ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Paul 012/Sandbox

จาก วิกิซอร์ซ

ความนำ

[แก้ไข]

ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการด้านต่าง ๆ ของโลกยุคโลกาภิวัตน์ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทยด้วย จึงมีความจำเป็นที่จะต่องปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาของชาติ ซึ่งถือเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศเพื่อสร้างคนไทยให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพพร้อมที่จะแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในเวทีโลก

หลักสูตรการศึกษาของประเทศที่ใชอยู คือหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๓๓) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๓๓) และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๒๔ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๓๓) ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการโดยกรมวิชาการไดติดตามผลและดำเนินการวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักสูตรตลอดมา ผลการศึกษาพบวา หลักสูตรที่ใชอยูในปจจุบันนานกวา ๑๐ ป มีขอจำกัดอยูหลายประการ ไมสามารถสงเสริมใหสังคมไทยกาวไปสูสังคมความรูไดทันการณ ในเรื่องที่สำคัญดังตอไปนี้

๑. การกำหนดหลักสูตรจากสวนกลางไมสามารถสะทอนสภาพความตองการที่แทจริงของสถานศึกษาและทองถิ่น

๒. การจัดหลักสูตรและการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ยังไมสามารถผลักดันใหประเทศไทยเปนผูนำดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีในภูมิภาค จึงจำเปนตองปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนใหคนไทยมีทักษะกระบวนการและเจตคติที่ดีทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีความคิดสรางสรรค

๓. การนำหลักสูตรไปใชยังไมสามารถสรางพื้นฐานในการคิด สรางวิธีการเรียนรูใหคนไทยมีทักษะในการจัดการและทักษะในการดำเนินชีวิต สามารถเผชิญปญหาสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วไดอยางมีประสิทธิภาพ

๔. การเรียนรูภาษาตางประเทศยังไมสามารถที่จะทำใหผูเรียนใชภาษาตางประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษในการติดตอสื่อสารและการคนควาหาความรูจากแหลงการเรียนรูที่มีอยูหลากหลายในยุคสารสนเทศ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ กำหนดใหบุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวาสิบสองป ที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย การจัดการศึกษาอบรมของรัฐ ตองคำนึงถึงการมีสวนรวมขององคกรปกครองทองถิ่นและชุมชน ประกอบกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดกำหนดใหการศึกษาเปนกระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรคความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอมสังคมแหงการเรียนรู และปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคลเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข เปดโอกาสใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา พัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง

นอกจากนี้ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติดังกลาวไดกำหนดใหมีการจัดทำหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อความเปนไทย ความเปนพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาตอ และใหสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทำสาระของหลักสูตร ในสวนที่เกี่ยวกับสภาพปญหาในชุมชน และสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงคเพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัวชุมชน สังคม และประเทศชาติ และพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติดังกลาว กำหนดใหมีการศึกษาภาคบังคับ จำนวน ๙ ป

ดวยวิสัยทัศนของรัฐที่เชื่อมั่นในนโยบายการศึกษาในการสรางคน สรางงานเพื่อชวยกอบกูวิกฤตเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เปนการสรางชาติใหมั่นคงไดอยางยั่งยืน เชื่อมั่นในนโยบายการศึกษาในการสรางชาติ ปรับโครงสรางและระบบการศึกษายึดหลักการบริหารจัดการที่เนนคุณภาพ ประสิทธิภาพและความเสมอภาค ใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเชื่อมั่นในนโยบายการศึกษาเพื่อสรางคน บูรณาการการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมในการปฏิรูปการเรียนรู และเชื่อมั่นในนโยบายการศึกษาเพื่อสรางงานสรางเยาวชนใหมีความรูคูกับการทำงาน กระทรวงศึกษาธิการโดยอาศัยอำนาจตามความในบทเฉพาะกาลมาตรา ๗๔ แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงเห็นสมควรกำหนดใหมีหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ โดยยึดหลักความมีเอกภาพดานนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏิบัติ กลาวคือเปนหลักสูตรแกนกลางที่มีโครงสรางหลักสูตรยืดหยุน กำหนดจุดหมาย ซึ่งถือเปนมาตรฐานการเรียนรู้ในภาพรวม ๑๒ ป สาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรูแตละกลุม มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น เปนชวงชั้นละ ๓ ป จัดเฉพาะสวนที่จำเปนสำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความ เปนไทย ความเปนพลเมืองดีของชาติ การดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาตอ ใหสถานศึกษาจัดทำสาระในรายละเอียดเปนรายปหรือรายภาคใหสอดคล้องกับสภาพปญหาในชุมชน สังคม ภูมิปญญาทองถิ่น คุณสมบัติอันพึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รวมถึงจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียนแตละกลุมเปาหมายดวย

การจัดการศึกษามุงเนนความสำคัญทั้งดานความรู ความคิด ความสามารถคุณธรรม กระบวนการเรียนรู และความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อพัฒนาคนใหมีความสมดุล โดยยึดหลักผูเรียนสำคัญที่สุด ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ใหความสำคัญตอความรูเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมทั้งความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตร ความเปนมาของสังคมไทย และระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความรูความเขาใจและประสบการณเรื่องการจัดการ การบำรุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลยั่งยืน ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใชภูมิปญญา ความรูและทักษะดานคณิตศาสตรและดานภาษา เนนการใชภาษาไทยอยางถูกตอง ความรูและทักษะในการประกอบอาชีพ การดำรงชีวิตในสังคมอยางมีความสุข

สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรูที่มุงเนนการฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใชปองกันและแกไขปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทำได คิดเปน ทำเปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนื่องผสมผสานสาระความรูดานตางๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน ปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกกลุมสาระการเรียนรู อำนวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู โดยคำนึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน และจัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานที่ และสามารถเทียบโอนผลการเรียนและประสบการณไดทุกระบบการศึกษา

อนึ่ง เพื่อใหการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานบรรลุจุดหมายที่กำหนดไว สถานศึกษาตองมีการประสานสัมพันธ และรวมมือกับบิดามารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนใหการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาเปนไปอยางตอเนื่อง นอกจากนั้น กระทรวงศึกษาธิการยังจำเปนตองสนับสนุน สงเสริมดานการพัฒนาแหลงเรียนรูทั้งในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา ใหครอบคลุมหลักสูตรและกวางขวางยิ่งขึ้น เพื่อการพัฒนาไปสูความเปนสากล ทั้งนี้กระทรวงศึกษาธิการจะไดจัดทำเอกสารประกอบหลักสูตร เชน คูมือการใชหลักสูตร แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา คูมือครู เอกสารประกอบหลักสูตรกลุมสาระตางๆ แนวทางการวัดและประเมินผล การจัดระบบแนะแนวในสถานศึกษา การวิจัยในสถานศึกษาและการใชกระบวนการวิจัยในการพัฒนาการเรียนรู ตลอดจนเอกสารประชาสัมพันธหลักสูตรใหประชาชนทั่วไป ผูปกครอง และผูเรียนมีความเขาใจและรับทราบบทบาทของตนในการพัฒนาตนเองและสังคม

หลักการ

[แก้ไข]

เพื่อใหการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนไปตามแนวนโยบายการจัดการศึกษาของประเทศ จึงกำหนดหลักการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไวดังนี้

๑. เปนการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มุงเนนความเปนไทยควบคูกับความเปนสากล

๒. เปนการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนจะไดรับการศึกษาอยางเสมอภาคและเทาเทียมกัน โดยสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

๓. สงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาและเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต โดยถือวาผูเรียนมีความสำคัญที่สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ

๔. เปนหลักสูตรที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระ เวลา และการจัดการเรียนรู ๕. เปนหลักสูตรที่จัดการศึกษาไดทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมายสามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ์

จุดหมาย

[แก้ไข]

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณ เปนคนดี มีปญญา มีความสุข และมีความเปนไทย มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดจุดหมายซึ่งถือเปนมาตรฐานการเรียนรูใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงคดังตอไปนี้

๑. เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมอันพึงประสงค

๒. มีความคิดสรางสรรค ใฝรู ใฝเรียน รักการอาน รักการเขียน และรักการคนควา

๓. มีความรูอันเปนสากล รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ มีทักษะและศักยภาพในการจัดการ การสื่อสารและการใชเทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทำงานไดเหมาะสมกับสถานการณ

๔. มีทักษะและกระบวนการโดยเฉพาะทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ทักษะการคิด การสรางปญญา และทักษะในการดำเนินชีวิต ๕. รักการออกกำลังกาย ดูแลตนเองใหมีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี

๖. มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค มีคานิยมเปนผูผลิตมากกวาเปนผูบริโภค

๗. เขาใจในประวัติศาสตรของชาติไทย ภูมิใจในความเปนไทย เปนพลเมืองดี ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

๘. มีจิตสำนึกในการอนุรักษภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดลอม

๙. รักประเทศชาติและทองถิ่น มุงทำประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามใหสังคม

โครงสร้าง

[แก้ไข]

เพื่อใหการจัดการศึกษาเปนไปตามหลักการ จุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูที่กำหนดไวใหสถานศึกษาและผูที่เกี่ยวของมีแนวปฏิบัติในการจัดหลักสูตรสถานศึกษา จึงไดกำหนดโครงสรางของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานดังนี้

๑. ระดับชวงชั้น

กำหนดหลักสูตรเปน ๔ ชวงชั้น ตามระดับพัฒนาการของผูเรียน ดังนี้
ชวงชั้นที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ - ๓
ชวงชั้นที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ - ๖
ชวงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ - ๓
ชวงชั้นที่ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ - ๖

๒. สาระการเรียนรู

กำหนดสาระการเรียนรูตามหลักสูตร ซึ่งประกอบดวยองคความรู ทักษะ หรือกระบวนการการเรียนรู และคุณลักษณะหรือคานิยม คุณธรรม จริยธรรมของผูเรียนเปน ๘ กลุม ดังนี้
๒.๑ ภาษาไทย
๒.๒ คณิตศาสตร
๒.๓ วิทยาศาสตร
๒.๔ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๒.๕ สุขศึกษาและพลศึกษา
๒.๖ ศิลปะ
๒.๗ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๒.๘ ภาษาตางประเทศ

สาระการเรียนรูทั้ง ๘ กลุมนี้เปนพื้นฐานสำคัญที่ผูเรียนทุกคนตองเรียนรู โดยอาจจัดเปน ๒ กลุม คือ กลุมแรก ประกอบดวย ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เปนสาระการเรียนรูที่สถานศึกษาตองใชเปนหลักในการจัดการเรียนการสอนเพื่อสรางพื้นฐานการคิดและเปนกลยุทธในการแกปญหาและวิกฤตของชาติ กลุมที่สอง ประกอบดวย สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาตางประเทศ เปนสาระการเรียนรูที่เสริมสรางพื้นฐานความเปนมนุษยและสรางศักยภาพในการคิดและการทำงานอยางสรางสรรค

เรื่องสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรูไวในสาระการเรียนรูกลุมตาง ๆ โดยเฉพาะ กลุมวิทยาศาสตร กลุมสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุมสุขศึกษาและพลศึกษา

กลุมภาษาตางประเทศ กำหนดใหเรียนภาษาอังกฤษทุกชวงชั้น สวนภาษาตางประเทศอื่นๆ สามารถเลือกจัดการเรียนรูไดตามความเหมาะสม

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดสาระการเรียนรูในแตละกลุมไวเฉพาะสวนที่จำเปนในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนทุกคนเทานั้น สำหรับสวนที่ตอบสนองความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียนแตละคนนั้นสถานศึกษาสามารถกำหนดเพิ่มขึ้นไดใหสอดคลองและสนองตอบศักยภาพของผูเรียนแตละคน

๓. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

เปนกิจกรรมที่จัดใหผูเรียนไดพัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ มุงเนนเพิ่มเติมจากกิจกรรมที่ไดจัดใหเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง ๘ กลุม การเขารวมและปฏิบัติกิจกรรมที่เหมาะสมรวมกับผูอื่นอยางมีความสุขกับกิจกรรมที่เลือกดวยตัวเองตามความถนัดและความสนใจอยางแทจริง การพัฒนาที่สำคัญ ไดแก การพัฒนาองครวมของความเปนมนุษยใหครบทุกดาน ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม โดยอาจจัดเปนแนวทางหนึ่งที่จะสนองนโยบายในการสรางเยาวชนของชาติใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย และมีคุณภาพ เพื่อพัฒนาองครวมของความเปนมนุษยที่สมบูรณ ปลูกฝงและสรางจิตสำนึกของการทำประโยชนเพื่อสังคม ซึ่งสถานศึกษาจะตองดำเนินการอยางมีเปาหมาย มีรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสม กิจกรรมพัฒนาผูเรียนแบงเปน ๒ ลักษณะ คือ
๓.๑ กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเหมาะสมตามความแตกตางระหวางบุคคล สามารถคนพบและพัฒนาศักยภาพของตน เสริมสรางทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ การเรียนรูในเชิงพหุปญญา และการสรางสัมพันธภาพที่ดี ซึ่งผูสอนทุกคนตองทำหนาที่แนะแนวใหคำปรึกษาดานชีวิต การศึกษาตอและการพัฒนาตนเองสูโลกอาชีพและการมีงานทำ
๓.๒ กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมที่ผูเรียนเปนผูปฏิบัติดวยตนเองอยางครบวงจร ตั้งแตศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทำงาน โดยเนนการทำงานรวมกันเปนกลุม เชน ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบำเพ็ญประโยชน เปนตน

๔. มาตรฐานการเรียนรู

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู ๘ กลุม ที่เปนขอกำหนดคุณภาพผูเรียนดานความรู ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมของแตละกลุม เพื่อใชเปนจุดมุงหมายในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค ซึ่งกำหนดเปน ๒ ลักษณะ คือ
๔.๑ มาตรฐานการเรียนรูการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เปนมาตรฐานการเรียนรูในแตละกลุมสาระการเรียนรู เมื่อผูเรียนเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๔.๒ มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น
เปนมาตรฐานการเรียนรูในแตละกลุมสาระการเรียนรู เมื่อผูเรียนเรียนจบในแตละชวงชั้น คือ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ และ ๖ และชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ และ ๖
มาตรฐานการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดไวเฉพาะมาตรฐานการเรียนรูที่จำเปนสำหรับการพัฒนาคุณภาพผูเรียนทุกคนเทานั้น สำหรับมาตรฐานการเรียนรูที่สอดคลองกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตลอดจนมาตรฐานการเรียนรูที่เขมขึ้น ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน ใหสถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติมได

๕. เวลาเรียน

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดเวลาในการจัดการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผูเรียนไวดังนี้
ชวงชั้นที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑-๓ มีเวลาเรียนประมาณปละ ๘๐๐-๑,๐๐๐ ชั่วโมง
โดยเฉลี่ยวันละ ๔ - ๕ ชั่วโมง
ชวงชั้นที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔-๖ มีเวลาเรียนประมาณปละ ๘๐๐-๑,๐๐๐ ชั่วโมง
โดยเฉลี่ยวันละ ๔ - ๕ ชั่วโมง
ชวงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ มีเวลาเรียนประมาณปละ๑,๐๐๐-๑,๒๐๐ ชั่วโมง
โดยเฉลี่ยวันละ ๕ - ๖ ชั่วโมง
ชวงชั้นที่ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔-๖ มีเวลาเรียนปละไมนอยกวา ๑,๒๐๐ ชั่วโมง
โดยเฉลี่ยวันละไมนอยกวา ๖ ชั่วโมง