ไฟล์:ประชุมพงศาวดาร (ภาค ๘๐) - ๒๕๐๙.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(5,006 × 8,008 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 11.26 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 208 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Collection of Historical Archives

ไทย: ประชุมพงศาวดาร

 s:th:ประชุมพงศาวดาร/ภาคที่ 80  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q1416884
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Collection of Historical Archives
ไทย: ประชุมพงศาวดาร
เล่มที่ 80
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q1416884
โรงพิมพ์
institution QS:P195,Q104533467
คำอธิบาย
English: This volume consists of:
  1. A preface by the Fine Arts Department, dated 6 June 2509 BE (1966 CE).
  2. Chotmaihet Fobang ("Forbin's Records"), being a Thai translation of the French book Mémoires du comte de Forbin (1656–1733), which was first printed in Amsterdam by François Girardi in the year 1729 CE. The book contains records of Claude de Forbin, a French diplomat Louis XIV accredited to the royal court of Ayutthaya during the reign of Narai. However, some have argued that these records were actually written by a secretary to Forbin rather than Forbin himself. The Thai translation was carried out by Momchao Damratdamrong Thewakun (b. 2429 BE [1886/87 CE]; d. 2487 BE [1944 CE]), a prince of Siam. In this edition, the Fine Arts Department stated that it had edited the wording in the original translation.
ไทย: ภาคนี้ ประกอบด้วย
๑. คำนำ ของ กรมศิลปากร ลงวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๙
๒. จดหมายเหตุฟอร์บัง คำแปลภาษาไทยของหนังสือภาษาฝรั่งเศสชื่อ Mémoires du comte de Forbin (1656–1733) ซึ่งสำนักพิมพ์ François Girardi พิมพ์ครั้งแรกที่ Amsterdam เมื่อ ค.ศ. ๑๗๒๙ เนื้อหาเป็นบันทึกของโกลด เดอ ฟอร์แบ็ง ราชทูตที่พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ส่งมาราชสำนักอยุธยาสมัยพระนารายณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้เห็นว่า บันทึกนี้ ผู้เขียน คือ เลขานุการของฟอร์แบ็ง มากกว่าจะเป็นตัวฟอร์แบ็งเอง ผู้แปลเป็นภาษาไทย คือ หม่อมเจ้าดำรัสดำรงค์ เทวกุล (พ.ศ. ๒๔๒๙–๒๔๘๗) ฉบับที่พิมพ์ในเล่มนี้ กรมศิลปากรระบุว่า มีการแก้ไขถ้อยคำเดิม
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 12 มิถุนายน พ.ศ. 2509
publication_date QS:P577,+1966-06-12T00:00:00Z/11
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๕๐๙). ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๘๐. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. (พันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลทิฆัมพร โปรดให้พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพพลตรี ลม้าย อุทยานานนท์ ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๑๒ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๐๙).
เวอร์ชันอื่น
1st ed.

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

ไอเทมที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน07:12, 3 กรกฎาคม 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 07:12, 3 กรกฎาคม 25645,006 × 8,008, 208 หน้า (11.26 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{Institution:Fine Arts Department}} from {{th|1=กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๕๐๙). ''ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๘๐''. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. (พันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลทิฆัมพร โปรดให้พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพพลตรี ลม้าย อุทยานานนท์ ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๑๒ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๐๙).}} with UploadWizard

1 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์