ผู้ใช้:Patsagorn Y./กระบะทราย/2022-06-02/หมายเหตุสำหรับตัวเองเรื่องหลักภาษาไทย

จาก วิกิซอร์ซ
{{c|ไวยากรณ์ไทย

{{fs|120%|อักขรวิธี}}

{{สกอ|sp|50|clr|10|fl|12|d|10|fr|12|cll|10|sp|50}}

คำอธิบาย
}}

{{กม|สย|อักขระวิธี}}

{{กม|ข|๑}}อักขระ เป็นภาษาบาลี ได้แก่ ‘อักษร’ ในภาษาสันสกฤต แปลเอาความว่า ตัวหนังสือ คือเครื่องหมายที่เขียนแทนถ้อยคำที่พูดจากัน
ไวยากรณ์ไทย

อักขรวิธี

คำอธิบาย

อักขระวิธี ข้อ  อักขระ เป็นภาษาบาลี ได้แก่ ‘อักษร’ ในภาษาสันสกฤต แปลเอาความว่า ตัวหนังสือ คือเครื่องหมายที่เขียนแทนถ้อยคำที่พูดจากัน


{{กม|วล|๑}}[[#ภ๑|ภาคที่ ๑]] ว่าด้วยลักษณะอักษร

{{กม|วล|๒}}[[#ภ๒|ภาคที่ ๒]] ว่าด้วยวิธีประสมอักษร

{{กม|วล|๓}}[[#ภ๓|ภาคที่ ๓]] ว่าด้วยวิธีใช้อักษร
{{เส้นตรง|7em}}

(๑) ภาคที่ ๑ ว่าด้วยลักษณะอักษร

(๒) ภาคที่ ๒ ว่าด้วยวิธีประสมอักษร

(๓) ภาคที่ ๓ ว่าด้วยวิธีใช้อักษร



{{กม|ภ|๑|ลักษณะอักษร}}

{{กม|สย|เสียงในภาษาไทย}}

{{กม|ข|๒|.}}บรรดาเสียงในภาษาไทยที่ใช้พูดจากันมีอยู่ ๓ อย่าง คือ:–

ภาคที่ ๑ ลักษณะอักษร

เสียงในภาษาไทย

ข้อ ๒. บรรดาเสียงในภาษาไทยที่ใช้พูดจากันมีอยู่ ๓ อย่าง คือ:–


{{กม|สญ|สระ}}
{{กม|สย|รูปสระ}}

สระ

รูปสระ


{| style="text-align: center;"
| ||๑||๒||๓||๔||๕
|-
|{{nowrap|วรรค กะ}}||ก||ข||ค||ฆ||ง
|-
|{{nowrap|วรรค จะ}}||จ||ฉ||ช||ฌ||ญ
|-
|{{nowrap|วรรค ฏะ}}||ฏ||ฐ||ฑ||ฒ||ณ
|-
|{{nowrap|วรรค ตะ}}||ต||ถ||ท||ธ||น
|-
|{{nowrap|วรรค ปะ}}||ป||ผ||พ||ภ||ม
|-
|{{nowrap|เศษ วรรค}}||colspan="5"|{{#invoke:แบ่ง|gap|ย|ร|ล|ว|ส|ห|ฬ|{{nowrap|ํ (นิคหิต)}}}}
|}
วรรค กะ
วรรค จะ
วรรค ฏะ
วรรค ตะ
วรรค ปะ
เศษ วรรค        ํ (นิคหิต)

{{กม|ขวล|๔|๓}}วิธีประสมอักษรเอาสระไว้ข้างหน้าบ้าง ข้างหลังบ้าง ข้างบนบ้าง ข้างล่างบ้าง

(๓) วิธีประสมอักษรเอาสระไว้ข้างหน้าบ้าง ข้างหลังบ้าง ข้างบนบ้าง ข้างล่างบ้าง


นอกจากรูปวรรณยุกต์นี้ ยังมีวิธีบอกเสียงวรรณยุกต์ได้อีก โดยกำหนดพยัญชนะ ดังจะอธิบายต่อไปในข้างหน้า {{กม|ขวล1|๑๘|๒}}

นอกจากรูปวรรณยุกต์นี้ ยังมีวิธีบอกเสียงวรรณยุกต์ได้อีก โดยกำหนดพยัญชนะ ดังจะอธิบายต่อไปในข้างหน้า ข้อ ๑๘ (๒)


{{กม|ขวล|๑๘|๑}}วรรณยุกต์มีรูป คือ วรรณยุกต์ที่ต้องใช้รูปวรรณยุกต์ คือ ไม้ -่ -้ -๊ -๋ บังคับข้างบน เช่น กา ก้า ก๊า, ข่า {{ปีกกาในบรรทัด|ข้า|ค่า}} ค้า

(๑) วรรณยุกต์มีรูป คือ วรรณยุกต์ที่ต้องใช้รูปวรรณยุกต์ คือ ไม้ -่ -้ -๊ -๋ บังคับข้างบน เช่น กา ก้า ก๊า, ข่า ข้า
ค่า
ค้า


{{u|คำเป็น}} พื้นเสียงเป็นจัตวา ผันด้วยไม้ -่ -้ เป็นเสียง เอก โท ตามลำดับดังนี้ ขา ข่า ข้า, ขัง ขั่ง ขั้ง
{{u|คำตาย}} พื้นเสียงเป็นเสียงเอกผันด้วยไม้ -้ ก็เป็นเสียง โท ดังนี้ ขะ ข้ะ, ขาก ข้าก

คำเป็น พื้นเสียงเป็นจัตวา ผันด้วยไม้ -่ -้ เป็นเสียง เอก โท ตามลำดับดังนี้ ขา ข่า ข้า, ขัง ขั่ง ขั้ง คำตาย พื้นเสียงเป็นเสียงเอกผันด้วยไม้ -้ ก็เป็นเสียง โท ดังนี้ ขะ ข้ะ, ขาก ข้าก