ข้ามไปเนื้อหา

รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ สภาผู้แทนราษฎร (13 มกราคม 2564)/ส่วนที่ 2

จาก วิกิซอร์ซ
รายงานคณะกรรมาธิการวิสามัญ

ตามที่ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๕ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ ได้ลงมติรับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ) และร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (นายธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ) และตั้งกรรมาธิการวิสามัญขึ้นคณะหนึ่งเพื่อพิจารณา กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน โดยให้ถือเอาร่างพระราชบัญญัติของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณานั้น

บัดนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญได้ดำเนินการแล้ว ปรากฏผลดังนี้

๑.คณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติเลือกตั้ง

(๑) นายสันติ กีระนันทน์ เป็นประธานคณะกรรมาธิการ
(๒) นางมุกดา พงษ์สมบัติ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง
(๓) นางสาวธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง
(๔) นายธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สาม
(๕) นางสาวแนน บุณย์ธิดา สมชัย เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สี่
(๖) นายมณฑล โพธิ์คาย เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่ห้า
(๒) นายอุดมศักดิ์ ศรีสุทิวา เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หก
(๔) รองศาสตราจารย์กฤตยา อาชวนิจกุล เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๔) ศาสตราจารย์พิเศษจรัญ ภักดีธนากุล เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑o) ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณวิบูลพรรณ ฐิตะดิลก เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(ต๑) นายสุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑๒) นายเขมชาติ กิจค้า เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๑๓) นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๑๔) นางสาวธารารัตน์ ปัญญา เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๑๕) นางสาวนพวรรณ หัวใจมัน เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๑๖) นางอังคณา นีละไพจิตร เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๑๗) นางภัทธมน เพ็งส้ม เป็นเลขานุการคณะกรรมาธิการ

๒.คณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติแต่งตั้งนายดำรง วรรณสอน นิติกรชำนาญการพิเศษ กลุ่มงานคณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ สำนักกรรมาธิการ ๓ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ช่วยเลขานุการประจำคณะกรรมาธิการ ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๓ วรรคสี่

๓. ผู้ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มอบหมายให้มาชี้แจงแสดงความคิดเห็น คือ ๓.๑ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมกิจการเด็กและเยาวชน นางนันทา ไวคกุล ผู้อานวยการกองคุ้มครองเด็กและเยาวชน ๓.๒ กระทรวงยุติธรรม สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (๑) นางสาวรวิวรรณ จตุรพิธพร ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย (๒) นางสาวขวัญชนก เทพวงค์ นิติกรชานาญการพิเศษ กองกฎหมาย ๓.๓ กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย (๑) นายบัญชา ค้าของ รองอธิบดี (๒) นายประวิช ชวชลาศัย รองผู้อานวยการสานักอนามัยการเจริญพันธุ์ (๓) ร้อยโทหญิง ณิชารัศม์ ปัญจจิตราพัฒน์ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ (๔) นางสาวพัชรีวรรณ เจนสาริกรณ์ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ ๓.๔ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) นางสาวนริศรา แดงไผ่ ผู้อานวยการกองกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม (๒) นางสาวศิริพร เอี่ยมธงชัย ผู้อานวยการฝ่ายแปลและให้ความเห็น กองกฎหมายต่างประเทศ (๓) นายสุนทร เปลี่ยนสี นักกฎหมายกฤษฎีกาชานาญการพิเศษ กองกฎหมายต่างประเทศ ๓.๕ สานักงานศาลยุติธรรม นางสาววรมน รามางกูร ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น ประจาสานักประธานศาลฎีกา ๓.๖ สานักงานอัยการสูงสุด (๑) นายวีระชัย ตั้งติยะพันธ์ อัยการจังหวัดประจาสานักงานอัยการสูงสุด (๒) นายธานิต วงศาโรจน์ อัยการจังหวัดประจาสานักงานอัยการสูงสุด ๓.๗ สานักงานตารวจแห่งชาติ โรงพยาบาลตารวจ พันตารวจเอก ดนุกฤต กลัมพากร นายแพทย์ (สบ ๕) กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม สานักงานกฎหมายและคดี (๑) พันตารวจเอก เอกชัย แสนสระดี ผู้กากับกลุ่มงานตรวจสอบสานวน ๔ กองคดีอาญา (๒) พันตารวจตรี อุทิศ จันทรประพันธ์ สารวัตรกลุ่มงานตรวจสอบสานวน ๔ กองคดีอาญา ๓.๘ แพทยสภา (๑) ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณวิบูลพรรณ ฐิตะดิลก กรรมการแพทยสภา (๒) นายพชร ศรีปน นิติกร แพทยสภา๔. ผู้ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญได้เชิญมาชี้แจงแสดงความคิดเห็น คือ (๑) นางสาวศรีสมัย เชื้อชาติ นายแพทย์เชี่ยวชาญ (๒) นายวรชาติ มีวาสนา นายแพทย์ชานาญการ (๓) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปารีณา ศรีวนิชย์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๔) นางสาวโสมนัส เจือศรีกุล ผู้อานวยการสานักอานวยการพิเศษ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) ๕. ผู้เข้าร่วมประชุม คือ ๕.๑ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นางสาวจุฬาพร ละครพล นิติกรชานาญการ กรมกิจการเด็กและเยาวชน นางสาวนภัสสร โสมา นิติกร ๕.๒ กระทรวงยุติธรรม สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (๑) นายวรายุภัสร์ พัชรปรียานันท์ (๒) นางสาวปานหทัย ศรีสมุทร

นิติกรชานาญการ กองกฎหมาย นิติกรชานาญการ

๕.๓ กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย (๑) นางสาววรรณวิศา อยู่เป็นสุข (๒) นายสโรช จินดาวณิชย์ (๓) นายณรงค์ฤทธิ์ เลิศอาวุธ

นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

๕.๔ สานักงานศาลยุติธรรม นายนภัส ลิลิตสัจจะ

นิติกร สานักกฎหมายและวิชาการ

๕.๕ สานักงานตารวจแห่งชาติ โรงพยาบาลตารวจ ร้อยตารวจเอก พิเชษฐ์ คุ้มบัณฑิต ๕.๖ เครือข่ายองค์กรเอกชน (๑) นางสาวกุลภา วจนสาระ (๒) นางสาวสุมาลี โตกทอง (๓) นางสาวสุไลพร ชลวิไล

รองสารวัตรฝ่ายกฎหมายและวินัย กองบังคับการอานวยการ นักวิจัย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้แทนเครือข่ายสนับสนุนทางเลือก ของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ผู้แทนเครือข่ายสนับสนุนทางเลือก ของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม๖.ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ มีผู้เสนอคำแปรญัตติ จำนวน ๓ คน คือ

(๑)นางสาวเพชรชมพู กิจบูรณะ

(๒)นายอาดิลัน อาลีอิสเฮาะ

(๓)นายเกียรติ สิทธีอมร

๗.ผลการดาเนินการตามมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

คณะกรรมาธิการวิสามัญได้นำผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ส่งให้สภาผู้แทนราษฎร ตามหนังสือ ที่ นร ๐๕๐๓/๔๐๗๐๐ ลงวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๓ เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มาใช้ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญครบถ้วนตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแล้ว

๘.ผลการพิจารณา

ชื่อร่างพระราชบัญญัติ ไม่มีการแก้ไข
คำปรารภ ไม่มีการแก้ไข
มาตรา ๑ ไม่มีการแก้ไข
มาตรา ๒ ไม่มีการแก้ไข
มีกรรมาธิการขอสงวนความเห็น
นายณัฐวุฒิ บัวประทุม (กรรมาธิการ) ขอสงวนความเห็น โดยขอให้แก้ไขเพิ่มเติมความในมาตรา ๒ เป็นดังนี้
"มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันถัดจาก

วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป"

มาตรา ๓ แก้ไขมาตรา ๓๐๑ มีการแก้ไข
มีกรรมาธิการขอสงวนความเห็น และผู้แปรญัตติขอสงวนคำแปรญัตติ
รองศาสตราจารย์กฤตยา อาชวนิจกุล (กรรมาธิการ) ขอสงวนความเห็น โดยขอให้ตัดมาตรา ๓๐๑ ออกทั้งมาตรา
นางสาวกุฎารัศมิ์ กุลฉัตร นายเขมชาติ กิจค้า นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ นางสาวนริศรา แดงไผ่ นางสาวนพวรรณ หัวใจมั่น นางภัทธมน เพ็งส้ม ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณวิบูลพรรณ ฐิตะดิลก นางสุรางคณา วายุภาพ และนายอุดมศักดิ์ ศรีสุทิวา (กรรมาธิการ) ขอสงวนความเห็น โดยขอให้คงไว้ตามร่างเดิม
นายณัฐวุฒิ บัวประทุม (กรรมาธิการ) ขอสงวนความเห็น โดยขอให้เพิ่มความเป็นมาตรา ๓๐๑ วรรคสอง ดังนี้
"เว้นแต่หญิงใดซึ่งมีอายุครรภ์เกินสิบสองสัปดาห์ แต่ไม่เกินยี่สิบสี่สัปดาห์ ยืนยันที่จะยุติการตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจและรับคำปรึกษาทางเลือก และการยุติการตั้งครรภ์นั้นเป็นการกระทำของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามหลักเกณฑ์ของแพทยสภา หญิงนั้นไม่มีความผิดตามวรรคหนึ่ง"
หน้า:รายงาน สผ (๒๕๖๔-๐๑-๑๓).pdf/8หน้า:รายงาน สผ (๒๕๖๔-๐๑-๑๓).pdf/9หน้า:รายงาน สผ (๒๕๖๔-๐๑-๑๓).pdf/10หน้า:รายงาน สผ (๒๕๖๔-๐๑-๑๓).pdf/11หน้า:รายงาน สผ (๒๕๖๔-๐๑-๑๓).pdf/12หน้า:รายงาน สผ (๒๕๖๔-๐๑-๑๓).pdf/13หน้า:รายงาน สผ (๒๕๖๔-๐๑-๑๓).pdf/14หน้า:รายงาน สผ (๒๕๖๔-๐๑-๑๓).pdf/15