ผู้สร้างสรรค์:สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
←รายชื่อ: ด | ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา (พ.ศ. 2405–2486) |
พระนามแฝงว่า "นายทรงอานุภาพ" |
พระนิพนธ์[แก้ไข]
กวีนิพนธ์[แก้ไข]
การเดินทางท่องเที่ยว[แก้ไข]
- จดหมายเหตุประกอบเรื่องไกลบ้าน (พ.ศ. 2505)
- จดหมายเหตุ เรื่อง ประพาศต้นในรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2466)
- จดหมายเหตุ เรื่อง เสด็จประพาสต้นในรัชชกาลที่ 5 ครั้งแรกและครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2477)
- เที่ยวตามทางรถไฟ (พ.ศ. 2484)
- เที่ยวที่ต่าง ๆ (หลายภาค)
- เที่ยวเมืองพม่า (พ.ศ. 2489)
- นิราศนครวัด (หลายฉบับ)
- "ประพาสต้นเมืองสมุทรสงคราม", ใน ของดีเมืองสมุทร (พ.ศ. 2504)
- เสด็จประพาศยุโรปครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2490)
- อธิบายระยะทางล่องลำน้ำพิงตั้งแต่เมืองเชียงใหม่จนถึงปากน้ำโพธิ์ (พ.ศ. 2473)
การเมืองและการปกครอง[แก้ไข]
- คติของฝรั่งเข้ามาเมืองไทย (พ.ศ. 2492)
- ตำนานกฎหมายเมืองไทย (พ.ศ. 2473)
- ตำนานกฎหมายเมืองไทย และประมวลคำอธิบายทางนิติศาสตร์ (พ.ศ. 2493)
- ตำนานการเกณฑ์ทหาร (พ.ศ. 2499)
- ตำนานการเลิกอากรบ่อนเบี้ยและหวย (หลายฉบับ)
- เทศาภิบาล (พ.ศ. 2498)
- "บันทึกว่าด้วยการปกครองประเทสไทยแต่โบราน", ใน อัขรานุกรมสิลปากร หมวดโบรานคดี (พ.ศ. 2487)
- ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ ภาคที่ 26: กฎมนเทียรบาลพม่า (พ.ศ. 2479)
คำนำและคำอธิบาย[แก้ไข]
- "อธิบายตำนานเห่เรือ", ใน กาพย์เห่เรือ (พ.ศ. 2513)
- จดหมายหลวงอุดมสมบัติ กับคำอธิบายของพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพฯ (พ.ศ. 2458)
- จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี (พ.ศ. 2310-2381) (พ.ศ. 2526)
- ตำราแบบธรรมเนียมในราชสำนักครั้งกรุงศรีอยุธยา กับพระวิจารณ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (พ.ศ. 2493)
ชีวประวัติ[แก้ไข]
- ความทรงจำ (พ.ศ. 2489)
- "จดหมายเหตุเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต", ใน ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 52 (หลายฉบับ)
- เจ้านายพระชันษายืน (พ.ศ. 2474)
- "ประวัติพระยามนตรีสุริยวงศ์", ใน ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพพระยามนตรีสุริยวงศ์ (วิเชียร บุนนาค) ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2483 (พ.ศ. 2483)
- ประวัติสุนทรภู่ (หลายฉบับ)
วัตถุ[แก้ไข]
- ตำนานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (พ.ศ. 2467)
- ตำนานเครื่องราชอิสริยาภรณ์สยาม (พ.ศ. 2468)
- ตำนานเงินตรา (พ.ศ. 2474)
- ตำนานพระโกศและหีบศพบรรดาศักดิ์ (หลายฉบับ)
- ตำนานเรือรบไทย (พ.ศ. 2467)
- ตำนาน เรื่อง เครื่องโต๊ะและถ้วยปั้น (พ.ศ. 2479)
ศาสนา[แก้ไข]
- กายคฤหะ หรือเรือนคือกาย (พ.ศ. 2493)
- ตำนานคณะสงฆ์ (พ.ศ. 2466)
- "ตำนานพระญวน", ใน ตำราพิธีพระญวน (พ.ศ. 2477)
- ตำนานพระปริต (พ.ศ. 2472)
- ตำนานพระพุทธเจดีย์ (พ.ศ. 2503)
- ตำนานพระพุทธบาท อธิบายเรื่องพระบาท นิราศพระบาท และลิลิตทศพร (พ.ศ. 2511)
- ตำนานพระพุทธรูปสำคัญ (พ.ศ. 2468)
- ตำนานพุทธเจดีย์สยาม (พ.ศ. 2469)
- ตำนานพิธีตรุษ (พ.ศ. 2484)
ศิลปะ ดนตรี และวรรณกรรม[แก้ไข]
- ตำนานเครื่องมโหรีปี่พาทย์ (หลายฉบับ)
- ตำนาน เรื่อง ละครอิเหนา, ชื่ออื่นว่า ตำนาน เรื่อง อิเหนา, (หลายฉบับ)
- ตำนาน เรื่อง สามก๊ก, ชื่ออื่นว่า ตำนานหนังสือสามก๊ก, (หลายฉบับ)
- ตำนานเสภา (พ.ศ. 2497)
- ตำนานเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน (พ.ศ. 2470)
- ตำราฟ้อนรำ (พ.ศ. 2510)
สถานที่[แก้ไข]
- ตำนานโรงเลี้ยงเด็กของพระอัครชายาเธอฯ (พ.ศ. 2472)
- ตำนานวังหน้า (พ.ศ. 2468)
- ตำนานสวนกุหลาบ (พ.ศ. 2506)
- ตำนานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม หอวชิรญาณ หอพุทธสาสนสังคหะ แลหอสมุดสำหรับพระนคร (พ.ศ. 2459)
- ประวัติพระบรมมหาราชวัง (พ.ศ. 2505)
- "วินิจฉัยชื่อลำน้ำแม่กลอง", ใน นิทานโบราณคดี (บางเรื่อง) (พ.ศ. 2507)
- เรื่องเมืองพิษณุโลก (พ.ศ. 2496)
เอกสารทางการ[แก้ไข]
- คำพิพากษาคดีพญาระกา (พ.ศ. 2453)
- ประกาศกระทรวงมหาดไทย จัดระเบียบราชการเมืองไทรบุรี เมืองปลิศ แลเมืองสตูน ลงวันที่ 7 เมษายน ร.ศ. 116 (พ.ศ. 2440)
- เอกสารตรวจราชการเมืองนครไชยศรีเมื่อเดือนสิงหาคม ร.ศ. 117 (พ.ศ. 2511)
อื่น ๆ[แก้ไข]
- ชุมนุมพระนิพนธ์ (หลายฉบับ)
- ชุมนุมพระนิพนธ์บางเรื่อง (หลายฉบับ)
- ถึงหญิงใหญ่, ชื่ออื่นว่า หญิงใหญ่ และ ลายพระหัตถ์สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพประทาน ม.จ.จงจิตรถนอม ดิศกุล ระหว่างเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่สอง พ.ศ. 2473, (หลายฉบับ)
- ไทยรบพม่า, ชื่ออื่นว่า เรารบพม่า และ ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 6, (หลายฉบับ)
- นารถ มนตเสวี (พ.ศ. 2519)
- นิทานโบราณคดี (หลายฉบับ)
- นิทานเรื่องเลี้ยงเด็ก (พ.ศ. 2466)
- แบบเรียนเร็ว (หลายฉบับ)
- "เล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับอายุ", ใน อายุวฑฺฒน เจริญด้วยอายุ (พ.ศ. 2504)
- สนทนากับผู้ร้ายปล้น (พ.ศ. 2468)
- อธิบายพระนามพระเจ้าแผ่นดินครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี (พ.ศ. 2468)
งานที่ทรงจัดให้พิมพ์[แก้ไข]
- ตำนานพระพุทธสิหิงค์, โดย พระโพธิรังษี (พ.ศ. 2475)
- ทำเนียบสมณศักดิ์สังเขป (พ.ศ. 2474)
งานที่เกี่ยวข้อง[แก้ไข]
เอกสารทางการ[แก้ไข]
- กำหนดการงานสตมาหะและงานพระเมรุพระศพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พ.ศ. 2487
- ประกาศตั้งกรรมการบัณฑิตย์สภา ลงวันที่ 19 เมษายน 2469
- ประกาศตั้งและปลดนายกราชบัณฑิตยสภา ลงวันที่ 28 กรกฎาคม 2475
อื่น ๆ[แก้ไข]
- ตามเสด็จสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ไปยุโรป, โดย สมบูรณ์ โชติจิตร (พ.ศ. 2515)
- นำชมหอสมุดราชานุภาพ, โดย กรมศิลปากร (พ.ศ. 2494)
- พระประวัติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (2405–2486),[1] โดย หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล (พ.ศ. 2484)
- พระราชหัตถเลขาพระราชทานสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพในเวลาเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรปครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2450, โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2491)
หมายเหตุ[แก้ไข]
- ↑ ยังมีลิขสิทธิ์ เนื่องจากยังไม่พ้นกำหนด 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย (พ.ศ. 2533) — ดู วิกิซอร์ซ:นโยบายลิขสิทธิ์

งานที่บุคคลนี้สร้างสรรค์ขึ้น ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณานั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก
