ข้ามไปเนื้อหา

กฎหมายไทยฯ/เล่ม 6

จาก วิกิซอร์ซ
กฎหมายไทย
คือ
พระราชบัญญัติและประกาศ
ซึ่งตั้งขึ้นในรัชกาลของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ผู้ทรงพระคุณธรรมอันประเสริฐ
เล่ม ๖

ขุนหลวงพระไกรสี สุภาวภักดีศรีมนธาตุราช อำมาตยคณาการ (เปล่ง) ภ,ม,ท,ช,ร,ต,ม, รัฐมนตรี ข้าหลวงพิเศษประจำการจัดการศาลยุติธรรมตามหัวเมืองทั้งปวง อธิบดีผู้พิพากษาศาลพระราชอาญา สนามสถิตย์ยุติธรรมกรุงเทพฯ เปนผู้รวบรวมเอามาลงพิมพ์ไว้เปนสมุดเล่มเดียวกัน เพื่อให้เปนประโยชน์แก่การพิจาราณาพิพากษาคดีทั้งปวง

ตีพิมพ์ที่โรงพิมพ์วิชากร บ้านหม้อ ถนนเฟื่องนคร กรุงเทพฯ
ราคาเล่มละ ๘ บาท
ปีรัตนโกสินทรศก ๑๑๗

สารบานน่า
๓๔๓ ประกาศให้ใช้ตราสำหรับตำแหน่ง ร.ศ. ๑๑๔ น่า ๑๙๓๓
๓๔๔ พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความมีโทษสำหรับใช้ไปพลางก่อน ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๓๔
หมวดที่ ๑
ว่าด้วยลักษณไต่สวนก่อนเวลาพิจารณา
มาตราห้ามไม่ให้จับกุมกักขังโดยไม่มีหมายจับ ยกเสียแต่จับกุมกำลังทำผิดฤๅสงไสยว่าจะหนี น่า ๑๙๓๕
มาตราคนต้องจับกุมมาถึงที่ขังแล้ว ต้องจดบาญชีตามเหตุที่ต้องจับนั้น น่า ๑๙๓๖
มาตราต้องไต่สวนใน ๔๘ ชั่วโมงตั้งแต่จับตัวมา ถ้าช้าไปด้วยเหตุใด ต้องจดหมายไว้ตามเหตุนั้น น่า ๑๙๓๗
มาตราให้ไต่สวนพิเคราะห์ดูตามถ้อยคำที่สาบาลเปนหลักฐานว่าเปนพิรุธฤๅไม่ น่า ๑๙๓๗
มาตราคู่ความซักพยานได้ น่า ๑๙๓๘
มาตราให้ผู้พิพากษามีคำสั่งตามคำพยานชั้นต้นที่พิรุธฤๅไม่ น่า ๑๙๓๘
หมวดที่ ๒
ว่าด้วยการชำระเปนความแผ่นดิน
มาตราความหลวงไม่มีโจทย์ ให้ชำระเปนความแผ่นดินตามคำพยาน น่า ๑๙๓๙
มาตราให้เจ้าพนักงานกองตระเวรแลกองไต่สวนช่วยเสาะหาพยานให้ชำระ น่า ๑๙๔๐
หมวดที่ ๓
ว่าด้วยลักษณพิจารณา
มาตราคู่ความแต่งทนายช่วยว่าความได้ น่า ๑๙๔๑
มาตรา๑๐ถึงกำหนดชำระ โจทย์ไม่มา ก็ให้ยกฟ้องเสีย เว้นแต่มีเหตุที่ควรเลื่อนเวลาชำระต่อไป น่า ๑๙๔๑
มาตรา๑๑โจทย์หา จำเลยให้การรับแล้ว ให้ตัดสินลงโทษ น่า ๑๙๔๒
มาตรา๑๒ถ้าจำเลยไม่รับ ให้ศาลซักไซ้จำเลยและพยานทั้งสองฝ่าย น่า ๑๙๔๒
มาตรา๑๓จำเลยให้การแก้ได้เต็มที่ และซักถามพยานได้ น่า ๑๙๔๒
มาตรา๑๔พยานต้องให้การเรียงตัวกันโดยลำดับตามที่ศาลจะบังคับ น่า ๑๙๔๓
มาตรา๑๕วิธีสืบพยาน ใช้ตามพระราชบัญญัติลักษณพยาน ร.ศ. ๑๑๓ น่า ๑๙๔๓
มาตรา๑๖คู่ความจะขอให้พยานให้การอีกครั้งหนึ่ง ฤๅให้พยานไปจากศาล ๆ ก็สั่งได้ น่า ๑๙๔๓
มาตรา๑๗ให้ศาลพิเคราะห์ดูว่าควรพิจารณาข้อหาข้อใดก่อนและหลัง น่า ๑๙๔๔
มาตรา๑๘เริ่มชำระแล้ว ก็ให้ชำระต่อไปให้แล้ว อย่าให้ชักช้า น่า ๑๙๔๔
มาตรา๑๙เมื่อฟังคำพยานและคำชี้แจงของคู่ความแล้ว ให้ศาลตัดสิน น่า ๑๙๔๔
หมวดที่ ๔
ว่าด้วยลักษณพิพากษาตัดสิน
มาตรา๒๐เมื่อชำระแล้ว ให้ตัดสินไม่ช้ากว่า ๓ วัน น่า ๑๙๔๕
มาตรา๒๑คำตัดสินต้องเขียน น่า ๑๙๔๕
มาตรา๒๒คำตัดสินต้องชี้ขาดในข้อต่าง ๆ คือ
ข้อจำเลยผิดดังฟ้องฤๅไม่
ข้อจำเลยทำผิดโดยเหตุดังที่หาฤๅที่แก้นั้นฤๅไม่
ข้อจำเลยทำผิดโดยเหตุดังที่แก้แล้ว มีบทกฎหมายยกเว้นฤๅไม่ ถ้าชี้ขาดว่าจำเลยไม่ผิด ก็ให้สั่งปล่อย ถ้าชี้ขาดว่าผิดโดยเหตุอย่างใด ก็ให้วางบทกฎหมายตามเหตุนั้น ให้มีกำหนดโทษด้วย น่า ๑๙๔๕
มาตรา๒๓ให้ตัดสินโดยที่เห็นมากกว่า น่า ๑๙๔๗
หมวดที่ ๕
ว่าด้วยลักษณอุทธรณ์
มาตรา๒๔คู่ความอุทธรณ์ได้ใน ๑๕ วัน น่า ๑๙๔๙
มาตรา๒๕คำฟ้องอุทธรณ์ต้องให้เก็บใจความตามเหตุความจริงและตามบทกฎหมาย อย่าให้เรียกผู้พิพากษามาเปนจำเลย น่า ๑๙๔๙
มาตรา๒๖ถ้าผู้อุทธรณ์ติดตรางอยู่ จะยื่นฟ้อง ให้ผู้คุมไปยื่นต่อศาลก็ได้ น่า ๑๙๕๐
มาตรา๒๗ให้ศาลอันต้องอุทธรณ์ยื่นสำนวนแลคะำฟ้องต่อศาลอุทธรณ์ใน ๕ วัน น่า ๑๙๕๐
มาตรา๒๘ให้ศาลอุทธรณ์กำหนดวันชำระใน ๑๕ วัน เว้นแต่มีเหตุขัดข้อง แต่อย่าให้ช้าเกินกว่า ๒ เดือน น่า ๑๙๕๐
มาตรา๒๙ให้นัดคู่ความก่อน ๕ วัน น่า ๑๙๕๑
มาตรา๓๐ชำระความอุทธรณ์นั้น ให้อ่านสำนวนและฟังคำชี้แจงของคู่ความ น่า ๑๙๕๑
มาตรา๓๑ศาลอุทธรณ์ฤๅคู่ความจะเรียกพยานเก่าใหม่สืบก็ได้ น่า ๑๙๕๑
มาตรา๓๒ความในมาตรา ๑๒–๑๔–๑๕ และ ๑๖ ให้ชำระชั้นอุทธรณ์ด้วย น่า ๑๙๕๑
มาตรา๓๓ศาลอุทธรณ์ชำระแล้ว ต้องตัดสินใน ๓ วัน น่า ๑๙๕๒
มาตรา๓๔ศาลอุทธรณ์แก้คำตัดสินได้ตามความเห็น น่า ๑๙๕๓
มาตรา๓๕ค่าธรรมเนียม น่า ๑๙๕๓
หมวดที่ ๖
ว่าด้วยลักษณโทษตามคำพิพากษาตัดสิน
มาตรา๓๖คำตัดสินความมีโทษเปนที่สุดเมื่อ (๑) ศาลชั้นแรกตัดสินแล้วไม่มีอุทธรณ์ (๒) และเมื่อศาลอุทธรณ์ได้ตัดสินแล้ว น่า ๑๙๕๓
มาตรา๓๗คำตัดสินถึงที่สุดให้ปล่อยแล้ว จะกลับชำระทำโทษอีกไม่ได้ น่า ๑๙๕๔
มาตรา๓๘คำตัดสินประหารชีวิตรศาลใด ๆ ต้องให้ศาลอุทธรณ์ตัดสินยืนด้วย จึงเปนที่สุด น่า ๑๙๕๕
มาตรา๓๙คำตัดสินโทษประหารชีวิตร ริบ แลจำคุกจนตาย ต้องทูลเกล้าฯ ถวายพร้อมกับฎีกา น่า ๑๙๕๖
มาตรา๔๐กำหนดให้ใช้ น่า ๑๙๕๖
๓๔๕ ประกาศให้ใช้พระราชกำหนดตั้งศาลรับสั่งพิเศษสำหรับชำระสะสางคะดีความมีโทษหลวงชั้นเก่าซึ่งค้างอยู่ณะศาลพระราชอาญาต่อไป ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๕๖
๓๔๖ ประกาศเปลี่ยนกรรมการศาลรับสั่งพิเศษสำหรับชำระสะสางคดีความมีโทษหลวงชั้นเก่าซึ่งค้างอยู่ณะศาลพระราชอาญา ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๕๗
๓๔๗ ประกาศว่าด้วยนัดพิจารณาความแพ่ง ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๕๘
๓๔๘ ประกาศขยายความแห่ง “พระราชบัญญัติอากรการพนัน ร.ศ. ๑๑๑” ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๖๓
๓๔๙ กฎข้อบังคับเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๖๔
๓๕๐ ประกาศเพิ่มอำนาจกรรมการตัดสินความนา ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๖๖
๓๕๑ ประกาศตั้งกรรมการศาลรับสั่งพิเศษสำหรับชำระสะสางคะดีความมีโทษหลวงชั้นเก่าที่ค้างอยู่ณะศาลพระราชอาญาเพิ่มขึ้น ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๖๗
๓๕๒ แจ้งความเปิดศาลกรรมการตรวจตัดสินที่นาในจังหวัดหมู่คลองบริษัท ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๖๙
๓๕๓ ประกาศเปลี่ยนตำแหน่งเสนาบดีสภา ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๐๙
๓๕๔ ประกาศตั้งตำแหน่งผู้แทนเสนาบดีกระทรวงวัง ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๗๐
๓๕๕ ประกาศเปลี่ยนกรรมการศาลรับสั่งพิเศษสำหรับชำระสะสางคะดีความมีโทษหลวงชั้นเก่า ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๗๒
๓๕๖ พระราชบัญญัติตั้งข้าหลวงพิเศษสำหรับจัดการแก้ไขธรรมเนียมศาลยุติธรรมหัวเมืองทั้งปวง ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๗๓
๓๕๗ ประกาศตั้งข้าหลวงพิเศษประจำการ ๓ นายเปนผู้จัดการแก้ไขธรรมเนียมศาลยุติธรรมหัวเมืองทั้งปวง ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๗๘
๒๕๘ ประกาศขยายอำนาจกรรมการพิเศษชำระความวิวาทเรื่องที่นา ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๗๙
๓๕๙ ประกาศยกเลิกตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมุรธาธร ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๘๑
๓๖๐ ประกาศในการสถาปนาพระเกียรติยศ ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๘๒
๓๖๑ ประกาศแก้ไขบางมาตราในพระราชบัญญัติเครื่องราชอิศิริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรกรีบรมราชวงษ์ ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๘๔
๓๖๒ ประกาศยกกรมสุรัสวดีขึ้นกระทรวงกระลาโหม ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๘๕
๓๖๓ ประกาศให้ใช้พระราชกำหนดตั้งศาลรับสั่งพิเศษสำหรับสะสางคดีความมีโทษหลวงชั้นเก่าซึ่งค้างอยู่ศาลพระราชอาญาต่อไปเปนครั้งที่ ๒ ร.ศ. ๑๑๕ น่า ๑๙๘๖
๓๖๔ พระราชบัญญัติกระบวนพิจารณาความแพ่ง ร.ศ. ๑๑๕
พระราชดำริห์ น่า ๑๙๘๗
หมวดที่ ๑
ว่าด้วยนามที่ใช้ ผู้รักษาพระราชบัญญัติ และอธิบายคำ
มาตรานามพระราชบัญญัติ น่า ๑๙๘๙
มาตราใช้พระราชบัญญัติ
มาตราน่าที่ผู้รักษาพระราชบัญญัติ
มาตราอย่างไรจึงเรียกว่าความแพ่ง
หมวดที่ ๒
ว่าด้วยอำนาจศาล
มาตราศาลรับคะดีพิจารณาได้ตามพระธรรมนูญ น่า ๑๙๙๐
มาตราคะดีที่ตัดสินฤๅที่ยินยอมแล้ว ห้ามไม่ให้รับไว้พิจารณาอีก
มาตราลำดับอำนาจศาล น่า ๑๙๙๑
มาตราข้อห้ามผู้พิพากษาในคะดีที่ไม่ควรพิจารณา
มาตราน่าที่ผู้พิพากษาต้องเปนผู้พยานเปรียบเทียบคะดี น่า ๑๙๙๒
หมวดที่ ๓
ว่าด้วยพิจารณาคะดีอันคู่ความ
ทำสัญญากันกะข้อประเด็นลงให้ตัดสิน
มาตรา๑๐คะดีที่สัญญากันให้ตัดสิน น่า ๑๙๙๒
มาตรา๑๑ให้กำหนดราคาลงในคะดีด้วย น่า ๑๙๙๔
มาตรา๑๒สัญญาต้องลงสารบบเหมือนฟ้องในคะดีอื่น
มาตรา๑๓คู่ความอยู่ในอำนาจศาล น่า ๑๙๙๕
มาตรา๑๔การพิจารณาและตัดสิน
หมวดที่ ๔
ว่าด้วยลักษณฟ้องความ
มาตรา๑๕ฟ้องคะดีตามชั้นศาลที่ควรแก่รูปความ น่า ๑๙๙๖
มาตรา๑๖จะฟ้องคะดีต้องฟ้องในท้องแขวง เว้นแต่ศาลจะบังคับจำเลยทำได้ในที่อื่น จะฟ้องต่อศาลที่จำเลยอยู่ในแขวงนั้นก็ได้
มาตรา๑๗พัสดุที่เหลื่อมล้ำแขวงกัน ให้ศาลจดบันทึกไว้ และพิจารณาต่อไปไม่เปนเหตุอุทธรณ์ น่า ๑๙๙๘
มาตรา๑๘คะดีนอกจากกำหนดในมาตราข้างบนนี้ จะฟ้องตามท้องที่ฤๅศาลอื่นก็ได้
มาตรา๑๙จำเลยอยู่เขตรศาลหนึ่ง คะดีเกิดขึ้นในศาลหนึ่ง โจทย์จะฟ้องศาลใดก็ได้ น่า ๑๙๙๙
มาตรา๒๐ทรัพย์เคลื่อนที่ไม่ได้เกี่ยวอยู่ในเขตรของศาลใด ให้ฟ้องศาลนั้รน
มาตรา๒๑จำเลยไม่ได้อยู่ในแขวงของศาล จะขอให้ยกคะดีเสียก็ได้
มาตรา๒๒ถ้าศาลหยุดพิจารณาไว้ โจทย์จะฟ้องศาลใหม่ ถ้าเสียค่าธรรมเนียมแล้ว ไม่ต้องเสียซ้ำอีก น่า ๒๐๐๐
หมวดที่ ๕
ว่าด้วยลักษณพิจารณาความมะโนสาเร่ห์
มาตรา๒๓ทุนทรัพย์ต่ำกว่าสองร้อยบาท เรียกว่าความมะโนสาเร่ห์ น่า ๒๐๐๑
มาตรา๒๔ความมะโนสาเร่ห์ โจทย์จะยื่นเรื่องราวฤๅข้อด้วยปากให้เรียกจำเลยมาก็ได้
มาตรา๒๕วิธีออกหมายเรียกจำเลย น่า ๒๐๐๒
มาตรา๒๖จำเลยจะมาเองฤๅแต่งทนายมาแทนก็ได้
มาตรา๒๗ความมะโนสาเร่ห์ นอกจากกำหนดไว้ในหมวดนี้ ให้ใช้ตามวิธีความแพ่งสามัญ น่า ๒๐๐๓
หมวดที่ ๖
วิธีฟ้องคะดีเกี่ยวด้วยตั๋วผัดใช้เงินและตั๋วผัดส่งเงิน
มาตรา๒๘อธิบายคำที่ว่าตั๋วผัด น่า ๒๐๐๓
มาตรา๒๙จำเลยจะต่อสู้ ต้องวางเงินไว้เปนกลางฤๅมีพยาน น่า ๒๐๐๔
มาตรา๓๐ถ้าจำเลยไม่มาขออนุญาตต่อสู้ ให้ตัดสินเปนแพ้และอุทธรณ์ไม่ได้ น่า ๒๐๐๕
มาตรา๓๑ถ้ามีเหตุพิเศษ ศาลจะยกคำตัดสินฤๅงดเร่งตามคำตัดสินและอนุญาตให้จำเลยสู้คะดีต่อไปก็ได้ น่า ๒๐๐๕
มาตรา๓๒ศาลจะเรียกตั๋วไว้เปนกลางและเรียกประกันโจทย์ได้ น่า ๒๐๐๖
มาตรา๓๓ผู้ถือตั๋วผัดจะฟ้องเอาค่าใช้สอยก็ได้ น่า ๒๐๐๖
มาตรา๓๔ผู้ถือตั๋วผัดจะฟ้องจำเลยคนเดียวฤๅหลายคนก็ได้ แต่ต้องแยกจำนวนเงินเปนส่วน ๆ น่า ๒๐๐๖
หมวดที่ ๗
ว่าด้วยวิธีพิจารณาความแพ่งสามัญ
มาตรา๓๕อย่างไรจึงเรียกว่าความแพ่งสามัญ น่า ๒๐๐๗
มาตรา๓๖ให้จำเลยทำคำให้การมายื่นตามกำหนด ไม่ให้มีคำตัดฟ้อง น่า ๒๐๐๗
มาตรา๓๗จำเลยหลายคน ให้หมายเรียงตัว น่า ๒๐๐๘
มาตรา๓๘จำเลยเปนบริษัท ให้หมายถึงที่ทำการของบริษัท น่า ๒๐๐๘
มาตรา๓๙จำเลยเข้าหุ้นส่วน แต่ไม่ได้โฆษนาการเปนบริษัท ให้หมายเรียงตัว น่า ๒๐๐๙
มาตรา๔๐ยื่นฟ้องฤๅคำให้การเพิ่มเติม น่า ๒๐๐๙
มาตรา๔๑ถึงวันนัดชี้สองสฐาน ให้โจทย์จำเลยมายังศาล ไม่ต้องหาพยานมาด้วย น่า ๒๐๑๐
มาตรา๔๒ฟ้องแย้ง น่า ๒๐๑๐
มาตรา๔๓ให้ศาลมีบาญชีฟ้องและบาญชีสำนวนไว้ น่า ๒๐๑๑
มาตรา๔๔ถ้าไม่ตกลงในชั้นชี้สองสฐาน ให้ยกความเรื่องนั้นเข้าในบาญชีพิจารณา น่า ๒๐๑๑
มาตรา๔๕หมายนัดให้คู่ความทราบก่อนไม่น้อยกว่า ๕ วัน น่า ๒๐๑๑
มาตรา๔๖ให้คู่ความนำสิ่งสำคัญมาพร้อมกัน น่า ๒๐๑๒
มาตรา๔๗หมายเรียกพยาน น่า ๒๐๑๒
มาตรา๔๘หมายเรียกพยานให้พยานรู้ก่อนวันนัดสองวัน น่า ๒๐๑๒
มาตรา๔๙สืบพยานจำเพาะแต่ประเด็นแล้วตัดสิน น่า ๒๐๑๓
มาตรา๕๐ถ้าพยานสำคัญมี ให้พักความเรื่องนั้นไว้ น่า ๒๐๑๓
มาตรา๕๑ตรวจอาการของคู่ความที่ป่วย น่า ๒๐๑๔
มาตรา๕๒คู่ความท้าให้คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งสาบาลฤๅปัฏิญาณตนเปนการตัดสินแพ้ชะนะกันได้ น่า ๒๐๑๕
มาตรา๕๓ศาลเปิดว่าความตามกำหนดนัด ต่อมีเหตุจึงเลื่อนเวลาได้ น่า ๒๐๑๕
มาตรา๕๔ให้ศาลพิจารณาความที่เสร็จสำนวนก่อน น่า ๒๐๑๕
มาตรา๕๕ถ้าจะเลื่อนเวลาพิจารณา ให้เขียนวันนัดประกาศไว้ที่ศาล น่า ๒๐๑๕
มาตรา๕๖ลงความเห็นในคำตักสิน ถ้าผู้พิพากษานั่งเปนคะณะ ให้ฟังเอาข้างเห็นมาก น่า ๒๐๑๖
มาตรา๕๗ห้ามตัดสินไม่ให้เกินฟ้อง น่า ๒๐๑๖
มาตรา๕๘งดพิจารณาไว้ ด้วยจะมีคำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานฝ่ายธุระการ น่า ๒๐๑๗
มาตรา๕๙งดพิจารณาคะดีไว้ ด้วยมีผู้ทำผิดมีโทษเปนอาญาหลวง น่า ๒๐๑๗
หมวดที่ ๘
ว่าด้วยลักษณพยาน
มาตรา๖๐สืบพยานตามพระราชบัญญัติลักษณพยาน ร,ศ, ๑๑๓ น่า ๒๐๑๗
หมวดที่ ๙
ว่าด้วยลักษณขาดนัด
และตัดสินคะดีที่คู่ความไม่พร้อมกัน
มาตรา๖๑อย่างไรที่เรียกว่าขาดนัด น่า ๒๐๑๘
มาตรา๖๒หมายนัด ให้คู่ความทราบล่วงน่าไม่ต่ำกว่า ๕ วัน คู่ความทราบแล้วให้ลงชื่อรับในคู่ฉบับหมายแล้วลงบาญชีไว้ น่า ๒๐๑๘
มาตรา๖๓โจทย์จำเลยไม่มาฤๅไม่แต่งทนายให้มาตามนัด ให้เลิกความเสีย น่า ๒๐๑๙
มาตรา๖๔โจทย์ไม่มาตามนัด แต่จำเลยมา ถ้าให้การปฏิเสธ ให้ยกฟ้องเสีย ถ้าให้การรับเพียงใด ให้ตัดสินเพียงที่รับนั้น ถ้ากลับกล่าวโทษโจทย์และจะว่ากล่าวต่อไป ให้ฟ้องเปนคะดีหนึ่งต่างหาก น่า ๒๐๑๙
มาตรา๖๕จำเลยไม่มาตามนัด มาแต่โจทย์ ให้พิจารณาไปฝ่ายเดียวและตัดสินตามรูปความ น่า ๒๐๒๑
มาตรา๖๖คู่ความขาดนัด ศาลยกฟ้องแล้ว คู่ความมาพิสูทธ์ใน ๑๕ วัน ศาลเห็นจริงด้วย ให้พิจารณาคนใหม่ แต่ต้องยกไปไว้ท้ายบาญชีตามลำดับ น่า ๒๐๒๐
มาตรา๖๗เลื่อนวันพิจารณาได้ น่า ๒๐๒๒
มาตรา๖๘คู่ความถูกไล่ออกจากศาล ให้พิจารณาคะดีนั้นต่อไป น่า ๒๐๒๒
หมวดที่ ๑๐
ว่าด้วยบังคับในกระบวนพิจารณา
มาตรา๖๙บัตรหมายทั้งปวงต้องให้พนักงานในศาลถือไป น่า ๒๐๒๒
มาตรา๗๐พนักงานถือบัตรหมาย ต้องไปแต่กลางวัน น่า ๒๐๒๓
มาตรา๗๑ผู้ที่จะรับหมายไม่อยู่ ให้ฝากผู้ที่อยู่แห่งเดียวกันซึ่งมีอายุ ๒๐ ปีขึ้นไปก็ได้ น่า ๒๐๒๓
มาตรา๗๒ถ้าไม่ได้ตัวคนมาตามหมาย ศาลจะสั่งให้ทำอย่างอื่นก็ได้ น่า ๒๐๒๔
มาตรา๗๓ห้ามไม่ให้เรียกประกันคู่ความ น่า ๒๐๒๔
มาตรา๗๔ผู้แพ้ต้องเสียค่าธรรมเนียม เว้นแต่โจทย์ชะนะไม่เต็มข้อหา ศาลจะบังคับให้ช่วยกันเสียก็ได้ น่า ๒๐๒๕
หมวดที่ ๑๑
ว่าด้วยวางเงินกลางศาล
มาตรา๗๕จำเลยวางเงินกลางศาลได้ น่า ๒๐๒๖
มาตรา๗๖บอกโจทย์ให้ทราบว่าวางเงิน น่า ๒๐๒๖
มาตรา๗๗เมื่อบอกโจทย์แล้ว จำเลยไม่ต้องเสียดอกเบี้ยในเงินที่วาง น่า ๒๐๒๗
มาตรา๗๘การพิจารณาเมื่อโจทย์รับเงินไปไม่ยอมเสร็จ น่า ๒๐๒๗
มาตรา๗๙โจทย์รับเงินวางศาลเปนเสร็จ น่า ๒๐๒๗
หมวดที่ ๑๒
ว่าด้วยถอนฟ้องและยอมความกัน
มาตรา๘๐ศาลยอมให้โจทย์ถอนฟ้องและฟ้องใหม่ได้ น่า ๒๐๒๘
มาตรา๘๑โจทย์ถอนฟ้องเอง ฟ้องใหม่อีกไม่ได้ น่า ๒๐๒๙
มาตรา๘๒ฟ้องใหม่ต้องอยู่ในกำหนดความ น่า ๒๐๒๙
มาตรา๘๓ยอมความกัน น่า ๒๐๒๙
มาตรา๘๔การเร่งตามตัดสินไม่เกี่ยวหมวดนี้ น่า ๒๐๓๐
หมวดที่ ๑๓
ลักษณจดถ้อยคำสำนวน
มาตรา๘๕ให้เขียนถ้อยคำด้วยน้ำหมึก ไม่ให้ขูดแก้ ถ้ามีบุบฉลาย ให้มีสำคัญไว้ข้างท้าย น่า ๒๐๓๐
มาตรา๘๖การรักษาสำนวนไม่ต้องตีตรา ถ้าโจทย์จำเลยฤๅพยานสงไสย ก็ให้คัดสำเนาให้ น่า ๒๐๓๑
หมวดที่ ๑๔
ว่าด้วยหมายบังคับฤๅหมายสั่ง
มาตรา๘๗หมายบังคับฤๅหมายสั่ง น่า ๒๐๓๑
มาตรา๘๘หมายบังคับ หมายคำสั่ง ออกเมื่อคู่ความขอ น่า ๒๐๓๒
มาตรา๘๙กำหนดวันให้ทำตามหมาย น่า ๒๐๓๒
มาตรา๙๐จดหมายบันทึกในหมายให้ใช้เงิน น่า ๒๐๓๓
มาตรา๙๑จดหมายบันทึกในหมายที่ให้ทำการอย่างอื่น น่า ๒๐๓๓
มาตรา๙๒เร่งรัดคนที่มิใช่ตัวความตามหมายคำสั่ง น่า ๒๐๓๔
หมวดที่ ๑๕
ว่าด้วยหมายเรียกผู้แพ้คะดีมาไต่สวน
มาตรา๙๓ผู้ชะนะความขอให้หมายเรียกผู้แพ้มาไต่สวนได้ น่า ๒๐๓๔
มาตรา๙๔ไต่สวนผู้แพ้คะดี น่า ๒๐๓๕
มาตรา๙๕ผู้แพ้ไม่มาศาลสืบพยานตามที่เห็นสมควรได้ น่า ๒๐๓๕
หมวดที่ ๑๖
ว่าด้วยการบังคับเร่งให้สำเร็จตามคำพิพากษา
มาตรา๙๖ผู้เสียเงินไม่ยอม ผู้ได้จะขอให้ศาลบังคับเอาทรัพย์สมบัติมาตีใช้ให้ก็ได้ แต่ต้องเสียค่าธรรมเนียม น่า ๒๐๓๖
มาตรา๙๗ผู้ถูกเร่งร้องขอทุเลา น่า ๒๐๓๖
มาตรา๙๘ศาลมีอำนาจที่จะยึดทรัพย์ของผู้แพ้ได้ น่า ๒๐๓๗
มาตรา๙๙ทรัพย์สมบัติที่ยึดไว้นั้นต้องรักษาไว้ ๕ วันก่อน จึงขายทอดตลาดได้ น่า ๒๐๓๗
มาตรา๑๐๐ยึดหนังสือหลักทรัพย์ไว้เปนประกันเงินที่ค้างผู้ถูกเร่ง น่า ๒๐๓๘
มาตรา๑๐๑ในระหว่างที่ยึดทรัพย์สมบัติไว้ ถ้าผู้ต้องเสียนำเงินมาไถ่ก็ให้คืนให้ น่า ๒๐๓๘
มาตรา๑๐๒ให้ยึดทรัพย์สมบัติแต่พอกับราคาเงินในคำตัดสิน น่า ๒๐๓๙
มาตรา๑๐๓การขายทอดตลาดทรัพย์ที่ยึดไว้ ต้องให้ผู้ขอให้เร่งมาร้องขอยืนให้ขาย น่า ๒๐๓๙
มาตรา๑๐๔การขายทอดตลาดทรัพย์ที่ยึดไว้ ต้องมีหลักถานว่าเปนของผู้ถูกเร่ง ถ้าผู้อื่นมาร้องว่าเปนของตน ให้ศาลไต่สวนในระหว่างผู้ร้องกับผู้ขอให้ออกหมาย น่า ๒๐๓๙
มาตรา๑๐๕ถ้าขายทอดตลาดทรัพย์สมบัติได้เงินเกินกว่าที่ตัดสินไว้ ให้คืนแก่เจ้าของทรัพย์ น่า ๒๐๔๐
มาตรา๑๐๖เจ้าพนักงานไม่ยึดทรัพย์ในเวลาที่ควร ต้องใช้เงินที่ขาดไป น่า ๒๐๔๐
มาตรา๑๐๗ออกหมายข้ามแขวง น่า ๒๐๔๑
หมวดที่ ๑๗
ว่าด้วยลงโทษผู้ที่ไม่ทำตามคำบังคับ
มาตรา๑๐๘ผู้ไม่ทำตามหมายบังคับฤๅหมายคำสั่ง น่า ๒๐๔๑
มาตรา๑๐๙ไม่มาชี้แจงเหตุฤๅไม่มีเหตุแก้ตัว น่า ๒๐๔๒
มาตรา๑๑๐ลงโทษผู้ไม่ทำตามหมาย น่า ๒๐๔๓
หมวดที่ ๑๘
ว่าด้วยลักษณอุทธรณ์
มาตรา๑๑๑กระบวนอุทธรณ์ น่า ๒๐๔๔
มาตรา๑๑๒จำเลยได้ยื่นคำแก้อุทธรณ์แล้ว ให้ศาลส่งสำนวนทั้งหมดในกำหนด ๗ วัน และคู่ความไม่ต้องไปยังศาลก็ได้ น่า ๒๐๔๕
มาตรา๑๑๓ให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาความเปนลำดับ และให้ปิดประกาศวันนัดไว้ยังศาล น่า ๒๐๔๖
มาตรา๑๑๔ศาลอุทธรณ์พิพากษาได้ต่างกัน ๕ สฐาน และให้ชี้แจงไปยังศาลเดิมด้วย น่า ๒๐๔๗
มาตรา๑๑๕คู่ความอุทธรณ์ได้เปนลำดับศาลขึ้นไป ถ้าจะถวายฎีกา ให้ถวายในกำหนดเดือนหนึ่ง น่า ๒๐๔๗
หมวดที่ ๑๙
อนุญาโตตุลาการ
มาตรา๑๑๖คู่ความจะขอผู้ใดให้เปนอนุญาโตตุลาการตัดสินก็ได้ น่า ๒๐๔๘
มาตรา๑๑๗ศาลจะมีหมายเชิญผู้ที่คู่ความขอให้เปนอนุญาโตตุลาการไม่ได้ ฤๅผู้นั้นไม่รับ จะขอผู้อื่นต่อไปก็ได้ น่า ๒๐๔๘
มาตรา๑๑๘ถ้าอนุญาโตตุลาการทราบความเห็นแตกต่างกัน ให้เลือกอนุญาโตตุลาการคนหนึ่งเปนประธาน น่า ๒๐๔๙
มาตรา๑๑๙อนุญาโตตุลาการจะตรวจถ้อยคำสำนวนฤๅจะเรียกพยานมาด้วย ให้ศาลเปนธุระ น่า ๒๐๔๙
มาตรา๑๒๐ศาลตัดสินตามความเห็นของอนุญาโตตุลาการ และค่าฤชาธรรมเนียม และค่าป่วยการ น่า ๒๐๔๙
มาตรา๑๒๑ศาลตัดสินแล้ว คู่ความจะอุทธรณ์ไม่ได้ เว้นแต่คำตัดสินไม่ถูกกับคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ น่า ๒๐๕๐
หมวดที่ ๒๐
ว่าด้วยคนอนาถา
มาตรา๑๒๒คนอนาถาฟ้องความได้ น่า ๒๐๕๐
มาตรา๑๒๓จำเลยยากจน ศาลยอมให้ว่าความอย่างคนอนาถาได้ น่า ๒๐๕๑
มาตรา๑๒๔ผู้ใดจะว่าความอย่างคนอนาถา ต้องสาบาลก่อน น่า ๒๐๕๑
มาตรา๑๒๕ไม่ให้เรียกค่าธรรมเนียมจากคู่ความอนาถา น่า ๒๐๕๑
มาตรา๑๒๖คู่ความเปนคนอนาถา ภายหลังมีทรัพย์สมบัติ ฤๅตัดสินให้ฝ่ายหนึ่งใช้แทน ศาลเรียกค่าธรรมเนียมได้ น่า ๒๐๕๒
มาตรา๑๒๗คู่ความละเมิดศาลฤๅประวิงความ ศาลจะถอนอนุญาตเสีก็ได้ น่า ๒๐๕๒
มาตรา๑๒๘โจทย์แกล้งกล่าวหาโดยความเท็จ ต้องขังไม่เกิน ๖ เดือน น่า ๒๐๕๒
มาตรา๑๒๙ปรับโทษทนสาบาล น่า ๒๐๕๓
หมวดที่ ๒๑
ว่าต่างแก้ต่าง
มาตรา๑๓๐คู่ความจะแต่งทนายได้ แต่ถ้าศาลจะให้ตัวมาเองก็ได้ น่า ๒๐๕๒
มาตรา๑๓๑คู่ความหลายคนจะแต่งทนายรวมกันฤๅแยกกันก็ได้ แต่ทนายคนเดียวจะว่าความทั้งสองฝ่ายไม่ได้ น่า ๒๐๕๔
มาตรา๑๓๒หนังสือไว้ความจะทำที่ศาลใดฤๅทำต่อเจ้าพนักงานก็ได้ แต่อย่าให้เปนที่สงไสย น่า ๒๐๕๔
มาตรา๑๓๓ถ้าตัวความเปนเด็กฤๅสติฟั่นเฟือน ให้ศาลตั้งผู้รับไว้ความ น่า ๒๐๕๔
หมวดที่ ๒๒
ว่าด้วยตัวความตายในระหว่างพิจารณา
มาตรา๑๓๔ตัวความตายฝ่ายหนึ่ง ขอให้เรียกผู้รับมรฎกมาว่าต่อไปก็ได้ น่า ๒๐๕๕
มาตรา๑๓๕คำร้องขอให้เรียกผู้รับมรฎกของตัวความที่ตายมาว่าคะดี ถ้าศาลเห็นควร ก็ให้ออกหมาย น่า ๒๐๕๕
มาตรา๑๓๖ผู้รับมรฎกจะมีคำตัดได้ใน ๘ วัน น่า ๒๐๕๖
มาตรา๑๓๗ถ้าศาลเห็นชอบด้วยคำตัดแล้ว ให้ยกคำร้องเสีย น่า ๒๐๕๖
มาตรา๑๓๘ผู้ที่ต้องว่าที่ตัวความตายนั้นจะว่าเองฤๅแต่งทนายว่าก็ได้ น่า ๒๐๕๗
หมวดที่ ๒๓
ว่าด้วยละเมิดอำนาจศาล
มาตรา๑๓๙โทษผู้ปลอมเข้ามาว่าความ น่า ๒๐๕๗
มาตรา๑๔๐โทษผู้หมิ่นประมาทผู้พิพากษาและศาล น่า ๒๐๕๗
มาตรา๑๔๑ผู้พิพากษาจะสั่งให้จับผู้หมิ่นประมาทคุมขังไว้ได้ น่า ๒๐๕๘
หมวดที่ ๒๔
ว่าด้วยพระราชกำหนดกฎหมายเดิม
มาตรา๑๔๒ยกเลิกกฎหมายเดิม น่า ๒๐๕๘
๓๖๕ ประกาศสำหรับข้าหลวงพิเศษจัดตั้งศาลหัวเมืองจะกำหนดโทษผู้แพ้คดีมีโทษหลวง ร,ศ, ๑๑๕ น่า ๒๐๗๔
๓๖๖ ประกาศตั้งกรรมการพิเศษ ๒ นายให้สระสางล้างความเก่าในหัวเมือง น่า ๒๐๗๕
๓๖๗ พระราชบัญญัติว่าด้วยไม้ซุงและไม้ท่อนที่ดวงตราลบเลือน ร,ศ, ๑๑๕ รวม ๑๑ มาตรา น่า ๒๐๗๘
๓๖๘ ประกาศพระราชบัญญัติสัตว์พาหะนะ แก้ไขใหม่ ร,ศ, ๑๑๕ น่า ๒๐๘๕
๓๖๙ พระราชบัญญัติชั่วสมัยสำหรับป้องกันโรคสัตว์พาหะนะ ร,ศ, ๑๑๕ รวม ๑๓ มาตรา น่า ๒๐๘๖
๓๗๐ พระราชบัญญัติยกเลิกวิธีพิจารณาโจรผู้ร้ายตามจารีตนครบาล ร,ศ, ๑๑๕ รวม ๓ มาตรา น่า ๒๐๘๙
๓๗๑ ประกาศเปลี่ยนตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ร,ศ, ๑๑๕ น่า ๒๐๙๒
๓๗๒ ประกาศสำหรับสนามสถิตย์ยุติธรรมจะกำหนดโทษผู้แพ้คะดีมีโทษหลวง ร,ศ, ๑๑๕ น่า ๒๐๙๓
๓๗๓ พระราชกำหนดผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ร,ศ, ๑๑๕ รวม ๓๐ มาตรา น่า ๒๐๙๔
๓๗๔ ประกาศในการเสด็จพระราชดำเนินประพาศณะประเทศยุโรป ร,ศ, ๑๑๕ น่า ๒๑๐๗
๓๗๕ ประกาศเปลี่ยนผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ร,ศ, ๑๑๕ น่า ๒๑๑๐
๓๗๖ ประกาศเจ้าพระยาสุริศักดิ์มนตรีกราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง ร,ศ, ๑๑๕ น่า ๒๑๑๒
๓๗๗ ประกาศเงินค่าราชการขุนหมื่นและไพร่หลวง ร,ศ, ๑๑๕ น่า ๒๑๑๓
๓๗๘ ประกาศเลิกกรรมการพิเศษชำระความนา ร,ศ, ๑๑๕ น่า ๒๑๑๔
๓๗๙ พระราชบัญญัติการขายฝากและการจำนำที่ดิน ร,ศ, ๑๑๕ รวม ๓ มาตรา น่า ๒๑๑๖
๓๘๐ ประกาศตั้งผู้แทนเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ร,ศ, ๑๑๖ น่า ๒๑๒๐
๓๘๑ พระราชบัญญัติว่าด้วยน่าที่ราชการซึ่งเกี่ยวข้องกันอยู่ในระหว่างกระทรวงนครบาลและกระทรวงยุติธรรม ร,ศ, ๑๑๖ รวม ๕ มาตรา น่า ๒๑๒๑
๓๘๒ ประกาศในการที่จะออกพระนามสมเด็จพระบรมราชินีนราถ ร,ศ, ๑๑๖ น่า ๒๑๒๕
๓๘๓ ประกาศตราตำแหน่งราชเลขานุการแห่งสมเด็จพระบรมราชินีนารถซึ่งสำเร็จราชการแผ่นดินต่างพระองค์ ร,ศ, ๑๑๖ น่า ๒๑๒๗
๓๘๔ พระราชบัญญัติธง ร,ศ, ๑๑๖ รวม ๕ มาตรา น่า ๒๑๒๗
๓๘๕ ประกาศแก้ไขเพิ่มเติมเรื่องห้ามเรื่องมาจากซัวเถา ร,ศ, ๑๑๖ น่า ๒๑๓๗
๓๘๖ พระราชบัญญัติลักษณปกครองท้องที่ ร,ศ, ๑๑๖ น่า ๒๑๓๙
หมวดที่ ๑
ว่าด้วยนามและการที่ใช้และรักษาพระราชบัญญัติ
มาตรานามพระราชบัญญัติ น่า ๒๑๓๙
มาตราใช้พระราชบัญญัติ น่า ๒๑๔๐
มาตราเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยเปนผู้รักษาพระราชบัญญัติ น่า ๒๑๔๐
มาตราเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยและข้าหลวงเทศาภิบาลมีอำนาจที่จะตั้งกฎสำหรับพนักงาน น่า ๒๑๔๐
มาตรากำหนดเขตร์ที่ น่า ๒๑๔๐
มาตรายกเลิกกฎหมายเก่า น่า ๒๑๔๑
หมวดที่ ๒
ว่าด้วยอธิบายศัพท์ที่ใช้ในพระราชบัญญัติ
มาตราอธิบายศัพท์ น่า ๒๑๔๑
หมวดที่ ๓
ว่าด้วยลักษณปกครองหมู่บ้าน
มาตรากำหนดหมู่บ้าน น่า ๒๑๔๒
มาตราเลือกผู้ใหญ่บ้าน น่า ๒๑๔๒
มาตรา๑๐วุฒิผู้ใหญ่บ้าน น่า ๒๑๔๓
มาตรา๑๑ตั้งผู้ใหญ่บ้าน น่า ๒๑๔๔
มาตรา๑๒น่าที่ผู้ใหญ่บ้านรักษาความเรียบร้อย น่า ๒๑๔๔
มาตรา๑๓โทษลูกบ้านไม่ช่วยจับโจรและดับไฟ น่า ๒๑๔๖
มาตรา๑๔โทษลูกบ้านละเมิดผู้ใหญ่บ้าน น่า ๒๑๔๗
มาตรา๑๕โทษผู้ใหญ่บ้านละเมิดน่าที่ น่า ๒๑๔๗
มาตรา๑๖เหตุที่ผู้ใหญ่บ้านต้องออก น่า ๒๑๔๗
มาตรา๑๗เหตุต้องตั้งผู้ใหญ่บ้าน น่า ๒๑๔๘
มาตรา๑๘กำนันมอบทะเบียนแลเปลี่ยนหมายตั้งสำหรับผู้ใหญ่บ้าน น่า ๒๑๔๙
มาตรา๑๙ผู้ใหญ่บ้านทำการแทนกัน น่า ๒๑๕๐
มาตรา๒๐ผู้ใหญ่บ้านต้องถือน้ำ น่า ๒๑๕๐
มาตรา๒๑ยกราชการอย่างอื่นพระราชทานให้ผู้ใหญ่บ้าน น่า ๒๑๕๐
หมวดที่ ๔
ว่าด้วยลักษณปกครองตำบล
มาตรา๒๒กำหนดตำบล น่า ๒๑๕๑
มาตรา๒๓ผู้ใหญ่บ้านเลือกกำนัน น่า ๒๑๕๑
มาตรา๒๔การปกครองตำบลที่อยู่ในน่าที่กำนันกับผู้ใหญ่บ้าน น่า ๒๑๕๑
มาตรา๒๕เหตุซึ่งกำนันควรเรียกผู้ใหญ่บ้านประชุมกัน น่า ๒๑๕๒
มาตรา๒๖น่าที่กำนัน น่า ๒๑๕๖
มาตรา๒๗อำนาจกำนัน น่า ๒๑๕๙
มาตรา๒๘โทษกำนันละเมิดน่าที่ น่า ๒๑๖๑
มาตรา๒๙เหตุที่ต้องเปลี่ยนกำนัน น่า ๒๑๖๑
มาตรา๓๐ตั้งกำนัน น่า ๒๑๖๒
มาตรา๓๑ผู้ใหญ่บ้านทำการแทนกำนัน น่า ๒๑๖๓
มาตรา๓๒สารวัตตำบล น่า ๒๑๖๓
หมวดที่ ๕
ว่าด้วยลักษณปกครองอำเภอและเมืองขึ้น
มาตรา๓๓กำนันอำเภอ น่า ๒๑๖๔
มาตรา๓๔ตำแหน่งกรมการอำเภอ น่า ๒๑๖๔
มาตรา๓๕วิธีเลือกนายอำเภอและวุฒินายอำเภอ น่า ๒๑๖๔
มาตรา๓๖วิธีเลือกปลัดและสมุห์บาญชีอำเภอ น่า ๒๑๖๕
มาตรา๓๗ข้าหลวงเทศาภิบาลและสมุห์บาญชีอำเภอ น่า ๒๑๖๖
มาตรา๓๘ตราตำแหน่งนายอำเภอ น่า ๒๑๖๖
มาตรา๓๙ข้าหลวงเทศาภิบาลมีอำนาจเปลี่ยนกรมการอำเภอ น่า ๒๑๖๖
มาตรา๔๐น่าที่กรมการอำเภอ น่า ๒๑๖๗
มาตรา๔๑น่าที่รักษาความเรียบร้อยในท้องที่ น่า ๒๑๖๗
มาตรา๔๒น่าที่จัดการปกครอง น่า ๒๑๖๘
มาตรา๔๓น่าที่ตรวจท้องที่ น่า ๒๑๗๐
มาตรา๔๔น่าที่สืบจับโจรผู้ร้าย น่า ๒๑๗๑
มาตรา๔๕น่าที่คุมขังนักโทษ น่า ๒๑๗๒
มาตรา๔๖น่าที่เรียกตัวคนส่ง น่า ๒๑๗๓
มาตรา๔๗น่าที่รับอายัติทำชัณสูตรแลตราสิน น่า ๒๑๗๔
มาตรา๔๘น่าที่ทำบริคณห์สัญญาและหนังสือสำคัญ น่า ๒๑๗๖
มาตรา๔๙น่าที่ทำทะเบียน น่า ๒๑๗๘
มาตรา๕๐น่าที่รักษาผลประโยชน์ น่า ๒๑๗๙
มาตรา๕๑น่าที่ประกาศข้อราชการ น่า ๒๑๘๐
มาตรา๕๒น่าที่เพิ่มเติม น่า ๒๑๘๐
มาตรา๕๓น่าที่ช่วยการอำเภออื่น น่า ๒๑๘๑
มาตรา๕๔น่าที่ทำรายงาน น่า ๒๑๘๒
มาตรา๕๕อำนาจกรมการอำเภอ น่า ๒๑๘๒
มาตรา๕๖กรมการอำเภอต้องกระทำสัตย์ เมื่อแรกรับตำแหน่งต้องถือน้ำ และจัดการที่กำนันผู้ใหญ่บ้านถือน้ำ น่า ๒๑๘๕
๓๘๗ ประกาศขอบใจข้าราชการ ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๑๘๕
๓๘๘ ประกาศว่าด้วยเรียกค่าธรรมเนียมฎีกา ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๑๘๗
๓๘๙ ประกาศลักษณปกครองท้องที่สำหรับมณฑลกรุงเทพฯ ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๑๘๘
๓๙๙ ประกาศตั้งศาลมณฑลกรุงเก่า ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๑๘๙
๔๐๐ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพิกัดภาษีภายใน ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๑๙๑
๔๐๑ ประกาศแก้พระธรรมนูญศาลหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๑๙๒
๔๐๒ ประกาศตั้งข้าหลวงพิเศษจัดการศาลยุติธรรมมณฑลปาจิณบูรี ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๑๙๔
๔๐๓ ประกาศจัดการป้องกันกาฬโรคเพิ่มเติม ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๑๙๕
๔๐๔ ประกาศตั้งศาลเมืองเมืองสระบุรี ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๐๐
๔๐๖ พระราชกำหนดแก้ความในพระราชบัญญัติกรมกระสาปน์สิทธิการ ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๐๐
๔๐๗ ประกาศกระทรวงนครบาล เรื่อง กำหนดผูกปี้จน จำนวนปีรัตนโกสินทรศก ๑๑๖ น่า ๒๒๐๑
๔๐๘ พระราชกำหนดไปรสนีย์ ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๐๖
พระราชดำริห์ น่า ๒๒๐๗
ภาคที่ ๑
ว่าด้วยข้อบังคับทั่วไปในกรมไปรสนีย์
หมวดที่ว่าด้วยนามและกำหนดใช้ น่า ๒๒๐๘
หมวดที่ว่าด้วยรัฐบาลสยามมีอำนาจฝ่ายเดียวในการถือสรรพหนังสือฝากส่งไปในที่ต่าง ๆ น่า ๒๒๐๘
หมวดที่บังคับนายเรือและเจ้าของเรือ น่า ๒๒๐๒
หมวดที่ว่าด้วยความรับประกัน น่า ๒๒๑๓
หมวดที่ว่าด้วยอำนาจพิเศษในประโยชน์ของกรมไปรสนีย์ น่า ๒๒๑๖
ภาคที่ ๒
ว่าด้วยโทษานุโทษ
หมวดที่สำหรับมหาชน น่า ๒๒๑๙
หมวดที่สำหรับนายเรือกำปั่น น่า ๒๒๒๑
หมวดที่สำหรับเจ้าพนักงาน น่า ๒๒๒๒
หมวดที่ว่าด้วยแสตมป์ไปรสนีย์ปลอม น่า ๒๒๒๔
ภาคที่ ๓
ว่าด้วยข้อบังคับพิเศษ
หมวดที่๑๐ว่าด้วยการทำโทษและฟ้องร้อง น่า ๒๒๒๕
๔๐๙ ประกาศอัตราค่าธรรมเนียม ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๒๖
๔๑๐ พระราชกำหนดว่าด้วยภาษีน้ำตาล ร.ศ. ๑๑๖ แก้ความในพระราชบัญญัติพิกัดภาษีภายใน ร.ศ. ๑๑๑ น่า ๒๒๓๐
๔๑๑ ประกาศว่าด้วยผู้ซึ่งจะทูลเกล้าฯ ถวายฎีกา ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๓๑
๔๑๒ ประกาศแก้ไขข้อบังคับสำหรับการป้องกันผู้ร้ายลักช้าง ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๓๒
๔๑๓ ประกาศการรักษาป่าไม้ ร.ศ. ๑๑๖ รวม ๖ มาตรา น่า ๒๒๓๓
๔๑๔ พระราชบัญญัติว่าด้วยอั้งยี่ ร.ศ. ๑๑๖ รวม ๑๘ มาตรา น่า ๒๒๓๖
๔๑๕ ประกาศเรื่องจัดศาลยุติธรรมในมณฑลปาจิณบุรี ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๔๔
๔๑๖ ประกาศเรื่องจัดศาลยุติธรรมในมณฑลนครศรีธรรมราช ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๔๕
๔๑๗ ข้อบังคับของทางรถไฟสยาม ร.ศ. ๑๑๖ รวม ๓๒ ข้อ น่า ๒๒๔๗
๔๑๘ ประกาศตั้งเจ้าพนักงานผู้จดทะเบียนอั้งยี่ ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๖๒
๔๑๙ พระราชกำหนดศุขาภิบาล ร.ศ. ๑๑๖ รวม ๒๓ มาตรา น่า ๒๒๖๒
หมวดที่ว่าด้วยตั้งเจ้าพนักงานแพทย์สำหรับตรวจโรคกับช่างใหญ่ น่า ๒๒๖๕
หมวดที่ว่าด้วยการศุขาภิบาลที่กำหนดให้จัดให้ดีขึ้น น่า ๒๒๖๙
หมวดที่ว่าด้วยกฎข้อบังคับที่จะขยายจังหวัดการศุขาภิบาลให้กว้างขวางต่อไป น่า ๒๒๗๗
หมวดที่ว่าด้วยข้อความเบ็ดเตล็ด น่า ๒๒๗๙
๔๒๐ ประกาศตั้งเจ้าพนักงานกรมศุขาภิบาล ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๘๐
๔๒๑ พระราชบัญญัติรักษาต้นไม้สัก ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๘๐
๔๒๒ ประกาศเลิกพระราชบัญญัติจัดการป้องกันกาฬโรค ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๘๒
๔๒๓ พระราชบัญญัติสำหรับแต่งงานคนต่างประเทศในกรุงสยาม ร.ศ. ๑๑๖ รวม ๔ มาตรา น่า ๒๒๘๓
๔๒๔ ประกาศกระทรวงนครบาล เตือนให้จีนที่ยังไม่ได้ผูกปี้เร่งมาผูกปี้ ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๘๖
๔๒๕ พระราชกำหนดเครื่องแต่งตัวทหารราบ ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๙๘
๔๒๖ ประกาศตั้งผู้บัญชาการกรมศุขาภิบาล ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๙๔
๔๒๗ ประกาศห้ามมิให้คู่ความเก็บเอาคะดีที่ศาลโบริสภาตัดสินแล้วมาฟ้องต่อศาลแพ่ง ศาลอาญา ก่อนได้รับอนุญาตของศาลสูงนั้น ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๙๖
๔๒๘ พระราชหัดถเลขาเรียกปล่อยและงดโทษนักโทษ ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๒๙๘
๔๒๙ ประกาศตั้งศาลยุติธรรมในมณฑลพิศณุโลกย์ ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๓๐๐
๔๓๐ ประกาศขับไล่ ร.ศ. ๑๑๖ น่า ๒๓๐๑

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก