ข้ามไปเนื้อหา

สิกขาบทที่ ๒ เรื่องภิกษุหลายรูป

จาก วิกิซอร์ซ
'''สิกขาบทที่ ๒ เรื่องภิกษุหลายรูป'''

				พระวินัยปิฎก  

				เล่ม ๒  

			มหาวิภังค์ ทุติยภาค  

	ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น  

				นิสสัคคิยกัณฑ์  

 ท่านทั้งหลาย อนึ่ง ธรรมคือนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ สิกขาบทเหล่านี้แล มาสู่อุเทศ.  

			นิสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรคที่ ๑  

			๑. จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๑  

			เรื่องพระฉัพพัคคีย์  

	[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ โคตมกเจดีย์ ๑- เขตพระนคร  

เวสาลี. ครั้งนั้น พระองค์ทรงอนุญาตไตรจีวรแก่ภิกษุทั้งหลายแล้ว พระฉัพพัคคีย์ทราบว่า พระผู้  

มีพระภาคทรงอนุญาตไตรจีวรแล้ว จึงครองไตรจีวร เข้าบ้านสำรับหนึ่ง อยู่ในอารามอีกสำรับหนึ่ง  

สรงน้ำอีกสำรับหนึ่ง.  

	บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็  

เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงได้ทรงจีวร เกินหนึ่งสำรับเล่า แล้ว  

กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.  

#๑. วิหารที่เขาสร้างไว้ ณ เจติยสถานของโคตมยักษ์

งานนี้ประกอบด้วยงานย่อยหลายส่วนซึ่งอยู่ในบังคับแห่งลิขสิทธิ์หลายเรื่องต่างกัน เช่น งานอันลิขสิทธิ์หมดอายุ และงานที่ไม่มีลิขสิทธิ์ อย่างไรก็ดี งานนี้ทุกส่วนล้วนเป็นสาธารณสมบัติแล้ว
ส่วนบทประพันธ์:

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก
ส่วนอื่น ๆ:

งานนี้ไม่มีลิขสิทธิ์ เพราะเป็นงานตาม แม่แบบผิดพลาด: โปรดระบุประเภทของงานนี้ (ดูวิธีใช้) แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ของประเทศไทย ซึ่งบัญญัติว่า

"มาตรา 7 สิ่งต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้
(1)ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสาร อันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ
(2)รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย
(3)ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น
(4)คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ
(5)คำแปลและการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น จัดทำขึ้น"