ผู้สร้างสรรค์:พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)
หน้าตา
←รายชื่อ: ศ | ศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร), พระยา (พ.ศ. 2365–2434) |
ขุนนางชาวสยาม ดำรงตำแหน่งเจ้ากรมพระอาลักษณ์และอื่น ๆ |
งาน
[แก้ไข]- คำนมัสการคุณานุคุณ (หลายฉบับ)
- นิติสารสาธก (2503) (เริ่มดัชนี)
- ปกีรณำพจนาดถ์ (2473) (เริ่มดัชนี)
- พรรณพฤกษากับสัตวาภิธาน (2471) (เริ่มดัชนี)
- มูลบทบรรพกิจ วาหนิติ์นิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน ไวพจน์พิจารณ์ พิศาลการันต์ (2501) (เริ่มดัชนี)
- มหาสุปัสสีชาดก (2467) (เริ่มดัชนี)
- "วิธีสอนหนังสือไทย", ใน โบราณศึกษาและวิธีสอนหนังสือไทย (2502) (เริ่มดัชนี)
- ไวพจน์ประพันธ์ (2503) (เริ่มดัชนี)
- อนันตวิภาค (2445) (เริ่มดัชนี)
งานที่เกี่ยวข้อง
[แก้ไข]- ประวัติของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย) (2434) (เริ่มดัชนี)
- เสด็จพระราชดำเนินพระราชทานเพลิงศพพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย) (2438) (เริ่มดัชนี)
งานที่บุคคลนี้สร้างสรรค์ขึ้น ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก