งานแปล:สารานุกรมบริตานิกา
คำแปลงานภาษาต่างประเทศนี้ยังไม่เสร็จ. ถ้าคุณต้องการช่วยเพิ่มเติม สามารถดู วิธีใช้ และ คู่มือการเขียน หรือทิ้งความเห็นไว้ที่ หน้าพูดคุย |
สารานุกรมบริตานิกา (อังกฤษ: Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมความรู้ทั่วไปสารานุกรมภาษาอังกฤษ เขียนขึ้นโดยบรรณาธิการเต็มเวลากว่า 100 คน และผู้ร่วมเขียนมากกว่า 4,000 คน โดยมีบทความเกี่ยวกับผู้ได้รับรางวัลโนเบล 110 ท่าน และประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา 5 ท่าน การจัดพิมพ์ครั้งล่าสุดเป็นรุ่นปี ค.ศ. 2010 เป็นการจัดพิมพ์ครั้งที่ 15 มีจำนวน 32 เล่ม และ 32,640 หน้า เนื้อหาดิจิทัลและการจำหน่ายได้ดำเนินต่อไปเรื่อยๆ
- ครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1768–1771)
- ครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1777–1784)
- Third Edition (ค.ศ. 1788–1797)
- การละเมิดลิขสิทธิ์และแก้ไขในสหรัฐอเมริกาเป็นสารานุกรม (ค.ศ. 1790–1797)
- Fourth Edition (ค.ศ. 1800–1810)
- Fifth Edition (ค.ศ. 1815–1817)
- Sixth Edition (ค.ศ. 1823)
- Seventh Edition (ค.ศ. 1830–1842)
- Eighth Edition (ค.ศ. 1853–1860)
- Ninth Edition (ค.ศ. 1875–1889)
- Pirated and emended in the United States as The New Werner Twentieth Century Edition of the Encyclopædia Britannica with New American Supplement (ค.ศ. 1907)
- Tenth Edition (ค.ศ. 1903)
- ครั้งที่ 11 (ค.ศ. 1910–1911)
- ครั้งที่ 12 (ค.ศ. 1922)
ข้อความที่ตัดตอน
[แก้ไข]- คำนำในการจัดพิมพ์สารานุกรมบริตานิกา ครั้งที่ 1 โดย วิลเลียม สเมลลี (ค.ศ. 1771)
ลิขสิทธิ์
[แก้ไข]สารานุกรม 12 ฉบับแรกเป็นสาธารณสมบัติ
ครั้งที่ 13 (ค.ศ. 1926) เหมือนกับครั้งที่ 11 ยกเว้นว่าได้มีการเปลี่ยนเล่มเสริมเล่มที่ 3 ครั้งที่ 12 แหล่งข้อมูลปกติสำหรับข้อมูลเกี่ยวกับการต่ออายุลิขสิทธิ์จะไม่มีการบันทึกเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ที่ได้รับการต่ออายุ
ครั้งที่ 14 (ค.ศ. 1929-1933) เป็นฉบับใหม่ใน 24 เล่ม ไม่พบบันทึกการต่ออายุลิขสิทธิ์
ในปี ค.ศ. 1933 ขั้นตอนการแก้ไขได้เริ่มขึ้นตั้งแต่การจัดพิมพ์ครั้งที่ 14 ส่งผลให้มีการตีพิมพ์ในรัฐต่างๆ ของการแก้ไขจนกระทั่งปี ค.ศ. 1973 ไม่พบบันทึกการต่ออายุลิขสิทธิ์ของการแก้ไขใด ๆ ที่ออกก่อนปี ค.ศ. 1946 สำหรับสิ่งที่เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1946 มีเพียงไม่กี่ชิ้นเท่านั้นที่มีการต่ออายุลิขสิทธิ์ หลังจากปี ค.ศ. 1946 ทุกรุ่นควรได้รับการคุ้มครองอย่างเป็นทางการ
การจัดพิมพ์ครั้งที่ 15 เป็นต้นมา (ค.ศ. 1974) ยังได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์อยู่