ผู้ใช้:Wutkh/ทดลองเขียน

จาก วิกิซอร์ซ
คำพิพากษาศาลพิเศษ
พุทธศักราช ๒๔๘๒
เรื่องกบฏ
กรมโฆษณาการ
คำนำ

เนื่องด้วยกรมโฆษณาการได้พิจารณาเห็นว่า คำพิพากษาศาลพิเศษ พุทธศักราช ๒๔๘๒ เรื่อง กบฏนั้น เป็นคำพิพากษาที่มีความสำคัญในทางการเมืองของประเทศไทยอยู่เป็นอันมาก เพราะคำพิพากษานี้ได้เรียบเรียงขึ้นอย่างละเอียด แสดงบรรยายถึงเหตุการณ์ทางการเมืองภายในตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราช์ มีรัฐธรรมนูญขึ้นเป็นต้นมาจนกระทั่งทุกวันนี้ คำพิพากษานี้จึ่งเป็นเอกสารที่มีหลักฐานยิ่ง ข้อเท็จจริงที่สำคัญต่าง ๆ ในทางการเมืองของประเทศไทยในระยะ ๗ ปีเศษมานี้ ได้มีกล่าวไว้ในคำพิพากษาคดีกบฏนี้ด้วยความยุตติธรรม สมควรที่ประชาชาวไทยในระบบรัฐธรรมนูญจักพึงทราบไว้ ประกอบกับที่ได้มีบุคคลเป็นจำนวนมากขอร้องมายังกรมโฆษณาการให้จัดพิมพ์ขึ้น ฉะนั้นกรมโฆษณาการจึ่งได้จัดพิมพ์คำพิพากษาคดีกบฏนี้ขึ้นเป็นเล่มออกจำหน่าย ด้วยราคาเพียงเล็กน้อย หวังว่า สมุดเล่มนี้คงจะอำนวยประโยชน์ให้แก่ผู้ต้องการได้ตามสมควร

อนึ่ง เนื่องด้วยกรณีกบฏคราวนี้เป็นเหตุการณ์ที่สำคัญประการหนึ่ง กรมโฆษณาการจึ่งได้ดำริที่จะจัดพิมพ์สมุดขึ้นอีกเล่มหนึ่งต่างหาก เป็นสมุดทำนองประวัติศาสตร์แห่งกรณีคราวนี้ โดยกำหนดจักรวบรวมบรรดาข่าวราชการและกรณีอื่นทั้งมวลที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งหลักฐานเอกสารที่สำคัญ กับรูปภาพบรรดาบุคคลในคณะรัฐบาล สภาผู้แทนราษฎร และศาลพิเศษลงประกอบด้วย ซึ่งกรมโฆษณาการจะได้ประกาศให้ทราบอีกขั้นหนึ่งต่อไป

สำหรับคำพิพากษาศาลพิเศษที่จัดพิมพ์ขึ้นนี้ ทางราชการได้สงวนห้ามมิให้โฆษณาย่อหรือหยิบยกตอนใดขึ้นโฆษณาโดยฉะเพาะ กรมโฆษณาการจึ่งขอกำชับมา ณ ที่นี้ด้วย

กรมโฆษณาการ
๗ ธันวาคม ๒๔๘๒
คำพิพากษาศาลพิเศษนี้
ห้ามโฆษณาย่อ
หรือหยิบยกตอนใดขึ้นโฆษณา
โดยฉะเพาะ
คำพิพากษา
คดีดำที่ ๑ ถึง ๑๔ พ.ศ. ๒๔๘๒
คดีแดงที่ ๑ ถึง ๑๔ พ.ศ. ๒๔๘๒


ศาลพิเศษ
วันที่ ๒๐ เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๘๒
ความอาญา


อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
นายลี บุญตา ที่ ๑ จำเลย
นายพันโท พระสุรรณชิต (วร กังสวร) ที่ ๒


อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
นายร้อยโท ณเณร ตาละลักษมณ์ ที่ ๑ จำเลย
นายละมัย แจ่มสมบูรณ์ ที่ ๒
นายมณี มติวัตร์ ที่ ๓


อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
นายดาบพวง พลนาวี จำเลย

อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
นายพลโท พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณอยุธยา) ที่ ๑ จำเลย
นายร้อยโทเผ่าพงษ์ เทพหัสดิน ณอยุธยา ที่ ๒
นายดาบผุดพันธ์ เทพหัสดิน ณอยุธยา ที่ ๓
นายร้อยตรีบุญมาก ฤทธิสิงห์ ที่ ๔
นายพันโท พระสุรรณชิต (วร กังสาร) ที่ ๕
นายร้อยเอกดาว บุญญเสฐ ที่ ๖


อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
นายร้อยเอก หลวงภักดีภูมิวิภาค (ตุ้ม รัตนภาณุ) ที่ ๑ จำเลย
นายร้อยเอก ขุนประสิทธิสินธวาคม (เลียบ ทองตระหง่าน) ที่ ๒
นายร้อยเอกเพ็ชร์ ศุขสว่าง ที่ ๓
นายร้อยเอกชลอ เอมะศิริ ที่ ๔
นายร้อยโทเจือม เอี่ยมตะนุช ที่ ๕
หลวงสิริราชทรัพย์ (ไชย โมรากุล) ที่ ๖
นายถนอม โภชนพันธ์ ที่ ๗
จ่ายง (เลื่อน วิจารณบุตร์) ที่ ๘
นายทง ช่างชาญกล ที่ ๙


อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
พระราชญาติรักษา (ประกอบ บุนนาค) จำเลย

อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
นายพันเอก หลวงมหิทธิโยธี (สุ้ย ยุกตวิสาร) ที่ ๑ จำเลย
นายพันตรี ขุนชิตปัจจนึก (ชิต มูลรัษฎ์) ที่ ๒
นายร้อยเอก ขุนรณมัยพิสาล (บุญรอด ไทยใหม่) ที่ ๓
อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร ที่ ๑ จำเลย
นายเพิ่ม เผือนพิภพ ที่ ๒
อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
นายพลตรี หม่อมเจ้าวงศ์นิรชร เทวกุล ที่ ๑ จำเลย
นายร้อยตำรวจเอกน้อม เทวคุปต์ ที่ ๒
อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
นายพันเอก พระยาสุรศักดิ์เสนา (โต๊ะ ภมรพล) จำเลย
อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
นายพันเอก หลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันทน์) ที่ ๑ จำเลย
นายร้อยเอก ขุนคลีพลพฤนท์ (คลี สุนทรารชุน) ที่ ๒
นายพันตำรวจตรี ขุนนามนฤนาท (นาม ประดิษฐานนท์) ที่ ๓
นายพันตรี หลวงไววิทยาศร (เสงียม ไววิทย์) ที่ ๔
นายพันตรี หลวงอภิภูบาลวนารถ (สังข์ นาคะวัจนะ) ที่ ๕

อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (ม.ร.ว. ประยูร อิศรศักดิ์) ที่ ๑ จำเลย
พระยาสุเทพภักดี (ดี สุเดชะ) ที่ ๒
พระวุฑฒิภาคภักดี (หอมจันทร์ สรวงสมบูรณ์) ที่ ๓
นายพันเอก พระสิทธิเรืองเดชพล (แสง พันธุประภาส) ที่ ๔
จ่านายสิบตำรวจแม้น เลิศราวี ที่ ๕
นายน้อยเอก หลวงประจัญสิทธิการ (บัว สุเดชะ) ที่ ๖
นายโชติ คุ้มพันธ์ ที่ ๗
หม่อมราชวงศ์นิมิตมงคล นวรัตน์ ที่ ๘
อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
นายร้อยเอกจรัส สุนทรภักดี ที่ ๑ จำเลย
นายร้อยโทแสง วัณณะศิริ ที่ ๒
นายร้อยโทบุญสือ โตกระแส ที่ ๓
นายร้อยโทสัย เกษจินดา ที่ ๔
นายร้อยโทเสริม พุ่มทอง ที่ ๕
อัยยการศาลพิเศษ โจทก์
ระหว่าง
พระยาวิชิตสรไกร (เอียม ขัมพานนท์) ที่ ๑ จำเลย
นายยันต์ วินิจนัยภาค ที่ ๒
ขุนนิพันธ์ประศาสน์ (อู๊ด วงศ์ครุธ) ที่ ๓
นายแป๊ะ แสงไชย ที่ ๔
เรื่อง กบฏ

คณะกรรมการซึ่งมีนามข้างท้ายนี้ ได้พิจารณาคดีเสร็จแล้ว จึงประชุมกันพิพากษาดั่งต่อไปนี้

คดีทั้ง ๑๔ สำนวนนี้ ศาลได้พิจารณารวมกัน ๑๓ สำนวน แยกพิจารณา ๑ สำนวน แต่เป็นมูลกรณีเดียวกัน เพื่อสะดวก ศาลนี้จึงพิพากษารวมกันทั้ง ๑๔ สำนวน

คดีทั้ง ๑๔ สำนวนนี้ โจทก์ฟ้องและยื่นคำร้องเพิ่มเติมฟ้องมีใจความต้องกันว่า นับตั้งแต่วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ซึ่งเป็นเวลาที่ประเทศไทยได้เปลี่ยนระบอบการปกครองจากราชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์อยู่เหนือกฎหมาย เป็นประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญเป็นต้นมา ได้มีบุคคลคณะหนึ่งประกอบด้วยข้าราชการทหาร, พลเรือน, ตำรวจ, และราษฎรบางคน ได้สมคบกันเป็นกบฏส้องสุมผู้คนและศาสตราวุธโดยเจตนาล้มล้างรัฐบาล เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไทยจากระบอบรัฐธรรมนูญให้เป็นอย่างอื่น ในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ คณะบุคคลดั่งกล่าวแล้ว ได้บังอาจใช้กำลังยึดการปกครองจนถึงใช้อาวุธต่อสู้กับรัฐบาล ในที่สุดรัฐบาลได้ใช้กำลังปราบปรามพวกกบฏพ่ายแพ้ไป และได้ทำการจับกุมพวกกบฏฟ้องร้องลงโทษไปแล้วก็มี ที่หลบหนีไปอยู่นอกประเทศไทยก็มี ที่ปรากฏหลักฐานมีมูลแต่ยังไม่ได้ห้องร้องก็มี ที่มีแต่เพียงพฤตติการณ์แวดล้อมยังไม่ได้ทำการจับกุม โดยพนักงานเจ้าหน้าที่สืบสวนเพื่อการก้าวหน้าต่อไปก็มี ความทะนงองอาจของบุคคลคณะนั้นที่จะเปลี่ยนการปกครองดั่งกล่าวแล้วหาได้ยุตติลงไม่ ยังคงดำเนินการกบฏอยู่เสมอโดยมีแผนการณ์หลายอย่าง เช่นเกลี้ยกล่อมทหารและพลเรือนเพื่อใช้กำลังบังคับ, ลอบทำร้ายบุคคลสำคัญในคณะรัฐบาล, ส่อเสียดให้เกิดแตกร้าวขึ้น ในหมู่รัฐบาลด้วยกัน ยุยงส่งเสริมเกลี้ยกล่อมให้ข้าราชการทการ, พลเรือน และราษฎรให้เกลียดชีงเข้าใจผิดต่อคณะรัฐบาล ทั้งนี้เพื่อสะดวกในการที่จะยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไทยนั่นเอง เจ้าพนักงานตำรวจได้กระทำการจับกุมบุคคลคณะนี้ และได้จัดการฟ้องร้องต่อศาลหลาบครั้งแล้ว อาทิ เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๗ นายพุ่ม ทับสายทอง กับพวก ได้สมคบกันใช้อาวุธปืนยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม ซึ่งในขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ที่ท้องสนามหลวง และศาลยุตติธรรมได้พิจารณาพิพากษาลงโทษไปแล้วเป็นต้น เพื่อให้แผนการณ์กบฏเป็นไปดังเจตนาของบุคคลคณะนั้น จำเลยในคดีนี้กับพวก ได้สมคบกันและแบ่งแยกหน้าที่ต่าง ๆ กันเพื่อกระทำการกบฏ โดยเจตนาเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง และทำลายเปลี่ยนแปลงคณะรัฐบาลให้เป็นไปตามแผนการณ์ของจำเลยและพวกดั่งกล่าวแล้วข้างต้น กล่าวคือ

๑. เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๑ เวลากลางคืน นายลี บุญตา จำเลย ได้บังอาจใช้อาวุธปืนยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม ซึ่งในขณะนั้นเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ภายในที่พักกรมทหารบางซื่อ อำเภอบางซื่อ จังหวัดพระนคร หลายนัด หากมีเหตุสุดวิสัยมาขัดขวาง กะสุนปืนที่นายลีได้ยิงไปนั้นไม่ถูกนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม ส่วนนายพันโท พระสุรรณชิตจำเลย กับนายพันตรี หลวงสงครามวิจารณ์ ซึ่งต่อสู้เจ้าพนักงานถูกยิงตาย ได้สมคบกันเป็นผู้ใช้ให้นายลี ยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงครามดั่งกล่าวแล้ว

๒. ในระหว่างเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๐ ถึงวันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๑ นายร้อยโท ณเณร ตาละลักษมณ์, นายละมัย แจ่มสมบูรณ์ และนายมณี มติวัตร์ จำเลย มีหน้าที่ตระเตรียมการสะสมกำลังเพื่อใช้กำลังบังคับรัฐบาล และได้แสดงความปรากฏแก่คนทั้งหลายให้เกิดการดูหมิ่นเกลียดชัง หรือกระด้างกระเดื่องต่อรัฐบาลในตำบลและอำเภอต่าง ๆ ในจังหวัดพระนคร และในวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ เวลากลางวัน นายร้อยโท ณเณร, นายละมัย และนายมณี ได้ใช้ให้พันจ่าตรีทองดี จันทนะโลหิต นำยาพิษใส่ในอาหารให้นายพลตรี หลวงพิบูลสงครามรับประทาน หลวงพิบูลสงครามกับนางพิบูลสงคราม, นายนาวาโท หลวงยุทธศาสตร์โกศล, นายนาวาอากาศตรี ขุนรณนภากาศ, นายพันโท หลวงเตชเสนา, นายพันตรี หลวงประหารริปูราบ และนายร้อยเอกเผ่า ศรียานนท์ ซึ่งร่วมรับประทานอยู่ด้วยนั้น ได้รับประทานยาพิษนั้นเข้าไป มีอาการเจ็บป่วยซึ่งอาจเป็นอันตรายได้ หากแต่แพทย์ได้ทำการแก้ไขไว้ทัน นายพลตรี หลวงพิบูลสงครามกับพวกที่รับประทานอาหารอยู่ด้วยนั้นจึงไม่ถึงแก่ความตาย เหตุเกิดขึ้นที่บ้านพักกรมทหารบางซื่อ อำเภอดุสิต จังหวัดพระนคร ก่อนคดีนี้นายมณีได้เคยต้องโทษฐานปลอมหนังสือมาครั้งหนึ่งแล้ว พ้นโทษยังไม่เกิน ๕ ปี

๓. เมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ นายดาบพวง พลนาวี จำเลย ได้ไปบอกนายยัง ประไพศรี ซึ่งอยู่บ้านนายสิบโท เชื้อ จันทรกร ให้ไปดักยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม ที่ตลาดศรีย่าน จังหวัดพระนคร ตามคำสั่งของนายพันตรี หลวงราญรณกาจ ซึ่งต่อสู้เจ้าพนักงานและถูกยิงตาย ต่อมาในวันที่ ๑๓ เดือนเดียวกัน เวลาค่ำคืน นายยังได้ปฏิบัติการไปตามคำสั่งของนายดาบพวง และหลวงราญรณกาจแล้ว หากแต่มีเหตุสุดวิสัยมาขัดขวางเสีย จึงทำการไม่สำเร็จ โดยเจ้าพนักงานตำรวจทราบเรื่องและได้ไปคอยดักจับอยู่ แล้วนายยังกับพวกได้ต่อสู้เจ้าพนักงานหลบหนีไป เจ้าพนักงานได้ออกติดตามจับนายยัง ๆ ได้ต่อสู้ถูกเจ้าพนักงานยิงตายที่จังหวัดนนทบุรี

๔. ในระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๘ จนถึงเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๘๑ นายพลโท พระยาเทพหัสดิน, นายร้อยโทเผ่าพงษ์ เทพหัสดิน ณอยุธยา, นายดาบผุดพันธ์ เทพหัสดิน ณอยุธยา, นายร้อยตรีบุญมาก ฤทธิสิงห์, นายพันโท พระสุรรณชิต และนายร้อยเอกดาว บุญญเสฐ จำเลย ได้เกลี้ยกล่อมทหารและพลเรือนเพื่อใช้กำลังบังคับรัฐบาล และได้จัดหาบุคคลเพื่อลอบทำร้ายบุคคลสำคัญในคณะรัฐบาล ต่อมาในวันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ เวลากลางวัน นายร้อยโทเผ่าพงษ์, นายดาบผุดพันธ์ และ นายร้อยตรีบุญมาก ได้มอบอาวุธปืนพร้อมด้วยกะสุนให้แก่นายชลอ ฉายกระวี ที่หน้าวัดมกุฏกษัตริย์ เพื่อไปทำการดักยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม ที่เชิงสะพานมัฆวาฬ จังหวัดพระนคร ในวันที่ ๒๕ เดือนเดียวกันนั้น เวลากลางคืน นายชลอ กับ นายดาบผุดพันธ์ได้นำอาวุธปืนซึ่งบรรจุกะสุนพร้อมแล้วไปคอยดักยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม ณ สถานที่ดั่งกล่าวแล้ว หากมีเหตุสุดวิสัยมาขวางเสีย โดยรถยนตร์คันที่นายพลตรี หลวงพิบูลสงครามนั่งไปนั้นแล่นเร็วมาก นายชลอจึงยิงไม่ทัน ต่อมาระหว่างเดือนกันยายน ถึงพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๑ นายร้อยเอกดาว ได้ใช้ให้นายชั้น แซ่โง้ว จัดหาจีน เพื่อทำการยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงครามกับพวกอีก แต่นายชั้นไม่สามารถจะจัดหาคนรับจ้างยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงครามได้

๕. ในระหว่างวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๙ จนถึงวันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๑ นายร้อยเอกเพ็ชร์ ศุขสว่าง, นายร้อยเอกชลอ เอมะศิริ, นายร้อยโทเจือม เอี่ยมดะนุช, หลวงสิริราชทรัพย์, นายถนอม โภชนพันธ์, จ่ายง และนายทง ช่างชาญกล จำเลย ได้กล่าวติเตียนคณะรัฐบาลให้ปรากฏต่อคนทั้งหลายว่า วิธีการปกครองเดี๋ยวนี้สู้รัชชกาลที่ ๗ ปกครองเมื่อครั้งเป็นสมบูรณาญาสิทธิราชไม่ได้ และกล่าวต่อไปว่า คณะรัฐบาลดำเนินการปกครองไปในทางลัทธิเผด็จการ โดยตั้งในหลวงองค์เล็ก ๆ ขึ้นไว้เป็นเครื่องมือสำหรับเชิด นอกจากนี้นายร้อยเอก หลวงภักดีภูมิวิภาค, นายร้อยเอก ขุนประสิธิสินธวาคม, นายร้อยเอกเพ็ชร์, นายร้อยเอกชลอ และนายร้อยโทเจือม จำเลย ได้เกลี้ยกล่อมหาพรรคพวกทางฝ่ายทหาร และเตรียมศาสตราวุธไว้ ส่วนหลวงสิริราชทรัพย์, นายถนอม, จ่ายง และนายทง ได้เกลี้ยกล่อมหาพรรคพวกทางข้าราชการพลเรือนและราษฎรไว้ และขุนประสิทธิสินธวาคมได้มียาพิษสตรีกนินไว้ใส่ปนลงในอาหาร เพื่อให้บุคคลสำคัญในคณะรัฐบาลบริโภคให้ถึงซึ่งความตายอีก ก่อนคดีนี้นายทงเคยต้องโทษมาแล้ว ๘ ครั้ง มากระทำความผิดขึ้นอีกยังหาเข็ดหลาบไม่

๖. ระหว่างเดือนกันยายนถึงกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๑ พระราชญาติรักษา จำเลย ได้เกลี้ยกล่อมชักชวนข้าราชการและราษฎรตามตำบลต่าง ๆ ในจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดพระนคร ให้สะสมอาวุธไว้เป็นสมัครพรรคพวก และยุยงประชาชนพลเมืองให้กระด้างกระเดื่องเกลียดรัฐบาล เพื่อใช้กำลังเข้ายึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยจะอัญเชิญสมเด็จพระปกเกล้า ฯ หรือสมเด็จกรมพระนครสวรรค์วรพินิต ให้เป็นพระมหากษัตริย์

๗. ในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๐ ถึงวันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๑ เวลากลางวันและกลางคืน นายพนเอก หลวงมหิทธิโยธี นายพันตรี ขุนชิตปัจจนึก และนายร้อยเอก ขุนรณมัยพิสาล จำเลย ได้ชักชวนข้าราชการทหาร พลเรือนให้เป็นสมัครพรรคพวกและสะสมศาสตราวุธไว้เพื่อจับบุคคลสำคัญในคณะรัฐบาล หรือใช้กำลังทหาร ซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของหลวงมหิทธิโยธี บังคับรัฐบาลเพื่อยึดอำนาจการปกครองแผ่นดิน เปลี่ยนแปลงราชประเพณี นอกจากนี้จำเลยยังช่วยเหลือปกปิดแผนการณ์กบฏซึ่งปรากฏแก่บุคคลบางคนอีกด้วย

๘. ระหว่างวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๘ ตลอดจนถึงวันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๑ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร จำเลย มีหน้าที่เกลี้ยกล่อมหาพรรคพวกทางเจ้านาย ข้าราชการทหารและราษฎร มีพระปกเกล้า ฯ กระพระนครสวรรค์พินิต นายพันเอก พระยาทรงสุรเดชกับพรรคพวกไว้ และได้กระทำการติดต่อหาเงินจากพวกเจ้านายเพื่อกำลังทำลายล้างรัฐบาล นอกจากนี้ได้เป็นผู้คิดงางแผนการณ์ในการกระทำผิดครั้งนี้ ทั้งได้ใช้ให้ นายเพิ่ม เผื่อนพิภพ จำเลย เกลี้ยมกล่อมหาพรรคพวกอีกด้วย แล้วนายเพิ่มได้เกลี้ยกล่อมหาพรรคพวกตามคำสั่งของกรมขุนชัยนาทนเรนทร นอกจากนี้นายเพิ่มได้กล่าวต่อคนทั้งหลายว่า รัฐบาลถือเอาแต่พวกพ้องรับรองกับราษฎรว่าจะให้เสรีภาพกลายเป็นเสรีพวกไป และกล่าวหาว่ารัฐบาลใช้ลัทธิเผด็จการ เป็นการกระทำให้คนทั้งหลายเกิดความดูหมิ่นต่อรัฐบาลในหมู่ประชาชน ทั้งนี้เพื่อเปลี่ยนแปลงในรัฐบาลโดยใช้กำลังบังคับตามแผนการณ์ส่วนหนึ่ง ซึ่งวางไว้แล้วที่จะเชิญพระปกเกล้า ฯ ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ และให้พระยาทรงสุรเดช เป็นนายกรัฐมนตรี

๙. นายพลตรี หม่อมเจ้าวงศ์นิรชร เทวกุล และนายร้อยตำรวจเอกน้อม เทวคุปต์ จำเลย ได้ให้ทรัพย์และกำลังความคิดทั้งกล่าวติเตียนใส่ร้ายรัฐบาลเกลี้ยกล่อมชักชวนราษฎรให้กระด้างกระเดื่อง และให้ความร่วมมือเปลี่ยนแปลงยึดอำนาจการปกครองในคราวกบฏ พ.ศ. ๒๔๗๖ ตามคดีดำที่ ๑ ถึง ๖๘/๒๔๗๖ ของศาลพิเศษตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลพิเศษ พ.ศ. ๒๔๗๖ นอกจากนี้ยังได้ร่วมคิดใช้ให้นายยังไปดักยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงครามที่ตลาดศรีย่านอรกด้วย

๑๐. ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๘ เป็นต้นมาจนถึงวันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๑ นายพันเอก พระยาสุรศักดิ์เสนส จำเลย ได้เกลี้ยกล่อมทหาร พลเรือน และสะสมกำลังศาสตราวุธโดยกล่าวว่า เวลานี้บ้านเมืองมันยุ่งเหยิงเหลือเกิน ทหารไม่อยู่ส่วนทหาร ยื่นมือเข้ามาเกี่ยวข้องในการปกครองบ้านเมือง ทำให้ปั่นป่วนกันพิลึกใหญ่ บ้านเมืองที่ไม่มีพระเจ้าอยู่หัวจะเป็นอย่างไร พระยาสุรศักดิ์เสนา มีความประสงค์จะเชิญพระปกเกล้า ฯ มาครองราชสมบัติตามเดิม และแก้ไขรัฐธรรมนูญบางมาตราโดยมิให้ทหารเกี่ยวข้องกับการเมือง ทหารจะเคลื่อนขะบวนไปในที่ต่าง ๆ จะต้องได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระเจ้าอยู่หัวเสียก่อน

๑๑. ระหว่างเดือนเมษายนถึงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๗ นายพันเอก หลวงชำนาญยุทธศิลป์, นายร้อยเอก ขุนคลี่พลพฤนท์ นายพันตำรวจตรี ขุนนามนฤนาท, นายพันตรี หลวงไววิทยาศร และนายพันตรี หลวงอภิบาลภูวนารถ จำเลย ได้เกลี้ยกล่อมข้าราชการทหาร ตำรวจ พลเรือน และราษฎร ทั้งเตรียมหาศาสตราวุธไว้เป็นกำลังเพื่อยึดอำนาจการปกครอง ทำลายล้างรัฐบาล มีจุดประสงค์จะอัญเชิญพระปกเกล้า ฯ ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ และให้พระยาทรงสุรเดช เป็นนายกรัฐมนตรี และได้กล่าวต่อประชาชนว่า คณะรัฐบาลนี้เป็นคอมมิวนิสต์ นอกจากนี้ได้สมคบร่วมคิดกับนายพันโท หลวงรณสิทธิพิชัย, นายพันเอก พระยาฤทธิอัคเนย์, นายพันตรี หลวงวรณสฤช, นายพิทย์ ผัลเตมีย์ (นายพันตำรวจเอก พระยาธรณีนฤเบศร์) กับพวกให้นายพุ่ม ทับสายทอง ยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๗ ณ ที่ท้องสนามหลวง จังหวัดพระนครอีกด้วย

๑๒. ในคราวเกิดกบฏเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ และต่อ ๆ มาพระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์, พระยาสุเทพภักดี, พระวุฑฒิภาคภักดี, นายพันเอก พระสิทธิเรืองเดชพล และจ่านายสิบตำรวจแม้น เลิศราวี จำเลย ได้สะสมกำลังเพื่อช่วยเหลือทำการกบฏในครั้งนั้นด้วย นิกจากนี้ยังกล่าวติเตียนรัฐบาลเพื่อให้ประชาชนขาดความจงรักภักดี หรือดูหมิ่นเกลียดชังรัฐบาล อันเป็นเหตุจะให้เกิดความปั่นป่วนกระด้างกระเดื่องในหมู่ประชาชนถึงกับจะก่อความไม่สงบขึ้นในแผ่นดิน ช่วยปกปิดเหตุการณ์ซึ่งรู้อยู่ว่าจะมีการกบฏเกิดขึ้นไม่นำความไปร้องเรียนตามที่กฎหมายบังคับไว้ และในระหว่างปลายปี พ.ศ. ๒๔๗๙ ถึงวันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๑ จำเลยทั้ง ๕ คนดังกล่าวแล้วข้างต้นกับ ร.อ. หลวงประสิทธิการ, นายโชติ คุ้มพันธ์ และหม่อมราชวงศ์นิมิตมงคล นวรัตน์ จำเลย ได้เขียนบทประพันธ์ส่งเสริมลัทธิคอมมิวนิสต์ และเขียนบทประพันธ์กับกล่าวด้วยวาจาติเตียนรัฐบาล นอกจากนี้ยังได้ชักชวนผู้คนตระเตรียมสะสมกำลัง คิดประทุษร้ายบุคคลสำคัญในรัฐบาล สำหรับหม่อมราชวงศ์นิมิตมงคล เคยต้องโทษฐานกบฏมาครั้งหนึ่งแล้ว พ้นโทษมาแล้วกลับมากระทำความผิดนี้ซ้ำอีก หาเข็ดหลาบไม่

๑๓. ระหว่างวันที่ ๑ เมษายน ถึงสันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๗ นายร้อยเอกจรัส สุนทรภักดี, นายร้อยโทแสง วัณณะศิริ, นายร้อยโทบุญลือ โตกระแส นายร้อยโทสัย เกษจินดา และนายร้อยโทเสริม พุ่มทอง จำเลย ได้ร่วมมือกันจะประหารคนสำคัญในคณะรัฐบาลหลายท่าน และยังได้หาบุคคลอื่นเพื่อทำการประหารบุคคลสำคัญในคณะรัฐบาลตามแผนการณ์ที่วางไว้ กล่าวคือ เมื่อคราวเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ กับนายนาวาเอก หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ ร.น. เดินทางไปต่างประเทศเพื่อเชิญพระปกเกล้า ฯ กลับเมืองไทยนั้น จำเลยได้ตระเตรียมการจะลงมือประหารด้วยตนเอง และได้จัดหาบุคคลอื่นซึ่งเป็นพรรคพวกให้ทำการประหารบุคคลในคณะรัฐบาล เช่น นายพันตรี หลวงพิบูลสงคราม นายพันตำรวจเอก หลวงอดุลเดชจรัส และหลวงประดิษฐมนูธรรม ที่สถานีรถไฟฟ้าหัวลำโพง หากมีเหตุสุดวิสัยมาขัดขวางเสียจึงไม่ได้กระทำการดั่งกล่าวแล่ว ต่อมาในคราวมีงานฉลองรัฐธรรมนูญ ได้เตรียมการที่จะประหารและได้จัดหาบุคคลอื่นเพื่อกระทำการประหารบุคคลสำคัญในคณะรัฐบาลตามที่ได้ระบุนามไว้ข้างต้น ที่ท้องสนามหลวง และที่วังสราญรมย์อีก แต่มีเหตุสุดวิสัยมาขัดขวางเสียจึงมิได้ลงมือกระทำการ ต่อมาวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๗ เวลากลางวัน จำเลยได้ร่วมคิดกับหลวงรณสิทธิพิชัย พระยาฤทธิอัคเนย์, หลวงวรณสฤช, นายพิทย์ ผัลเตมีย์ กับพวก ใช้ให้นายพุ่ม ทับสายทองยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม ที่ท้องสนามหลวงมีบาดเจ็บสาหัส นอกจากนี้ได้เกลี้ยกล่อมหาพรรคพวกข้าราชการทหาร ตำรวจ พลเรือน และราษฎร เพื่อยึดอำนาจการปกครองทำลายล้างรัฐบาลแล้วจะได้เชิญพระปกเกล้า ฯ ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ และให้พระยาทรงสุรเดช เป็นนายกรัฐมนตรี และจำเลยนี้ยังได้กล่าวต่อประชาชนว่า คณะรัฐบาลนี้ปกครองไปในทางลัทธิคอมมิวนิสต์ โดยเจตนาที่จะให้เกิดความดูหมิ่นต่อรัฐบาลในหมู่ประชาชน และให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในรัฐบาลโดยใช้กำลังบังคับและทำร้าย

๑๔. ในคราวกบฏเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ พระยาวิชิตสรไกร จำเลยได้ตระเตรียมกำลังทหารเพื่อสมคบกับกบฏในคราวนั้น โดยพระยาวิชิตสรไกร ได้สั่งให้มีการระดมพลที่จังหวัดชัยนาทและกล่าวถ้อยคำว่า รัฐบาลเห็นจะอยู่ละคราวนี้ อันเป็นปฏิปักข์ต่อคำแถลงการณ์ของรัฐบาล เป็นการโน้มใจเกลี้ยกล่อมประชาชนให้หมดความเลื่อมใสในคณะรัฐบาล ต่อมาในระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ จนถึงวันที่ถูกจับ พระยาวิชิตสรไกร นายยันต์ วินิจฉัยภาค ขุนนิพันธ์ประศาสน์ และนายแป๊ะ แสงไชย จำเลย ได้ใช้บุคคลผู้มีชื่อให้ประหารบุคคลในคณะรัฐบาลหลายท่าน เช่น นายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม, นายพลตรี พระยาพหลพลพยุหเสนา หลวงประดิษฐมนูธรรม เป็นต้น หากแต่มีเหตุสุดวิสัยมาขัดขวางเสีย โดยในระหว่างนั้น นายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม ได้ถูกนายลีซึ่งเป็นพวกใช้อาวุธยิงเสียก่อน

โจทก์ขอให้ลงโทษจำเลยตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา ๑๐๑, ๑๐๒, ๑๐๕ (ที่แก้ไขแล้ว) ๒๔๙, ๒๕๐, ๖๐, ๖๓, ๖๔, ๖๕ เว้นแต่คดีที่ ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๑, ๑๒, ๑๓ ไม่ได้ขอให้ลงโทษตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา ๒๔๙ ด้วย

นอกจากนี้โจทก์ขอให้ลงโทษจำเลยเพิ่มขึ้นจากที่กล่าวแล้วข้างต้นอีก คือ

ก. คดีดำที่ ๒, ๖, ๙, ๑๔ ขอให้ลงโทษตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา ๑๙๘

ข. คดีดำที่ ๒, ๖, ๑๐, ๑๔ ขอให้ลงโทษตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา ๒๐๐

ค. คดีดำที่ ๖, ๙ ขอให้ลงโทษตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา ๑๗๔

ง. คดีดำที่ ๖ ขอให้ลงโทษตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา ๑๙๙

จ. คดีดำที่ ๑๒ ขอให้ลงโทษตามพระราชบัญญัติคอมมิวนิสม์ พ.ศ. ๒๔๗๖ มาตรา ๔

ฉ. จำเลยทุกคดี เว้นแต่คดีดำที่ ๖, ๗, ๑๔ โจทก์ได้ขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญาทหาร มาตรา ๓๗, ๓๙, ๕๒

อนึ่ง โจทก์ขอให้เพิ่มโทษนายมณี และนายทง ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา ๗๒ หม่อมราชวงศ์นิมิตมงคล ตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา ๗๓

ก่อนให้การนายร้อยโท เจือม เอี่ยมดะนุช จำเลย ได้ถึงแก่ความตาย คดีส่วนตัวของจำเลยนี้เป็นอันระงับไปตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา ๗๗ และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๓๙ (๑)

นายลีจำเลยให้การว่า ตามวันเวลาโจทก์กล่าวหานั้น ได้ใช้อาวุธปืนพกยิงนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม ๒ นัด เพราะเมาสุรา ไม่มีสาเหตุอะไรและไม่มีใครใช้ให้ยิง จำเลยทุกคนนอกจากนายลีให้การปฏิเสธตลอดข้อหา พระยาวิชิตสรไกรให้การคัดค้านอำนาจศาลต่อไปว่า ความผิดฐานกบฏตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลพิเศษ พ.ศ. ๒๔๗๖ หาได้อยู่ในข่ายอำนาจศาลตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลพิเศษ พ.ศ. ๒๔๘๑ ไม่ ส่วนข้อเคยต้องโทษ นายมณี มติวัชร์, นายทง ช่างชาญกล และหม่อมราชวงศ์นิมิตมงคล นวรัตน์ จำเลยทั้ง ๓ รับว่าจริง

ข้อคัดค้านของพระยาวิชิตสรไกร จำเลย จะฟังได้เพียงไรหรือไม่นั้น เห็นว่าเดิมได้มีพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลพิเศษ พ.ศ. ๒๔๗๖ ในคำปรารภแห่งพระราชบัญญัตินี้กล่าวว่า “เนื่องจากมีการกบฏและจลาจลเกิดขึ้น เป็นการสมควรที่จะต้องตั้งศาลพิเศษขึ้นพิจารณาคดีในการนี้” และในมาตรา ๔ บัญญัติว่า “ให้ตั้งศาลพิเศษขึ้นศาลหนึ่ง มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่เกี่ยวกับการกบฏและจลาจลครั้งนี้” ต่อมาได้มีพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลพิเศษ พ.ศ. ๒๔๗๖ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๔๗๘ ขยายอำนาจศาลที่ได้ตั้งขึ้นแล้วนั้นออกไปอีก โดยมาตรา ๔ บัญญัติว่า “ให้ศาลพิเศษซึ่งได้จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลพิเศษ พ.ศ. ๒๔๗๖ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีอาญาที่เกี่ยวกับความผิดฐานกบฏและการก่อจลาจล ที่ได้เกิดขึ้นต่อมาจากการกบฏและจลาจลเมื่อคราวเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ จนกระทั่งวันประกาศใช้พระราชบัญญัตินี้” แต่ในคำปรารภแห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลพิเศษ พ.ศ. ๒๔๘๑ กล่าวไว้อย่าง...หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/18หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/19หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/20หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/21หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/22หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/23หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/24หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/25หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/26หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/27หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/28หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/29หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/30หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/31หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/32หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/33หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/34หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/35หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/36หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/37หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/38หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/39หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/40หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/41หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/42หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/43หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/44หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/45หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/46หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/47หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/48หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/49หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/50หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/51หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/52หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/53หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/54หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/55หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/56หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/57หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/58หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/59หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/60หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/61หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/62หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/63หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/64หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/65หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/66หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/67หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/68หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/69หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/70หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/71หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/72หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/73หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/74หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/75หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/76หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/77หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/78หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/79หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/80หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/81หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/82หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/83หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/84หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/85หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/86หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/87หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/88หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/89หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/90หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/91หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/92หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/93หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/94หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/95หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/96หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/97หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/98หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/99หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/100หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/101หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/102หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/103หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/104หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/105หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/106หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/107หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/108หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/109หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/110หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/111หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/112หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/113หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/114หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/115หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/116หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/117หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/118หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/119หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/120หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/121หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/122หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/123หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/124หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/125หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/126หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/127หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/128หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/129หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/130หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/131หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/132หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/133หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/134หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/135หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/136หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/137หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/138หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/139หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/140หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/141หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/142หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/143หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/144หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/145หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/146หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/147หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/148หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/149หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/150หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/151หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/152หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/153หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/154หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/155หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/156หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/157หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/158หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/159หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/160หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/161หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/162หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/163หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/164หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/165หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/166หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/167หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/168หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/169หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/170หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/171หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/172หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/173หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/174หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/175หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/176หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/177หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/178หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/179หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/180หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/181หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/182หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/183หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/184หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/185หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/186หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/187หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/188หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/189หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/190หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/191หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/192หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/193หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/194หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/195หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/196หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/197หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/198หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/199หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/200หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/201หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/202หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/203หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/204หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/205หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/206หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/207หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/208หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/209หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/210หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/211หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/212หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/213หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/214หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/215หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/216หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/217หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/218หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/219หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/220หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/221หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/222หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/223หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/224หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/225หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/226หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/227หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/228หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/229หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/230หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/231หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/232หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/233หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/234หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/235หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/236หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/237หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/238หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/239หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/240หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/241หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/242หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/243หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/244หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/245หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/246หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/247หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/248หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/249หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/250หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/251หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/252หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/253หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/254หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/255หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/256หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/257หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/258หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/259หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/260หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/261หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/262หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/263หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/264หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/265หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/266หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/267หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/268หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/269หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/270หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/271หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/272หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/273หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/274หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/275หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/276หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/277หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/278หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/279หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/280หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/281หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/282หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/283หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/284หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/285หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/286หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/287หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/288หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/289หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/290หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/291หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/292หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/293หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/294หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/295หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/296หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/297หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/298หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/299หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/300หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/301หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/302หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/303หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/304หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/305หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/306หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/307หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/308หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/309หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/310หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/311หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/312หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/313หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/314หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/315หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/316หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/317หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/318หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/319หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/320หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/321หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/322หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/323หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/324หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/325หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/326หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/327หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/328หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/329หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/330หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/331หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/332หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/333หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/334หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/335หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/336หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/337หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/338หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/339หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/340หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/341หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/342หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/343หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/344หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/345หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/346หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/347หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/348หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/349หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/350หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/351หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/352หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/353หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/354หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/355หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/356หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/357หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/358หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/359หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/360หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/361หน้า:คำพิพากษาคดีกบฏ - กรมโฆษณาการ - ๒๔๘๒.pdf/362