แม่แบบ:กฎหมาย

จาก วิกิซอร์ซ
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
Documentation icon คู่มือการใช้งานแม่แบบ[ดู] [แก้] [ประวัติ] [ล้างแคช]

มาตรา[แก้ไข]

จุดตรึงที่มาตรา, ไม่ลิงก์ไปสารบัญ[แก้ไข]

ใช้สร้างมาตราโดยมีช่องว่างระหว่างคำว่า "มาตรา" กับเลขมาตรา และหลังเลขมาตรา ทั้งมีจุดตรึงประจำมาตรานั้น ทำให้ลิงก์มายังมาตรานั้นได้โดยเจาะจง แต่ไม่มีลิงก์กลับไปยังสารบัญ

วิธีใช้
{{กม|ม|เลขมาตรา}}
ตัวอย่าง
{{กม|ม|๑๒๓}}ข้อความ ข้อความ ข้อความ

มาตรา ๑๒๓ ข้อความ ข้อความ ข้อความ

จุดตรึงที่มาตรา + ลิงก์ไปยังสารบัญ[แก้ไข]

เหมือนกรณีก่อนหน้า เพียงแต่เพิ่ม "1" เข้าไปหลัง "ม" ดังนี้

{{กม|ม1|เลขมาตรา}}
ตัวอย่าง
{{กม|ม1|๑๒๓}}ข้อความ ข้อความ ข้อความ

มาตรา ๑๒๓ ข้อความ ข้อความ ข้อความ

เนื่องรูปแบบนี้มีลิงก์ไปยังสารบัญ จึงต้องใช้ควบคู่กับสารบัญมาตรา

สารบัญมาตรา, ไม่แสดงเลขมาตรา[แก้ไข]

ใช้สร้างรายการสารบัญที่มีลิงก์ไปยังมาตรา และสามารถลิงก์จากมาตรากลับมายังรายการสารบัญนั้น ๆ ได้

วิธีใช้
{{กม|สม|เลขมาตรา|ข้อความ}}
ตัวอย่าง
# {{กม|สม|๑|ชื่อพระราชบัญญัติ}}
# {{กม|สม|๒|วันเริ่มใช้บังคับ}}
  1. ชื่อพระราชบัญญัติ
  2. วันเริ่มใช้บังคับ

ลิงก์ไปยังมาตราอื่น[แก้ไข]

วิธีใช้
{{กม|ม2|เลขมาตรา}}
ตัวอย่าง
ตามความใน{{กม|ม2|๒}} ประกอบ{{กม|ม2|๓}}

ตามความในมาตรา ๒ ประกอบมาตรา ๓

ลิงก์ไปยังมาตรา + วรรค[แก้ไข]

วิธีใช้
{{กม|มว|เลขมาตรา|เลขวรรค}}
ตัวอย่าง
ตามความใน{{กม|มว|๑|๒}}

ตามความในมาตรา ๑ วรรคสอง

หมายเหตุ

ถ้าจะลิงก์ไปวรรคหนึ่ง ต้องเพิ่มช่องที่ 4 เข้ามาเปล่า ๆ ดังนี้

{{กม|มว|เลขมาตรา|เลขวรรค|}}

หรือ

{{กม|มว|เลขมาตรา|เลขวรรค|4=}}

และถ้าไม่ต้องการให้แสดงมาตรา ให้เพิ่มช่องที่ 5 เข้ามาเปล่า ๆ หรือ เพิ่มช่อง | ม = เข้าไปเปล่า ๆ ดังนี้

{{กม|มว|เลขมาตรา|เลขวรรค|5=}}

หรือ

{{กม|มว|เลขมาตรา|เลขวรรค|ม=}}

ลิงก์ไปยังมาตรา + วงเล็บ[แก้ไข]

{{กม|มวล|เลขมาตรา|เลขวงเล็บ}}
ตัวอย่าง
{{กม|มวล|๑|๒}}

มาตรา ๑ (๒)

หมายเหตุ

ถ้าไม่ต้องการให้แสดงมาตรา ให้เพิ่มช่องที่ 4 เข้ามาเปล่า ๆ ดังนี้

{{กม|มวล|เลขมาตรา|เลขวงเล็บ|}}

หรือ

{{กม|มวล|เลขมาตรา|เลขวงเล็บ|4=}}

วรรค[แก้ไข]

ถ้าต้องการสร้างจุดตรึงประจำวรรคใด ให้ใส่โค้ดดังนี้ไว้หน้าวรรคนั้น

{{กม|ว|เลขมาตรา|เลขวรรค}}
ตัวอย่าง
{{กม|ว|๑|๒}}ข้อความ ข้อความ ข้อความ

ข้อความ ข้อความ ข้อความ

หมายเหตุ

วรรคหนึ่ง ปรกติใช้หัวข้อเดียวกับมาตรา จึงไม่จำเป็นต้องสร้างจุดตรึง (ใช้จุดตรึงร่วมกับมาตราอยู่แล้ว)

วงเล็บ[แก้ไข]

ใส่โค้ดดังนี้ จะเป็นการทำวงเล็บที่มีช่องว่างหลังวงเล็บ

{{กม|วล|เลขวงเล็บ}}
ตัวอย่าง
{{กม|วล|๑}}ข้อความ ข้อความ ข้อความ

{{กม|วล|๒}}ข้อความ ข้อความ ข้อความ

(๑) ข้อความ ข้อความ ข้อความ

(๒) ข้อความ ข้อความ ข้อความ

หมวด[แก้ไข]

จุดตรึงที่หมวด, ไม่ลิงก์ไปสารบัญ[แก้ไข]

ใช้สร้างหัวหมวด โดยมีจุดตรึงประจำหมวดนั้น ทำให้ลิงก์มายังหมวดนั้นได้โดยเจาะจง แต่ไม่มีลิงก์กลับไปยังสารบัญ

วิธีใช้
{{กม|หม|เลขหมวด|ชื่อหมวด}}
ตัวอย่าง
{{กม|หม|๑|บททั่วไป}}
{{เส้นตรง|7em}}
หมวด ๑
บททั่วไป

จุดตรึงที่หมวด + ลิงก์ไปสารบัญ[แก้ไข]

เหมือนกับกรณีก่อนหน้า เพียงแต่เพิ่ม "1" เข้าไปหลัง "หม" ดังนี้

{{กม|หม1|เลขหมวด|ชื่อหมวด}}
ตัวอย่าง
{{กม|หม1|๒|บทนิยามศัพท์}}
{{เส้นตรง|7em}}

เนื่องจากรูปแบบนี้มีลิงก์ไปยังสารบัญ จึงต้องใช้ควบคู่กับสารบัญหมวด

สารบัญหมวด[แก้ไข]

ใช้สร้างรายการสารบัญที่มีลิงก์ไปยังหมวด และสามารถลิงก์จากหมวดกลับมายังรายการสารบัญนั้นได้

แบบมีคำว่า "หมวด"[แก้ไข]

{{กม
|สหม
|2=เลขหมวด
|3=ชื่อหมวด
|4=เลขหมวดแบบอื่น (ถ้ามี)
|5=ชื่อส่วนที่ใหญ่กว่า (ถ้ามี)
|ม=มาตราแรกในหมวด (ไม่จำเป็นต้องเติม)
|ถ=มาตราสุดท้ายในหมวด (ถ้ามี และถ้าเติมช่องมาตราแรกในหมวด)
}}
ตัวอย่างที่ 1
{{กม|สหม|2=๑|3=บททั่วไป|ม=1|ถ=10}}

หมวด ๑ บททั่วไป (มาตรา 1–10)

ตัวอย่างที่ 2
{{กม|สหม|๑|บททั่วไป|1|ม=1}}

หมวด 1 บททั่วไป (มาตรา 1)

ตัวอย่างที่ 3
{{กม|สหม|๑|บททั่วไป}}

หมวด ๑ บททั่วไป

แบบไม่มีคำว่า "หมวด"[แก้ไข]

{{กม
|สหม1
|2=เลขหมวด
|3=ชื่อหมวด
|4=ชื่อส่วนที่ใหญ่กว่า (ถ้ามี)
|ม=มาตราแรกในหมวด (ไม่จำเป็นต้องเติม)
|ถ=มาตราสุดท้ายในหมวด (ถ้ามี และถ้าเติมช่องมาตราแรกในหมวด)
}}
ตัวอย่าง
# {{กม|สหม1|๑|บททั่วไป|ม=1|ถ=10}}
# {{กม|สหม1|๒|บทอธิบายศัพท์|ม=11}}
  1. บททั่วไป (มาตรา 1–10)
  2. บทอธิบายศัพท์ (มาตรา 11)

ส่วน[แก้ไข]

จุดตรึงที่ส่วน, ไม่ลิงก์ไปสารบัญ[แก้ไข]

ใช้สร้างหัวส่วน โดยมีจุดตรึงประจำส่วนนั้น ทำให้ลิงก์มายังส่วนนั้นได้โดยเจาะจง แต่ไม่มีลิงก์กลับไปยังสารบัญ

วิธีใช้
{{กม|ส|เลขหมวด|เลขส่วน|ชื่อส่วน}}
ตัวอย่าง
{{กม|ส|๑|๑|คณะกรรมการบริหาร}}
{{เส้นตรง|7em}}
ส่วนที่ ๑
คณะกรรมการบริหาร

จุดตรึงที่ส่วน + ลิงก์ไปสารบัญ[แก้ไข]

ถ้าต้องการให้มีลิงก์จากส่วนไปยังสารบัญด้วย ให้ใช้โค้ดแบบเดียวกับกรณีก่อนหน้า เพียงแต่เพิ่ม "1" เข้าไปหลัง "ส" ดังนี้

{{กม|ส1|เลขหมวด|เลขส่วน|ชื่อส่วน}}
ตัวอย่าง
{{กม|ส1|๑|๒|การถอดถอนกรรมการ}}
{{เส้นตรง|7em}}

เนื่องจากรูปแบบนี้มีลิงก์ไปยังสารบัญ จึงต้องใช้ควบคู่กับสารบัญส่วน

สารบัญส่วน[แก้ไข]

แบบมีคำว่า "ส่วน"[แก้ไข]

{{กม
|สส
|2=เลขหมวด
|3=เลขส่วน
|4=ชื่อส่วน
|5=เลขส่วนแบบอื่น (ถ้ามี)
|6=ชื่อส่วนที่ใหญ่กว่า (ถ้ามี)
|ม=มาตราแรกในหมวด (ไม่จำเป็นต้องเติม)
|ถ=มาตราสุดท้ายในหมวด (ถ้ามี และถ้าเติมช่องมาตราแรกในหมวด)
}}
ตัวอย่างที่ 1
{{กม|สส|๑|๑|บททั่วไป|1|ม=1|ถ=10}}

ส่วนที่ 1 บททั่วไป (มาตรา 1–10)

ตัวอย่างที่ 2
{{กม|สส|2=๑|3=๑|4=บททั่วไป}}

ส่วนที่ ๑ บททั่วไป

แบบไม่มีคำว่า "ส่วน"[แก้ไข]

{{กม
|สส1
|2=เลขหมวด
|3=เลขส่วน
|4=ชื่อส่วน
|5=ชื่อส่วนที่ใหญ่กว่า (ถ้ามี)
|ม=มาตราแรกในหมวด (ไม่จำเป็นต้องเติม)
|ถ=มาตราสุดท้ายในหมวด (ถ้ามี และถ้าเติมช่องมาตราแรกในหมวด)
}}
ตัวอย่าง
# {{กม|สส1|๑|๑|บททั่วไป|ม=1|ถ=20}}
# {{กม|สส1|๑|๒|บทวิเคราะห์ศัพท์|ม=21|ถ=25}}
  1. บททั่วไป (มาตรา 1–20)
  2. บทวิเคราะห์ศัพท์ (มาตรา 21–25)

หัวเรื่อง[แก้ไข]

จุดตรึงที่หัวเรื่อง, ไม่ลิงก์ไปสารบัญ[แก้ไข]

ใช้สร้างหัวเรื่องทั่วไป โดยมีจุดตรึงที่หัวเรื่อง ทำให้ลิงก์มายังหัวเรื่องนั้นได้เจาะจง แต่ไม่มีลิงก์จากหัวเรื่องไปยังสารบัญ

วิธีใช้
{{กม|ห|ชื่อจุดตรึง|ชื่อหัวเรื่อง (ถ้าเป็นคนละอย่างกับชื่อจุดตรึง)|ขนาดอักษร (ถ้าต้องการใช้ขนาดอื่นนอกจากขนาดอัตโนมัติ, ใส่เป็นเลข เช่น 120, 140, ฯลฯ)}}
ตัวอย่าง
{{กม|ห|บทเฉพาะกาล}}
{{เส้นตรง|7em}}
บทเฉพาะกาล

จุดตรึงที่หัวเรื่อง + ลิงก์ไปสารบัญ[แก้ไข]

เหมือนกรณีก่อนหน้า เพียงแต่เพิ่ม "1" เข้าไปหลัง "ห" ดังนี้

{{กม|ห1|ชื่อจุดตรึง|ชื่อหัวเรื่อง (ถ้าเป็นคนละอย่างกับชื่อจุดตรึง)|ขนาดอักษร (ถ้าต้องการใช้ขนาดอื่นนอกจากขนาดอัตโนมัติ, ใส่เป็นเลข เช่น 120, 140, ฯลฯ)}}
ตัวอย่าง
{{กม|ห1|บททั่วไป}}
{{เส้นตรง|7em}}

สารบัญหัวเรื่อง[แก้ไข]

{{กม
|สห
|ชื่อจุดตรึง
|ชื่อหัวเรื่อง (ถ้าเป็นคนละอย่างกับชื่อจุดตรึง)
|ม=มาตราแรกในหัวเรื่องนั้น (ไม่จำเป็นต้องเติม)
|ถ=มาตราสุดท้ายในหัวเรื่อง (ถ้ามี และถ้าเติมช่องมาตราแรกในหัวเรื่อง)
}}
ตัวอย่าง
# {{กม|สห|บทเฉพาะกาล|ม=1|ถ=10}}
  1. บทเฉพาะกาล (มาตรา 1–10)