ไกรทอง (วัดเกาะ)
หน้าตา
สงวนลิขสิทธิ์
________________________________________
พิมพ์ที่ ร.พ. ราษฎร์เจริญ หน้าวัดเกาะ สำเพ็ง พระนคร
นางทองคำ พั่ววงศ์แพทย์ ผู้พิมพ์และผู้โฆษณา ๑๒.๙๐
________________________________________
สารบัญ
_______________
ตั้งแต่ท้าวโคจรจำแลงเป็นมนุษย์โดยสารเรือตายายมารบท้าวพันตา
แล้วท้าวพันตาก็รบกับท้าวโคจรถึงเจ็ดวันเจ็ดคืน
ท้าวโคจรก็ฟาดถูกหางท้าวพันตาขาดตาย
แล้วน้องมารบ ท้าวโคจรก็กัดตายทั้งพี่ทั้งน้อง
จนถึงขุนไกรเที่ยวจับจระเข้ทำร้ายชาวบ้าน
..........
ตั้งแต่ชาละวันพานางตะเภาทองไปไว้ในถ้ำ
แล้วไกรทองรบกับชาละวัน ชาละวันแพ้ แล้วเขียนยันต์ปิดหัวไว้
ไปจนถึงไกรทองพานางตะเภาทองกลับคืนมา
..........
ตั้งแต่ไกรทองพานางตะเภาทองขึ้นมาจากถ้ำ
แล้วพระพิจิตรยกทางตะเภาทองกับนางตะเภาแก้วสองพี่น้องให้แก่ไกรทอง
จนถึงไกรทองลงไปในถ้ำ ไปได้วิมาลาเป็นเมีย
..........
ตั้งแต่ไกรทองพานางวิมาลามาไว้ที่สวนยายตา
แล้วยายตามาบอกกับนางตะเภาแก้วตะเภาทอง
นางตะเภาแก้วตะเภาทองก็มาหึงหวงนางวิมาลา
นางวิมาลาจึงเปิดยันต์ที่ปิดหัวออก ก็กลายเป็นจระเข้หนีไปอยู่ในถ้ำ
จนถึงไกรทองไปตามนางวิมาลาที่ในถ้ำ
..........
ตั้งแต่ไกรทองอยู่กับตะเภาแก้วตะเภาทอง
แล้วนางทั้งสองมีบุตรชายคนละคน
นางวิมาลากับนางเลื่อมไลวรรณก็มีบุตรคนละคน
แล้วลูกวิมาลาลักเอาไกรทองไปอยู่กับวิมาลา
ไปจนถึงลูกนางตะเภาแก้วตะเภาทองไปตามพ่อ ได้รับกับลูกวิมาลา
..........
ตั้งแต่ไกรแก้วไกรดาไปรบกับลูกนางวิมาลา
แล้วไกรทองขอลูกสาวขุนรามแต่งให้ไกรแก้ว แล้วเหรากับไกรวงศ์มาลักเอานางไป
ไกรทองครูไปตาม ได้รบกันกับเหรา ไกรทองฆ่าเหราตาย
จนถึงรับลูกสาวขุนรามแต่งงานกับไกรแก้ว
..........
ตั้งแต่ไกรวงศ์คิดอุบายให้ผีเสื้อสมุทรมากินคนในเมืองท้าวทศชัย
แล้วไกรวงศ์ทำเข้ารับอาสาปราบผีเสื้อ เจ้าไกรดาก็เข้ารับอาสาเหมือนกัน
ไกรดาฆ่าผีเสื้อสมุทรตาย ต่างแย่งความชอบกัน
แล้วต่างอาสาฆ่าเจ้าแขกตาย ท้าวทศชัยให้ทั้งสองไปกินหัวเมือง
..........
งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก