พุทธมังคลคาถา ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี
หน้านี้ขาดแหล่งที่มาของเนื้อหา ถ้าเป็นไปได้ ควรเป็นเอกสารต้นฉบับที่สแกนมาอัปโหลดไว้ที่วิกิมีเดียคอมมอนส์แล้วจัดทำแบบพิสูจน์อักษร หรือถ้าไม่สามารถอัปโหลดต้นฉบับเช่นนั้นได้ อย่างน้อยก็ควรระบุแหล่งที่มาที่สามารถตรวจสอบความถูกต้องแท้จริงของเนื้อหาได้ |
พุทธมังคลคาถา ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหฺมรํสี
พุทธมังคลคาถา
ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหฺมรํสี สวดทุกวัน
สัมพุทโธ ทิปะทัง เสฏโฐ นิสินโน เจวะ มัชฌิเม โกณฑัญโญ
ปุพพะภาเค จะ อาคเณยเย จะ กัสสะโป สารีปุตโต จะ ทักขิเณ หะระติเย
อุปาลิ จะ ปัจฉิเมปิ จะ อานันโท พายัพเพ จะ ควัมปะติ
โมคคัลลาโน จะ อุตตะเร อีสาเนปิ จะ ราหุโล
อิเม โข มังคะลา พุทธา สัพเพ อิธะ ปะติฏฐิตา
วันทิตา เต จะ อัมเหหิ สักกาเรหิ จะ ปูชิตา เอเตสัง อานุภาเวนะ
สัพพะโสตถี ภะวันตุโนอิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง
นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยังยัง
ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง
ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย
พุทธมังคลคาถานี้ หรือเรียกว่า คำนมัสการบูชาพระอรหันต์แปดทิศ
ล้วนแต่มีฤทธิ์ทุกองค์ เป็นมหาเถระผู้ยิ่งใหญ่ในทางพระพุทธศาสนา
เมื่อทำการสวดบูชาแล้ว ย่อมจะมีลาภผลเป็นมิ่งมงคล
และปราศจากอันตราย ถ้าจะสวดแบบธรรมดาก็ได้ โดยหัวหน้ากล่าวนำ
หันทะ มะยัง พุทธะมังคละคาถาโย ภะณามะเส แต่นิยมสวดคาถานี้เป็นทำนองสรภัญญะ