ไฟล์:ราชพงศฯ กพช - ๒๔๖๐.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(3,212 × 5,177 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 112.23 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 377 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Royal Chronicle of the Kingdom of Cambodia

ไทย: ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา

 s:th:ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้แปล
institution QS:P195,Q13026749
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Royal Chronicle of the Kingdom of Cambodia
ไทย: ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา
รุ่น 1st
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q13026749
โรงพิมพ์
institution QS:P195,Q97382960
คำอธิบาย
English: The present book consists of the following:
  1. A preface dated 1 December 2460 BE (1917 CE), written by Prince Damrong Rachanuphap of Siam.
  2. Ratchaphongsawadan Krung Kamphucha ("Royal Chronicle of the Kingdom of Cambodia"), aka Ratchaphongsawadan Krung Kamphucha Chabab Hophrasamut Wachirayan Plae Mai ("Royal Chronicle of the Kingdom of Cambodia: Version Newly Translated by Wachirayan Royal Library"), Ratchaphongsawadan Krung Kamphucha Chabap Hosamut Haeng Chat ("Royal Chronicle of the Kingdom of Cambodia: National Library Verison"), and Ratchaphongsawadan Chabap Phra-ong Noppharat ("Royal Chronicle of the Kingdom of Cambodia: Prince Noppharat Version"), being a Thai translation of a Khmer document.
    1. The said Khmer document is a royal chronicle which is a revision of another Khmer document, Phraratchaphongsawadan Nakhon Khamen ("Royal Chronicle of the Khmer Kingdom") written by a Cambodian high priest, Somdet Phra Sukhonthathipbodi (Pan). The revision was done by Phra-ong Noppharat, a son of King Duong of Cambodia, and was started on 19 March 2420 BE (1878 CE).
    2. The original Khmer manuscript was discovered and presented to the Wachirayan Royal Library of Siam by George Cœdès in 2457 BE (1914/15 CE), and Prince Damrong Rachanuphap of Siam then had it translated into Thai. The translation was done by a Siamese nobleman, Colonel Luang Rueangdet-a-nan (Thongdi Thanarat), father of the military dictator Sarit Thanarat, and was printed for the first time as this book.
    3. A study by Santi Phakdikham, an associate professor at Srinakharinwirot University, found that, in this Thai translation, many parts have been translated inaccurately, have been missed out, have been removed, or have been inserted [sometimes possibly deliberately; for example, the parts describing Prince Basat as a son of King Ramathipbodi I (U-thong) of Ayutthaya have questionably been removed]. See further information in: Santi Phakdikham. (2016). "Khwamnam" [Preface]. In Prachum Phongsawadan Chabap Kanchanaphisek Lem Sipsong [Collection of Historical Archives: Golden Jubilee Version, Volume 12] (pp. 234–235). Bangkok: Krom Sinlapakon, Samnak Wannakam Lae Prawattisat [Department of Fine Arts, Office of Literature and History]. ISBN 974-9528-47-6. (In Thai).
ไทย: หนังสือนี้ ประกอบด้วย
๑. คำนำ ของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ ลงวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๐
๒. ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา บางแห่งเรียก ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณแปลใหม่ ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา ฉบับหอสมุดแห่งชาติ และ ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา ฉบับพระองค์นพรัตน์ เป็นพงศาวดารของประเทศกัมพูชา
(ก) ต้นฉบับเป็นภาษาเขมร เป็นพงศาวดารที่พระองค์นพรัตน์ บุตรนักองค์ด้วง ชำระขึ้นจาก พระราชพงศาวดารนครเขมร ของสมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน) เริ่มชำระเมื่อวันที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๒๐ (ค.ศ. ๑๘๗๘)
(ข) ยอร์ช เซเดส์ พบต้นฉบับภาษาเขมร และนำต้นฉบับนั้นมามอบให้หอพระสมุดวชิรญาณเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๙ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ ให้นายพันตรี หลวงเรืองเดชอนันต์ (ทองดี ธนะรัชต์) แปลออกเป็นภาษาไทย พิมพ์ครั้งแรกเป็นหนังสือเล่มนี้
(ค) ศานติ ภักดีคำ รองศาสตราจารย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศึกษาแล้วพบว่า มีหลายจุดที่แปลคลาดเคลื่อน แปลตกแปลหล่น ตัดทอน และแต่งเติม [ซึ่งบางจุดน่าสงสัยว่า เกิดจากความจงใจ เช่น การตัดข้อความที่พรรณนาว่า เจ้าบาสาตร์เป็นพระโอรสของพระเจ้าอู่ทอง (รามาธิบดีที่ ๑)] ดูข้อมูลเพิ่มเติมใน ศานติ ภักดีคำ. (๒๕๔๙). "ความนำ". ใน ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๑๒ (น. ๒๓๔–๒๓๕). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ISBN 974-9528-47-6.
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 2459 หรือ 2460
publication_date QS:P577,+1917-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: โบราณคดีสโมสร (ผู้รวบรวม). (๒๔๖๐). ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร. [จางวางตรี พระยาไกรเพ็ชรรัตนสงคราม (ชม โชติกะพุกกณะ) สมุหเทศาภิบาลมณฑลนครสวรรค์ พิมพ์แจกในงานศพพระตำรวจตรี พระยากำแหงรณฤทธิ (ฉาย โชติกะพุกกณะ) จางวางพระตำรวจ ผู้บิดา พ.ศ. ๒๔๖๐].

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

ไอเทมที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน23:16, 20 กุมภาพันธ์ 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 23:16, 20 กุมภาพันธ์ 25643,212 × 5,177, 377 หน้า (112.23 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{institution:Historical Society of Siam}} from {{th|1=โบราณคดีสโมสร (ผู้รวบรวม). (๒๔๖๐). ''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา''. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร. [จางวางตรี พระยาไกรเพ็ชรรัตนสงคราม (ชม โชติกะพุกกณะ) สมุหเทศาภิบาลมณฑลนครสวรรค์ พิมพ์แจกในงานศพพระตำรวจตรี พระยากำแหงรณฤทธิ (ฉาย โชติกะพุกกณะ) จางวางพระตำรวจ ผู้บิดา พ.ศ. ๒๔๖๐].}} with UploadWizard

1 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์