ข้ามไปเนื้อหา

ตำนานเครื่องมโหรีปี่พาทย์/รูป

จาก วิกิซอร์ซ
บัญชีรูป

(ดูจากซ้ายไปขวา เว้นแต่ที่บอกไว้เป็นอย่างอื่นฉะเพาะรูปนั้น ๆ)

รูปที่ ๑ เครื่องดีด พิณน้ำเต้า กระจับปี่ จะเข้
รูปที่ ๒ เครื่องสี ซออู้ ซอสามสาย ซอด้วง
รูปที่ ๓ เครื่องตี (แถวหลัง) บัณเฑาะว์ กรับพวง ฆ้องโหม่ง (แถวหน้า) ฉิ่ง ฉาบ กรับคู่ (๒ คู่)
รูปที่ ๔ เครื่องตีที่เกิดจากฆ้องโหม่ง (บน) ฆ้องโหม่ง (ล่าง) ฆ้องคู่ ฆ้องระเบง ฆ้องวง
รูปที่ ๕ เครื่องตีเกิดจากกรับ (แถวหลัง) ระนาดเอก ระนาดทุ้ม (แถวหน้า) ระนาดเอกทอง ระนาดทุ้มเหล็ก
รูปที่ ๖ เครื่องตีอย่างหุ้มหนัง โทน (ตะโพน) กลองแขกสองหน้า กลองมะลายู ทับ (โทน) กลองทัด รำมะนา กลองชาตรี
รูปที่ ๗ เครื่องเป่า ปี่ชะวา ปี่ไฉน ขลุ่ย ปี่อ้อ ปี่ใน ปี่นอก
รูปที่ ๘ เครื่องดุริยางค์ของพวกไทยแต่โบราณ (นับแต่ข้างบนลงมา) จ้องหน่อง นอ แคน ปี่ซอ เด้ง เรไร
รูปที่ ๙ พราหมณ์ดีดพิณน้ำเต้า
หลวงเทพมุนี (เรือง รังสีพราหมณกุล)
รูปที่ ๑๐ ขับไม้
หลวงไพเราะเสียงซอ (อุ้น ดุริยะชีวิน) สีซอสามสาย
หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย) ขับ
นายแม้น มายุสิริ ไกวบัณเฑาะว์
รูปที่ ๑๑ มโหรีเครื่องสี่ แบบกรุงศรีอยุธยา
ม.ล.เสาวรี ทินกร ดีดกระจับปี่
นางท้วม ประสิทธิกุล ตีกรับ ขับลำนำ
นางสาวชิ้น ศิลปบรรเลง สีซอสามสาย
นางสาวสาลี ยันตรโกวิท ตีทับ
รูปที่ ๑๒ มโหรีเครื่องใหญ่
นางสาวดารา นาวีเสถียร ดีดจะเข้
นางเลื่อน ผลาสินธุ์ เป่าขลุ่ย
นางสาวสมใจ นวลอนันต์ ตีระนาดเอกทอง
นางสาวเจริญ สุนทรวาทิน ตีฉิ่งขับลำนำ
นางสาวฝรั่ง เปรมประทิน ตีฆ้องวงใหญ่
นางสาวสอิ้ง กาญจนผลิน ตีระนาดเอก
นางสาวฟื้น บุญมา สีซอสามสาย
นางสาวละมุล คงศรีวิลัย ตีระนาดทุ้ม
นางสาวเชื่อม ดุริยประณีต ตีฆ้องวงเล็ก
นางสาวเฉลา วาทิน ตีรำมะนา
นางสาวน้อม คงศรีวิลัย ตีระนาดทุ้มเหล็ก
นางสาวบรรจง เสริมสิริ ตีโทน
รูปที่ ๑๓ ปี่พาทย์เครื่องห้าอย่างโบราณ (เพิ่มสองหน้ากับคนตีกรับขับเสภา) คณะครู
พระพาทย์บรรเลงรมย์ (พิมพ์ พิมพวาทิน) ตีตะโพนและสองหน้า
พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) เป่าปี่
หลวงบำรุงจิตรเจริญ (ธูป สาตรวิลัย) ตีฆ้องวง
พระเพลงไพเราะ (โสม สุตวาทิน) ตีระนาด
หมื่นคนธรรพประสิทธิสาร (แตะ กาญจนผลิน) ตีกลองทัด
หมื่นขับคำหวาน (เจิม นาคมาลัย) ตีกรับขับเสภา
รูปที่ ๑๔ ปี่พาทย์เครื่องใหญ่
นายมิ ทรัพย์เย็น ตีตะโพน
นายชื้น ดุริยะประณีต ตีระนาดเอกทอง
หลวงประดิษฐไพเราะ (สอน ศิลปบรรเลง) เป่าปี่ใน
นายสอน วงฆ้อง ตีฆ้องวงใหญ่
นายพริ้ง ดนตรีรส ตีระนาดเอก
หมื่นประคมเพลงประสาน (ใจ นิตยผลิน) เป่าปี่นอก
นายสนิท ทรัพย์ประดิษฐ ตีฆ้องวงเล็ก
นายแสวง โสภา ตีระนาดทุ้ม
นายชั้น ดุริยะประณีต ตีฆ้องโหม่ง
นายผิว ใบไม้ ตีกลองทัด
นายหน่วง ดุริยะพันธ์ ตีระนาดทุ้มเหล็ก
รูปที่ ๑๕ เครื่องกลองแขก
หลวงศรีวาทิต (อ่อน โกมลวาทิน) ตีกลองแขก
หมื่นตันติการเจนจิตร (สาย ศศิผลิน) เป่าปี่ชะวา
พระประดับดุริยะกิจ (แหยม วีณิน) ตีกลองแขก
ขุนบรรจงทุ้มเลิศ (ปลั่ง ประสานศัพท์) ตีฆ้อง
รูปที่ ๑๖ มโหรีเครื่องสาย
นายปลั่ง วรรณเขจร สีซออู้
นายจ่าง แสงดาวเด่น ดีดจะเข้
นายเทียบ คงลายทอง เป่าขลุ่ย
นายไปล่ วรรณเขจร สีซอด้วง
นายทองต่อ กลีบชื่น ตีระนาดเอก
ขุนบรรจงทุ้มเลิศ (ปลั่ง ประสานศัพท์) ตีฆ้องวง
หมื่นตันตริการเจนจิตร (สาย ศศิผลิน) ตีระนาดทุ้ม
นายแก้ว โกมลวาทิน ตีโทน (ทับ)
หลวงศรีวาทิต (อ่อน โกมลวาทิน) ตีรำมนา
นายเชื้อ นักร้อง ตีฉิ่งขับลำนำ

  • รูปที่ ๔ เครื่องตีเกิดจากฆ้องโหม่ง
  • Plate IV. Instruments of percussion (Group ii).

  • รูปที่ ๕ เครื่องตีเกิดจากกรับ
  • Plate V. Instruments of percussion (Group iii).

  • รูปที่ ๖ เครื่องอย่างหุ้มหนัง
  • Plate VI. Instruments of percussion (Group iv).

  • รูปที่ ๘ เครื่องดุริยางค์โบราณของชนชาติไทย
  • Plate VIII. National musical instruments of the Thai.

  • รูปที่ ๙ พราหมณ์ดีดพิณน้ำเต้า
  • Plate IX. Brahmin playing the Gourd lute.