แม่แบบ:หัวพจนานุกรม

จาก วิกิซอร์ซ

' 

Documentation icon คู่มือการใช้งานแม่แบบ[ดู] [แก้] [ประวัติ] [ล้างแคช]

วัตถุประสงค์[แก้ไข]

ใช้สร้างส่วนหัวของนิยามในพจนานุกรม

วิธีใช้[แก้ไข]

ใช้โค้ดดังนี้

{{หพ|1=|2=|3=|4=|5=}}

หรือ

{{หพ|คำ=|ชนิด=|ลักษณะ=|คำอ่าน=|ขนาด=}}

คำอธิบาย[แก้ไข]

ช่อง คำอธิบาย จำเป็นต้องใส่?
1 คำ ใส่คำ จำเป็น
2 ชนิด ใส่ชนิด เช่น "น" (หมายถึง คำนาม) ใส่ต้องใส่จุดปิดท้าย เพราะจะขึ้นโดยอัตโนมัติ ถ้ามี
3 ลักษณะ ใส่ลักษณะ เช่น "โบ" (หมายถึง โบราณ) ถ้ามี
4 คำอ่าน ใส่คำอ่าน ใช้ชื่อช่องว่า อ่าน เฉย ๆ ก็ได้ ถ้ามี
5 ขนาด ขนาดอักษรของช่อง 1 ขนาดอัตโนมัติ คือ 110% ใช้ช่องนี้เพื่อเปลี่ยนขนาดดังกล่าว โดยไม่ต้องเติมเครื่องหมาย % ถ้าต้องการ

ช่องข้างต้นอาจใช้ในลักษณะอื่น เช่น ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ช่องที่เป็นวงเล็บกลม ใช้สำหรับลักษณะคำ แต่ฉบับกระทรวงธรรมการ ใช้สำหรับที่มาของคำ

ตัวอย่าง[แก้ไข]

{{หพ|โอษฐ์|น}}ริมฝีปาก, ปาก. (ส.; ป. โอฏฺฐ). {{หพ|โอษฐชะ|น}}เกิดจากริมฝีปาก, ในไวยากรณ์หมายถึงพยัญชนะที่ออกเสียงด้วยต้องใช้หุบริมฝีปาก ได้แก่ พยัญชนะวรรค บ ป. (ส.).

{{หพ|ไอศวรรย์|น|-สฺหฺวัน}}ความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, ความเป็นพระเจ้าแผ่นดิน; อำนาจ; (กลอน) สมบัติแห่งพระราชาธิบดี, ใช้แผลงเป็น ไอศุริย หรือ ไอศูรย์ ก็มี.

โอษฐ์ น. ริมฝีปาก, ปาก. (ส.; ป. โอฏฺฐ). โอษฐชะ น. เกิดจากริมฝีปาก, ในไวยากรณ์หมายถึงพยัญชนะที่ออกเสียงด้วยต้องใช้หุบริมฝีปาก ได้แก่ พยัญชนะวรรค บ ป. (ส.).

ไอศวรรย์ (-สฺหฺวัน) น. ความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, ความเป็นพระเจ้าแผ่นดิน; อำนาจ; (กลอน) สมบัติแห่งพระราชาธิบดี, ใช้แผลงเป็น ไอศุริย หรือ ไอศูรย์ ก็มี.