กฎหมายเมืองไทย/เล่ม 2
หน้าตา
หนังสือ
เรื่องกฎหมายเมืองไทย
ได้ทานแล้วถูกต้องกันกับฉบับหลวงทุกเล่ม
เมื่อจุลศักราช ๑๒๓๕ ปีระกา เบญจศก
กฎหมายหมดด้วยกันเปนหนังสือสมุดไทย ๕๕ เล่ม
ได้แบ่งทำเปนหนังสือพิมพ์สองเล่ม
ในเล่มที่ ๒ นี้ ๒๑ เรื่องตามที่ได้บอกไว้ในที่สุดหนังสือพิมพ์นี้
ได้ตีพิมพ์คราวที่ ๔ เมื่อจุลศักราช ๑๒๔๓ ปีมเสง ตรีศก
ข้าพเจ้า หมอบรัดเล
ได้ตีพิมพ์ริมป้อมปากคลองบางกอกใหญ่
ณะกรุงเทพ
ราคาหนังสือ | ||||||||
๑ | ไคเภ็กเล่มหนึ่ง | ราคา | ๔ | บาท | ||||
๒ | ห้องสินสองเล่ม | ราคา | ๘ | บาท | ||||
๓ | เลียดก๊กห้าเล่ม | ราคา | ๒๕ | บาท | ||||
๔ | ไซ่ฮั่นสองเล่ม | ราคา | ๘ | บาท | ||||
๕ | ตั้งฮั่นเล่มหนึ่ง | ราคา | ๖ | บาท | ||||
๖ | สามก๊กสี่เล่ม | ราคา | ๕ | ตำลึง | ||||
๗ | ไซ่จิ้นสองเล่ม | ราคา | ๙ | บาท | ||||
๘ | ตังจิ้นสามเล่ม | ราคา | ๑๙ | บาท | ||||
๙ | น่ำปักเล่มหนึ่ง | ราคา | ๖ | บาท | ||||
๑๐ | ไต้ฮั่นเล่มหนึ่ง | ราคา | ๒ | บาท | ||||
๑๑ | เสาปักเล่มหนึ่ง | ราคา | ๒ | บาท | ||||
๑๒ | ซิยินกุ้ยเจงตังเล่มหนึ่ง | ราคา | ๓ | บาท | ||||
๑๓ | สิเตงซันเจงไซรสองเล่ม | ราคา | ๘ | บาท | ||||
๑๔ | บ้วนฮ่วยเหลาเล่มหนึ่ง | ราคา | ๑๐ | สลึง | ||||
๑๕ | โงวโฮ้วเพงไซเล่มหนึ่ง | ราคา | ๔ | บาท | ||||
๑๖ | โงวโฮ้วเพงหนำเล่มหนึ่ง | ราคา | ๒ | บาท | ||||
๑๗ | ซ้องกั๋งห้าเล่ม | ราคา | ๕ | ตำลึง | ||||
๑๘ | เองเลียดต้วนเล่มหนึ่ง | ราคา | ๔ | บาท | ||||
๑๙ | อิวกังหนำเล่มหนึ่ง | ราคา | ๑๐ | สลึง | ||||
๒๐ | ใตอั้งเผาสองเล่ม | ราคา | ๗ | บาท | ||||
๒๑ | เซียวอั้งเผาสองเล่ม | ราคา | ๓ | บาท | ||||
๒๒ | เนี่ยหนำอิดซือสองเล่ม | ราคา | ๖ | บาท | ||||
๒๓ | เม่งมวดเซงฌ้อเล่ม⟨ห⟩นึ่ง | ราคา | ๔ | บาท | ||||
๒๔ | กฎหมายสองเล่ม | ราคา | ๑๓ | บาท | ||||
๒๕ | พระราชพงษาวดารสองเล่ม | ราคา | ๑๐ | บาท | ||||
๒๖ | ราชาธิราชเล่มหนึ่ง | ราคา | ๖ | บาท |
๏ หนังสือเรื่องกฎหมาย
จุลศักราช ๑๒๒๙ ปีเถาะ นพศก
ได้ตีพิมพในเล่มที่สองนี้ ศิริรวมกันเปน ๑๒ เรื่อง คือ
๏มูลคดีวิวาทแบ่งปันบานแผนกหมู่ชากัน | น่า | ต้น | ||
๏โจรห้าเส้น | น่า | ๓๐ | ||
๏กฎสามสิบหกข้อ | น่า | ๔๕ | ||
๏พระราชบัญญัติ | น่า | ๖๐ | ||
๏ลักษณะพิสูตรดำน้ำลุยเพลิง | น่า | ๗๙ | ||
๏กฎมณเฑียรบาล | น่า | ๙๐ | ||
๏กฎหมายพระสงฆ | น่า | ๑๔๒ | ||
๏ลักษณะอาญาหลวง | น่า | ๑๗๙ | ||
๏ลักษณะอาญาราษฎร | น่า | ๒๓๖ | ||
๏ลักษณะขบถศึก | น่า | ๒๔๑ | ||
๏พระราชกำหนดเก่า | น่า | ๒๖๙ | ||
๏พระราชกำหนดใหม่ | น่า | ๔๐๕ |
ทั้ง ๑๒ เรื่องนี้ได้ทานแล้ว
ถูกต้องกันกับฉบับหอหอหลวงทุกเล่ม
ถูกต้องกันกับฉบับหอหอหลวงทุกเล่ม
งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก