานครสรีธัมราช พึงอ่านพระราชกำหนดโดยพระราชโอวาทนี้ จงเนือง ๆ ไห้เจนปากเจนไจทุกข้อทุกกะทง จะได้บังคับบัญชากิจราชการ ไห้เปนยุกติเปนธัมสืบไป ถ้าแลราชการผันแปรโดยปรกติเหตุ แลประจุบันเหตุประการได ก็ไห้คิดอ่านผ่อนปรนผันแปรโดยข้อราชการไห้ชอบจงทุกประการ สุดแต่หย่าไห้เสียราชการแผ่นดินพระพุทธเจ้าหยู่หัว ไปแต่สิ่งไดสิ่ง หนึ่งได้ กดไห้ไว้นะวันพุธเดือนยี่ ขึ้น ๑๐ ค่ำ ปีฉลู นักสัตร ตรีสก (พ.ส. ๒๓๘๔) พระยานครสรีธัมราช (น้อยกลาง นะนคร) ปติบัติหน้าที่ราชการมาโดยความเรียบร้อย จนถึง พ.ส. ๒๓๙๕ จึงโปรดไห้เลื่อน ขึ้นเปนเจ้าพระยานครดังสำเนาสารตราต่อไปนี้

๑๐๒ สารตาท่านเจ้าพระยาอัคมหาเสนาธิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ สมุหพระกลาโหม ไห้มาแก่พระวิชิตสรไกร อภัยภักดี ปลัด หลวง ภักดีราช ยกรบัตร กรมการ ผู้หยู่รักสาเมืองนครสรีธัมราช ด้วยมีพระบรมราชโองการตรัดเหนือเกล้าเหนือกะหม่อม สั่งว่า โปรดเกล้าโปรดกะหม่อม ตั้งไห้พระยานครสรีธัมราชออกไปรักสา บ้านเมืองตั้งแต่ปีกุนเอกสก มาจนปีชวดจัตวาสก ได้ ๑๓ - ๑๔ ปีแล้ว ผู้คนไทยจีนแขก ก็บริบูรน์มากขึ้นกว่าแต่ก่อน มีจำนวนสักถึงหมื่น เสส ถ้อยความสิ่งไรก็มิได้เกี่ยวข้องไห้เคืองไต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ทำอากรดีบุกของหลวง ก็ได้มากขึ้นกว่าแต่ก่อน ถึงกำหนดงวดกำหนด ปีจะส่งอากรดีบุกเสสดีบุกส่วยหางข้าวค่านาครบจำนวนทุกปี มิได้ขาดค้างล่วงงวดล่วงปีแต่สิ่งไดสิ่งหนึ่ง พระยานครสรีธัมราชจงรักภักดีต่อไต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทสัจซื่อมั่นคงเปนความชอบ สมควนเปนผู้ไหย่ได้ จึงโปรดเกล้าโปรดกะหม่อม เลื่อนไห้เปนเจ้าพระยานครสรีธัมราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยาธิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ ผู้สำเหร็ดราชการ เมืองนครสรีธัมราช ไห้เกียรติยสไหย่ยิ่งขึ้น กรมการผู้ไหย่ผู้น้อย ไพร่บ้านพลเมือง จะได้ยำเกรงกว่าแต่ก่อน กิติสัพย์ปรากตไป นอกประเทส ก็จะได้เปนที่นับถือแก่หัวเมืองไทยแขกมลายู โปรด พระราชทานแหวนมนดปสีสะเพ็ชรวงหนึ่ง เสื้อเข้มขาบริ้วมะลิเลื้อย ดีตัวหนึ่ง แพรหงอนไก่ขาวห่มผืนหนึ่ง ผ้าปูมเขมนผืนหนึ่ง ไห้ เจ้าพระยานครสรีธัมราชตั้งไจทำราชการสนองพระเดชพระคุน รักสาบ้านเมืองขอบขันทเสมา ปราบปรามโจรผู้ร้าย หย่าไห้ปล้นสดมภ์ ย่องเบา ฉก ชิง วิ่งราว ลอบลัก ค่าฟันกันล้มตายไนบ้านไนเมือง


๑๐๓ แลป้องกันข้าสึกสลัดสัตรูนอกประเทสไนประเทส หย่าไห้ลักลอบมา กะทำย่ำยีเรือลูกค้าพานิช จับกุมผุ้คนไนเขตแดนไต้ แลเมือง นครสรีธัมราช ไพร่บ้านพลเมืองเปนไทย จีน แขก หลายชาติ หลายพาสา ราชการงานโยธาสิ่งได ก็ไม่กะเกนเหมือนกับหัวเมือง ชั้นไน ซึ่งไกล้กรุงเทพมหานคร ไห้เจ้าพระยานครสรีธัมราชกำชับ กำชาเจ้าหมู่มูลนาย หย่าไห้ไช้สอยไพร่ซึ่งมิได้เปนราชการบ้านเมือง แลหย่าไห้เบียดเบียนเอาพัสดุทองเงิน ไห้ได้ความยากแค้นอพยพหลบหนีไปหยู่นอกเขตแดนได้ ไห้เจ้าพระยานครสรีธัมราช เอาใจใส่ ดูแลทำนุบำรุงไพร่บ้านเมืองไห้หยู่เย็นเปนสุข ไห้ทำมาหากินตาม ภูมิลำเนาเปนปรกติ ผู้คนหลบหนีไปแต่ก่อนนั้น คนที่เมืองนครสรี ธัมราชก็ดี แลคนหัวเมืองปักส์ไต้จะเปนคนเมืองไดก็ดี ไพร่สมัค หยู่กับเจ้าพระยานครสรีธัมราช ไห้เจ้าพระยานครสรีธัมราช คิด อ่านชักชวนเกลี้ยกล่อมเอามาไส่บ้านเมือง ไห้สมควนที่ซงพระมหากรุนาชุบเลี้ยง ไห้เจ้าพระยานครสรีธัมราช รักสาบ้านเมืองขอบขันทเสมา สำเหร็ดกิจสุขทุขอานาประราสดรโดยยุติธัมตามท้องตรา และ พระราชโอวาทสำหรับตำแหน่งที่ ซึ่งโปรดเกล้าโปรดกะหม่อมออก มาแต่ก่อนจงทุกประการ ไห้เจ้าพระยานครสรีธัมราช ทำราชการ สนองพระเดชพระคุนสืบต่อไป สารตราไห้มานะวันพรึหัสบดีเดือน ๙ แรม ๑๒ ค่ำ จุลสักราช ๑๒๑๔ ปีชวดนักสัตรจัตวาสก (พ.ส. ๒๓๙๕) เจ้าพระยานคร (น้อยกลาง นะนคร) มีบุตรธิดา ดังปรากตชื่อ หยู่ไนหนังสือลำดับสกุลเชื้อสายพระราชวงส์กรุงธนบุรี ชั้น ๔ คือ

๑๐๔ (๑) เจ้าพระยาสุธัมมนตรีสรีธัมราช มาตยพงส์สถาพร บวรเดโชไชย อพัยพิริยปรากรมพาหุ (หนูพร้อม นะนคร) จางวางเมืองนครสรีธัมราช (๒) พระสิริธัมบริรักส์ (ถัด นะนคร) ปลัดเมืองนครสรีธัมราช (๓) พระยาบริรักส์ภูเบสร (เอี่ยม นะนคร) (๔) เจ้าจอมอิ่ม นะนคร ไนรัชกาลที่ ๔ (๕) หยิง กลาง นะนคร (๖) เจ้าจอมสว่าง นะนคร ไนรัชกาลที่ ๕ (๗) หลวงอนุสรสิทธิกัม (บัว นะนคร) (๘) ชาย เกส นะนคร (๙) หยิง นุ้ยขลิบ นะนคร (๑๐) หยิง นุ้ยทิม นะนคร





พิมพ์ที่โรงพิมพ์ไทยพนิชยการ ถนนสีลม พระนคร. นายพรต พุทธินันท์ ผู้พิมพ์และโคสนา ๕ กันยายน


งานนี้เป็นสาธารณสมบัติ เนื่องจากต้องด้วยหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗

  • (๑) เป็นภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง หรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพ ที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับห้าสิบปี นับแต่วันสร้างสรรค์ขึ้นครั้งแรก (หรือวันที่มีการเผยแพร่งานครั้งแรก) แล้วแต่ว่ากรณีใดปรากฏก่อน
  • (๒) เป็นงานศิลปประยุกต์ ที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับยี่สิบห้าปี นับแต่วันสร้างสรรค์หรือเผยแพร่ครั้งแรก
  • (๓) เป็นงานโดยผู้ไม่เปิดเผยชื่อหรือผู้ใช้นามแฝง ที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับห้าสิบปี นับแต่วันสร้างสรรค์หรือเผยแพร่ครั้งแรก
  • (๔) เป็นงานในหมวดหมู่อื่น ๆ ที่ไม่เข้าเกณฑ์ข้างต้น และผู้สร้างสรรค์คนสุดท้ายถึงแก่ความตายมากว่าห้าสิบปีแล้ว
  • (๕) เป็นกรณีที่ผู้สร้างสรรค์งานนี้ไม่ปรากฏ ผู้สร้างสรรค์งานนี้เป็นนิติบุคคล หรือตายก่อนการเผยแพร่งาน ประกอบกับงานนี้มีอายุอย่างน้อยห้าสิบปี นับแต่วันเผยแพร่งานครั้งแรก