งานแปล:หนังสือฝากนายสีโหม้ไปถึงแหม่มฌีก

จาก วิกิซอร์ซ
หนังสือฝากนายสีโหม้ไปถึงแหม่มฌีก (ค.ศ. 1898)
โดย สีโหม้ วิชัย, แปลจากภาษาล้านนา โดย วิกิซอร์ซ
นายสีโหม้ วิชัย (บางครั้งสะกดว่า ศรีโหม้) คนเชียงใหม่คนแรกที่ได้ไปอเมริกา ได้เขียนจดหมายไปถึงแหม่มซาราห์ อะดอร์นา ฌีก (Mrs. Sarah Adorna Cheek) บุตรสาวของหมอบรัดเล เพื่อแสดงความยินดีในเรื่องที่นายแพทย์ฌีก (Dr. Marion Alonzo Cheek) สามีของเธอ ได้ชนะคดีความฟ้องร้องกับรัฐบาลสยามเกี่ยวกับสัมปทานค้าไม้ จดหมายนี้ ต้นฉบับได้เก็บรักษาไว้ที่หอจดหมายเหตุโอเบอร์ลิน (Oberlin Archive) รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา
ᨩ᩠ᨿᨦᩉᩱ᩠ᨾ᩵
May. 6. 1898.


เชียงไหม่
6 พฤษภาคม 1898[1]

          ᨡ᩶ᩣᨽᨧᩮᩢ᩶ᩣ​ᨡᩬᩴ​ᩈᨯᩯ᩠ᨦ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩁ᩠ᨠᩢ​ᩓ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨶ᩠ᨷᩢᨳᩨ​ᩓ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨿ᩠ᨶᩦᨯᩦ​ᨾᩣ​ᨳᩮᩥ᩠ᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᩓ​ᨶᩣ᩠ᨿᨯᩬᨠ᩼ᩉ᩠ᨾᩬᨯ​ᩓ​ᩃᩋ᩵ᩬᩁ​ᨴᩩᨠ᩼ᨤᩫ᩠ᨶ ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶​ᨲ᩠ᨦᩢ᩶ᨲᩯ᩵​ᩅ᩠ᨶᩢ​ᨡ᩶ᩣ​ᨯᩱ᩶​ᩋᩬᨠ᩼​ᨧᩣ᩠ᨠ​ᨷ᩠ᨦᩢᨠᩬᨠ​ᨡ᩠ᨶᩨ᩶​ᨾᩣ​ᨲᩣ᩠ᨾ​ᨴᩣ᩠ᨦ​ᨡ᩶ᩣ​ᨣᩴ​ᩈᨷᩣ᩠ᨿ​ᨯᩦ ᨾᩮᩬᩦ᩵ᩋ​ᨹᩯ᩠ᩅ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᩓ᩠ᩅ​ᨾᩯ᩵​ᩓ​ᨾᩮ᩠ᨿ​ᩃᩪᨠ᩼​ᨣᩴ​ᩀᩪ᩵​ᩈᨷᩣ᩠ᨿ​ᨯᩦ ᩓᩯ᩵​ᨡ᩶ᩣ​ᨯᩱ᩶​ᨷᩬᨠ᩼​ᩃᩮᩢ᩵ᩣ​ᩉᩮ᩠ᨲᨠᩣ᩠ᨶ​ᨴᩩᨠ᩼ᩈ᩠ᨦᩦ᩵​ᨶᩱ​ᩁᩮᩬᩦ᩵ᨦ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ ᩅ᩵ᩤ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨯᩦ​ᨣᩪᨦ​ᨧᩢ᩠ᨠ​ᨩ᩠ᨶᩡ​ᨸᩮ᩠ᨶᨶᩯ᩵ ᨾᩯ᩵​ᨣᩴ​ᨾᩦ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨿ᩠ᨶᩦᨯᩦ​ᨶ᩠ᨠᩢ ᨪᩣᩴ᩶​ᨻᩣ᩠ᨿᩃᩪᩁ​ᨾᩣ​ᩈ᩠ᨠᩢ​ᩈ᩠ᨷᩥᩉ᩶ᩣ​ᩅ᩠ᨶᩢ ᨯᩱ᩶ᨿ᩠ᨶᩦ​ᨡ᩵ᩣ᩠ᩅ​ᩋ᩠ᨶᩢ​ᨯᩦᨳᩯ᩠ᨾ​ᩅ᩵ᩤ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨯᩱ᩶​ᨲ᩠ᨯᩢᩈ᩠ᨶᩦ​ᩓ᩠ᩅ ᨯᩱ᩶​ᨩᩱ᩠ᨿᨩ᩠ᨶᩡ​ᩈ᩠ᨾᩫ​ᨯ᩠ᨦᩢ᩵​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨾ᩠ᨠᩢ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨷᩕᩣᨳ᩠ᨶᩣ​ᨴᩯ᩶ ᨡ᩶ᩣ​ᩓ​ᨾᩯ᩵​ᨾᩮ᩠ᨿ​ᩃᩪᨠ᩼ ᩓ​ᨤᩫ᩠ᨶ​ᨴᩢ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ​ᨴᩦ​ᨸᩮ᩠ᨶ​ᩃᩪᨠ᩼ᨧ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᨠᩮᩢ᩵ᩣ​ᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨣᩴᨾᩦ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨸᩦᨲᩥᨿ᩠ᨶᩦᨯᩦ​ᨴᩩᨠ᩼ᨤ᩠ᨶᩫ ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶​ᨠᩬ᩵ᩁᨾᩮᩬᩦᩋ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨿ᩠ᨦᩢ​ᨷᩴ​ᨲ᩠ᨯᩢᩈ᩠ᨶᩦ​ᨤ᩠ᨶᩫ​ᨴᩢ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ​ᨣᩴᨾᩦ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨴᩩᨠ᩼ᩁ᩶ᩬᩁ​ᨧᩱ​…​ᨠ᩠ᩅᩫ​ᩅ᩵ᩤ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨧᩢ​ᨷᩴ​ᨩ᩠ᨶᩡ​ᨡᩮᩢᩣ ᨴᩩᨠ᩼​ᨤ᩠ᨶᩫ​ᨣᩴ​ᩁ᩶ᩬᩁᨧᩱ​ᩀᩪ᩵ ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᩁᩮᩬᩦ᩵ᨦ​ᨶᩦ᩶​ᨳ᩵ᩣ​ᨷᩴᨯᩱ᩶​ᨶᩣ᩠ᨿᨾᩥᩔᨲᩮᩬᩥ​ᨤᩯᩃᩮ᩠ᨯ​ᨩ᩠ᩅ᩠ᨿ᩵​ᩉ᩠ᨶᩢ​ᨧᩢ​ᨲᩮ᩠ᨾ​ᨵᩦ ᨶᩣ᩠ᨿᨤᩯᩃᩮ᩠ᨯ​ᨯᩱ᩶​ᨩ᩠ᩅ᩠ᨿ᩵​ᩐᩣ​ᨧᩱᩈᩱ᩵​ᨶ᩠ᨠᩢᨠ᩠ᩅ᩵ᩣ​ᨤ᩠ᨶᩫ​ᩋ᩠ᨶᩨ᩵ ᨶᩱ​ᨲ᩠ᩅᩫᨡ᩶ᩣ​ᨣᩴ​ᨶ᩠ᨷᩢᨳᩨ​ᩅ᩵ᩤ​ᨶᩣ᩠ᨿᨤᩯᩃᩮ᩠ᨯ​ᨣᩴᨸᩮ᩠ᨶ​ᩉ᩠ᨾᩬᩴᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨯᩦ​ᨤ᩠ᨶᩫᨶ᩠ᨦᩨ​ᩓ

          ข้าภะเจ้าขอสะแดงความรักแลความนับถือแลความยีนดีมาเถิงแม่เลี้ยง[2]แลนายดอกหมอด[3]แลละอ่อนทุกคน ด้วยตั้งแต่วันข้าได้ออกจากบังกอกขื้นมาตามทางข้าค็สะบายดี เมื่อแผวบ้านแล้วแม่แลเมียลูกค็อยู่สะบายดี แล่ข้าได้บอกเล่าเหตกานทุกสี่งในเรื่องฅวามของแม่เลี้ยง[4] ว่าฅวามของแม่เลี้ยงดีคูงจักชนะเปนแน่ แม่ค็มีฅวามยีนดีนัก ซ้ำพายลูนมาสักสิบห้าวันได้ยีนข่าวอันดีแถมว่าฅวามของแม่เลี้ยงตัดสีนแล้ว ได้ไชยชนะ[5]สมดั่งฅวามมักฅวามปราถนาแท้ ข้าแลแม่เมียลูก แลฅนทังหลายทีเปนลูกจ้างเก่าของแม่เลี้ยงค็มีฅวามปีติยีนดีทุกฅน ด้วยก่อนเมือฅวามยังบ่ตัดสีนฅนทังหลายค็มีฅวามทุกร้อนไจ...กัวว่าฅวามของแม่เลี้ยงจักบ่ชนะเขา ทุกฅนค็ร้อนไจอยู่ ด้วยฅวามเรื่องนี้ถ่าบ่ได้นายมีสสเทอแฅเลด[6]ช่วยหันจักเตมธี นายแฅเลดได้ช่วยเอาไจไส่นักกว่าฅนอื่น ไนตัวข้าค็นับถือว่านายแฅเลดค็เปนหมอฅวามดีฅนนื่งแล

          ᩋ᩠ᨶᩢᨶ᩠ᨦᩨ​ᨠᩣ᩠ᨶ​ᨴᩦ​ᨩ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᩁᩮᩢᩣ​ᨵᩣᩴ​ᩀᩪ᩵​ᨴᩩᨠ᩼​ᩅ᩠ᨶᩢᨶᩦ​ᨣᩴ​ᨧᩣᩴᩁᩮᩦ᩠ᨬ​ᨯᩦ​ᩀᩪ᩵ ᨠᩣ᩠ᨶ​ᨴᩦ​ᨧᩢ​ᨵᩣᩴ​ᨣᩴ​ᨿ᩠ᨦᩢ​ᨾᩦ​ᨶ᩠ᨠᩢ​ᩀᩪ᩵ ᩉᩖ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᨤ᩠ᨶᩫ​ᩈ᩠ᨦᩫᩈᩱ​ᩅ᩵ᩤᨩ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᨴᩦ​ᨿᩢ᩠ᨦ​ᩀᩪ᩵​ᨶᩦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨧᩢ​ᨡᩣ᩠ᨿ​ᩈ᩠ᨿ᩶ᨦ ᨳ᩵ᩣ ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨧᩢ​ᨡᩣ᩠ᨿᩈᩮ᩠ᨿ​ᨴᩯ᩶ ᨣᩴ​ᩉ᩠ᨶ᩶ᩣ​ᩈᩮ᩠ᨿᨯᩣ᩠ᨿ​ᨶ᩠ᨠᩢ ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶​ᨩ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᩁᩮᩢᩣ​ᨵᩣᩴᨠᩣ᩠ᨶ​ᨣᩴ​ᨯᩱ᩶​ᨠ᩵ᩣᩴᩃᩱ​ᨯᩦ​ᨴᩩᨠ᩼​ᨸ᩠ᩃᩦ ᨳᩮᩦ᩠ᨦᩅ᩵ᩤ​ᨸ᩵ᩣᨾᩱ᩶​ᨡᩬᨦ​ᩁᩮᩢᩣ​ᨷᩴᨾᩦ ᨤ᩠ᨶᩫ​ᩋ᩠ᨶᩨ​ᨹᩪ᩶​ᨾᩦ​ᨸ᩵ᩣᨾᩱ᩶​ᨣᩴ​ᩀᩣ᩠ᨠ​ᨤᩱ᩵​ᩉᩨ᩶​ᩁᩮᩢᩣ​ᨡᩮᩢ᩶ᩣ​ᨵᩣᩴ​ᨴ᩠ᩅ᩠ᨿ​ᨲᩮ᩠ᨾᨵᩦ

          อันนืงกานทีช้างเราธำอยู่ทุกวันนีค็จำเริญดีอยู่ กานทีจะธำค็ยังมีนักอยู่ หล้างฅนสงไสว่าช้างทียังอยู่นี แม่เลี้ยงจะขายเสี้ยง ถ่าแม่เลี้ยงจะขายเสียแท้ ค็หน้าเสียดายนัก ด้วยช้างเราธำกานค็ได้ก่ำไลดีทุกปลีเถิงว่าป่าไม้ของเราบ่มี ฅนอืนผู้มีป่าไม้ค็อยากไฅ่หื้อเราเข้าธำทวยเตมธี

      ᨴᩦ​ᨩ᩠ᨿᨦᩉᩱ᩠ᨾ᩵​ᨯ᩠ᨿ᩵ᩅᨶᩦ᩶​ᨾᩱ᩶ᩈ᩠ᨠᩢ​ᨻᩯ᩠ᨦ​ᨴᩦᩈᩩᨯ ᨾᩱ᩶​ᩋ᩠ᨶᩨᩋ᩠ᨶᩨ​ᨲ᩵ᩣ᩠ᨦᨲ᩵ᩣ᩠ᨦ​ᨣᩴ​ᨻᩯ᩠ᨦ​ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶​ᨴᩩᨠ᩼ᩀ᩵ᩣ᩠ᨦ ᨯ᩠ᨿ᩵ᩅᨶᩦ᩶​ᨧᩮᩢ᩶ᩣᨶᩣ᩠ᨿ​ᨠᩣᩴ᩵ᩃ᩠ᨦᩢ​ᨵᩣᩴ​ᩈ᩠ᨶ᩠ᨶᩫ​ᩉ᩠ᨶᩫᨴᩣ᩠ᨦ​ᨳᩯ᩠ᨾᩉᩱ᩠ᨾ᩵​ᩉᩖᩣ᩠ᨿ​ᩉᩯ᩠ᨦ᩵​ᩉᩖᩣ᩠ᨿ​ᨲ᩵ᩣᩴᨷ᩠ᨶᩫ ᨠ᩠ᩅ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᩉ᩠ᨠᩫ​ᩅᩤ ᨴᩦ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨡ᩶ᩣ​ᨻᩱ​ᨴᩣ᩠ᨦ​ᩅ᩠ᨶᩢᨲ᩠ᨠᩫ ᨣᩴ​ᨲ᩠ᨯᩢ​ᩈ᩠ᨶ᩠ᨶᩫ​ᨳᩯ᩠ᨾᩉᩱ᩠ᨾ᩵ ᨴᩦ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨡ᩶ᩣ​ᨣᩴ​ᨴᩮ​ᩐᩣ​ᩈᩮ᩠ᨿ​ᩈᩬᨦ​ᩅᩤ ᨴᩦ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨷᩪᩁᨿᩦ᩵​ᨯᩱ᩶​…​ᨴᩮ​ᨡᩮᩢ᩶ᩣ​ᩈᩬᨦ​ᩅᩤ​ᨸᩣ᩠ᨿ ᨴᩦ᩵​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨯ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨲᩱ᩶​ᨣᩴ​ᨯᩱ᩶​ᨿ᩶ᩣ᩠ᨿ​ᩌ᩠ᩅᩫ​ᨡᩮᩢ᩶ᩣ​ᩅᩤ​ᨸᩣ᩠ᨿ ᨴᩦ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨡ᩶ᩣ​ᨯ᩠ᨿ᩵ᩅᨶᩦ᩶​ᨾᩦ​ᩈ᩠ᨶ᩠ᨶᩫ​ᩉᩱ᩠ᨾ᩵​ᨾᩣ​ᩉ᩠ᨶ᩶ᩣ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨠ᩠ᩅ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᩉ᩠ᨠᩫ​ᩅᩤ​ᨾ᩠ᩅ᩵ᩁ​ᨾᩣ​ᩉᩮᩖᩬᩥᩋ​ᨠ᩠ᩅ᩵ᩣ​ᨲᩯ᩵ᨠᩬ᩵ᩁ ᨴᩣ᩠ᨦᨶᩱ​ᩅ᩠ᨿᨦ​ᨣᩴ​ᨾ᩠ᩅ᩵ᩁ​ᩉᩮᩖᩬᩥᩋ​ᨲᩯ᩵ᨠᩬ᩵ᩁ

          ทีเชียงไหม่เดี่ยวนี้ไม้สักแพงทีสุด ไม้อืนอืนต่างต่างค็แพงด้วยทุกอย่าง เดี่ยวนี้เจ้านายก่ำลังธำสนนหนทางแถมไหม่หลายแห่งหลายต่ำบน กว้างหกวาทีบ้านข้าไพทางวันตก ค็ตัดสนนแถมไหม่ ทีบ้านข้าค็เทเอาเสียสองวา ทีบ้านบูนยี่ได้...เทเข้าสองวาปาย ทีบ้านของแม่เลี้ยงด้านไต้ค็ได้ย้ายฮัวเข้าวาปาย ทีบ้านข้าเดี่ยวนี้มีสนนไหม่มาหน้าบ้านกว้างหกวาม่วนมาเหลือกว่าแต่ก่อน ทางไนเวียงค็ม่วนเหลือแต่ก่อน

      ᨶᩱ​ᨤᩬᨷᨤ᩠ᩅᩫ​ᨡᩬᨦ​ᨡ᩶ᩣᨽᨧᩮᩢ᩶ᩣ​ᨣᩴ​ᨿ᩠ᨦᩢ​ᨧᩣᩴᩁᩮᩥ᩠ᨬ​ᨯᩦ​ᩈᨷᩣ᩠ᨿ ᩀᩪ᩵​ᨴᩩᨠ᩼​ᩈ᩠ᨦᩦ᩵ ᨡ᩶ᩣ​ᨣᩴ​ᨯᩱ᩶​ᨻᩱ​ᨸ᩵ᩣ​ᨾᩱ᩶​ᨶᩱ​ᩅ᩠ᨶᩢᨶᩦ᩶​ᩓ ᨧᩢ​ᨡ᩠ᨿᩁ​…​ᨾᩣ​ᨶ᩠ᨠᩢ​ᨣᩴᨷᩴ​ᩈᩪ᩶​ᨯᩱ᩶ ᨽᩰᩬᩡ​ᨲᩣ​ᨡ᩶ᩣ​ᨷᩴ​ᩈᩪ᩶​ᩈᨷᩣ᩠ᨿ​ᨴᩩᨠ᩼ᩅ᩠ᨶᩢ​ᨶᩦ᩶​ᨧᩢ​ᩋ᩵ᩣ᩠ᨶ​ᩉ᩠ᨶ᩠ᨦᩢᩈᩨ​ᨶ᩠ᨠᩢ​ᨣᩴᨷᩴ​ᨯᩱ᩶ ᨡ᩶ᩣ​ᨴᩢ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ​ᩀᩣ᩠ᨠ​ᨤᩱ᩵​ᩉᩨ᩶​ᨶᩣ᩠ᨿᨯᩬᨠ᩼ᩡ​ᨶᩣ᩠ᨿᨡᩮᩢ᩶ᩣ​ᨾᩣ​ᨩ᩠ᨿᨦᩉᩱ᩠ᨾ᩵​ᨴᩯ᩶ᨴᩯ᩶ ᨤ᩠ᨶᩫ​ᨴᩢ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ​ᨣᩴ​ᨳᩣ᩠ᨾᩉᩣ​ᩀᩪ᩵​ᩈᩮ᩠ᨾᩬᩥ

          ไนฅอบฅัวของข้าภะเจ้าค็ยังจำเริญดีสะบาย อยู่ทุกสี่ง ข้าค็ได้ไพป่าไม้ไนวันนี้แล จะเขียน...มานักค็บ่สู้ได้เภาะตาข้าบ่สู้สะบายทุกวันนี้จะอ่านหนังสือนักค็บ่ได้ ข้าทังหลายอยากไฅ่หื้อนายด็อกนายเข้ามาเชียงไหม่แท้แท้ ฅนทังหลายค็ถามหาอยู่เสมอ

      ᨡᩬᩴ​ᩉᩨ᩶​ᨻᩕᨣᩪᩁ​ᩓ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩈᩩᨠ᩠ᨡ᩼​ᩈᩣᩴᩁᩣ᩠ᨬ ᩓ​ᨻᩕᩅᩥᨬᩣ᩠ᨱ​ᨯᩣᩴᩁ᩠ᨦᩫ​ᩀᩪ᩵​ᨶᩱ​ᨴ᩵ᩣ᩠ᨶ​ᨴᩢ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ​ᨴᩩᨠ᩼ᨤ᩠ᨶᩫ​ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶

          ขอหื้อพระคูนแลฅวามสุกข์สำราญ แลพระวิญาณดำรงอยู่ไนท่านทังหลายทุกฅนด้วย

เชิงอรรถของวิกิซอร์ซ[แก้ไข]

หมายเหตุ[แก้ไข]

  1. พ.ศ. 2441
  2. แหม่มซาราห์ อะดอร์นา ฌีก (Mrs. Sarah Adorna Cheek) บุตรสาวของหมอบรัดเลย์ และภรรยาของนายแพทย์ฌีก (Dr. Marion Alonzo Cheek) ผู้ซึ่งครอบครัวของสีโหม้มีความสนิทสนมด้วยเป็นอย่างมาก มารดาของสีโหม้นางวรรณดี ก็เป็นพี่เลี้ยงให้บุตรและบุตรีของนายแพทย์ฌีก
  3. บุตรสาวของแหม่มฌีก คือมิสเอดิธ มอด ฌีก (Mrs. Edith Maud Cheek), คำว่านาย ในภาษาล้านนา เป็นคำนำหน้าถึงผู้เป็นเจ้านายหรือมีฐานะสูงกว่า ใช้ได้กับทั้งชายและหญิง
  4. คดีความระหว่างหมอฌีกและรัฐบาลสยาม สืบเนื่องจากสัมปทานค้าไม้ ซึ่งหมอฌีกมีความขัดแย้งกับรัฐบาลสยามจนถึงขั้นที่ถูกรัฐบาลสยามอายัดทรัพย์อันได้แก่ไม้และช้าง คดีนี้เกี่ยวพันไปถึงนายหลุยส์ ที. ลีโอโนเวนส์ (บุตร นางแอนนา ลีโอโนเวนส์) อีกด้วย
  5. ในภายหลังรัฐบาลสยามได้แพ้คดีและต้องจ่ายเงินชดเชยให้กับครอบครัวของหมอฌีก
  6. มิสเตอร์ อี. วี. แกลเล็ต นักกฏหมายชาวอเมริกัน และมีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยกงสุลอเมริกันในเชียงใหม่ ได้เข้าช่วยเหลือเป็นทนายความให้หมอฌีก

อ้างอิง[แก้ไข]

  • กมลธร ปาละนันทน์ (2561). โลกทัศน์ของสีโหม้วิชัยในยุคเปลี่ยนผ่านของสังคมล้านนา พ.ศ.2432-2481. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
  งานนี้เป็นงานแปล ซึ่งมีสถานะทางลิขสิทธิ์แยกต่างหากจากงานต้นฉบับ
งานต้นฉบับ:

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก
งานแปล:

ข้าพเจ้า ผู้ถือลิขสิทธิ์ในงานนี้ ให้งานนี้เป็นสาธารณสมบัติ คำประกาศนี้ให้มีผลทั่วโลก
ถ้าคำประกาศดังกล่าวไม่อาจเป็นไปได้ในทางกฎหมาย ข้าพเจ้าก็ให้ทุกคนมีสิทธิใช้งานนี้ได้ในทุกกรณี โดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ เว้นแต่ที่กฎหมายกำหนด