ข้ามไปเนื้อหา

ไฟล์:Phongsawadan Chak Tonchabap Thi Pen Sombat Khong Britit Miusiam 1964.djvu

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ (1,840 × 2,758 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 77.32 เมกะไบต์, ประเภท MIME: image/vnd.djvu, 800 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

th:พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับที่เป็นสมบัติของบริติชมิวเซียมกรุงลอนดอน  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ชื่อเรื่อง
  • Thai: พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับที่เป็นสมบัติของบริติชมิวเซียมกรุงลอนดอน
  • ALA-LC: Phrarātchaphongsāwadān Krung Sayām Čhāk Tonchabap Thī Pen Sombat Khǭng Britit Miusīam Krung Lǫndǫn
  • Translation: Royal Chronicle of the Kingdom of Siam From the Manuscript Which Belongs to the British Museum, the City of London
image of artwork listed in title parameter on this page
รุ่น 1
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q1416884
โรงพิมพ์
English: Kao Na Printing Office
ไทย: สำนักพิมพ์ก้าวหน้า
คำอธิบาย
English:

The Royal Chronicle of Siam: British Museum Version...[is found in] a western-paper manuscript written in black ink. A history note states the manuscript was donated to the British Museum, London, England, by J. Hurst Hayes Esq. on 31 May AD 1948 (2491 BE). This document was later found in 2501 BE [1958 CE] by Mr Khachon Sukkhaphanit, who had its first and last volumes microfilmed and sent to the Fine Arts Department for consideration, and the Fine Arts Department then directed him to have all the thirty volumes microfilmed [and sent to it]...

The preamble of this royal chronicle states that the chronicle was presented to King Phutthayotfa Chulalok the Great by the Prince of the Front Palace ([later] King Phutthaloetla Naphalai, King Rama II) on 11 January 2350 BE [1808 CE]...

This royal chronicle is different from the other royal chronicles. The beginning part of this royal chronicle, which resembles the Royal Chronicle of the North, deals with...the events prior to the founding of the Kingdom of Ayutthaya. The chronicle then describes the founding of the Kingdom of Ayutthaya and records subsequent events until the year 2327 BE [1784/85 CE], which was the third year of the reign of King Phutthayotfa Chulalok the Great. This part mostly resembles the Royal Chronicle: Somdet Phra Phonnarat Version (printed edition). The differences exist only in figures of years, proper names, and trivialities. As for the events in the reign of the King of Thon Buri, the contents resemble the Royal Chronicle of the Kingdom of Thon Buri: Phan Channumat (Choem) Version. The end of [this] royal chronicle...contains a statement saying "The thirtieth volume of the chronicle royally composed ends [here]", which indicates that this royal chronicle is a work composed by King Phutthayotfa Chulalok the Great.

— Royal Society of Thailand (พ.ศ. 2565) (ไทย) Nānā Sāra Phāsā Læ Nangsư̄ Thai Chabap Rātchabandittayasaphā, กรุงเทพมหานคร: Office of the Royal Society of Thailand, pp. 185–186 ISBN: 978-616-389-157-0.
ไทย:

พระราชพงศาวดารสยาม ฉบับบริติชมิวเซียม...ต้นฉบับเป็นสมุดฝรั่ง เขียนด้วยเส้นหมึกดำ ปรากฏในประวัติว่า J. Hurst Hayes Esq. เป็นผู้มอบให้บริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๔๘ (พ.ศ. ๒๔๙๑) ต่อมานายขจร สุขพานิช ได้พบหนังสือเรื่องนี้เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๑ จึงขอถ่ายไมโครฟิล์มเล่มต้นและเล่มปลายมาให้กรมศิลปากรพิจารณา กรมศิลปากรจึงขอให้ถ่ายไมโครฟิล์มทั้งหมด ๓๐ เล่ม...

พระราชพงศาวดารฉบับนี้มีบานแพนกบอกไว้ว่า กรมพระราชวังบวรฯ (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒) ทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๓๕๐...

พระราชพงศาวดารฉบับนี้มีความแตกต่างกับพระราชพงศาวดารฉบับอื่น เนื่องจากเนื้อความส่วนต้นของพระราชพงศาวดารกล่าวถึง...เหตุการณ์ก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา ซึ่งคล้ายคลึงกับพระราชพงศาวดารเหนือ ต่อมาจึงกล่าวถึงการสถาปนากรุงศรีอยุธยา และลำดับเหตุการณ์ต่อมาจนถึง พ.ศ. ๒๓๒๗ ซึ่งเป็นปีที่ ๓ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เนื้อความตอนนี้ส่วนใหญ่เหมือนกับพระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ (ฉบับพิมพ์) ต่างกันตรงเลขศักราช ชื่อเฉพาะ และพลความ ส่วนเหตุการณ์ในรัชกาลพระเจ้ากรุงธนบุรีมีความคล้ายคลึงกับพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ในตอนท้ายของพระราชพงศาวดาร [ฉบับนี้]...มีข้อความระบุว่า "พระราชนิพลพงษาวะดานเล่ม ๓๐ จบบริบูรรณ์" แสดงว่า พระราชพงศาวดารฉบับนี้เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

— สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (๒๕๖๕). นานาสาระภาษาและหนังสือไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. หน้า ๑๘๕–๑๘๖. ISBN 978-616-389-157-0.
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก พ.ศ. 2507
publication_date QS:P577,+1964-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา
Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน19:08, 2 มกราคม 2567รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 19:08, 2 มกราคม 25671,840 × 2,758, 800 หน้า (77.32 เมกะไบต์)Adder of EdenUploaded a work by {{institution|wikidata=Q1416884}} from {{ cite book | language = th | url = http://adminebook.car.chula.ac.th/viewer/97985151767465112122758311411676781137110510957841196161/1/2/0/viewer.html?url=%0D%0Ahttp%3A%2F%2Fadminebook.car.chula.ac.th%3A80%2Fviewer%2F97985151767465112122758311411676781137110510957841196161%2F1%2F2%2F0%2Fviewer.html | title = Phrarātchaphongsāwadān Krung Sayām Čhāk Tonchabap Thī Pen Sombat Khǭng Britit Miusīam Krung Lǫndǫn | location = Phra Nakhǫn | p...