ข้ามไปเนื้อหา

ทรัพยศาสตร์

จาก วิกิซอร์ซ
ทรัพย์ศาสตร์
 

ทรัพย์ศาสตร์
พระยาสุริยานุวัตร
 
(ตรา)
สำนักพิมพ์พิฆเณศ

  • ทรัพยศาสตร์
  • โดย
  • พระยาสุริยานุวัตร
  • พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. ๒๔๕๔
  • พิมพ์ครั้งที่สาม พศ. ๒๕๑๘
  • (ตรา)
  • สำนักพิมพ์พิฆเณศ
  • ๙๙ – ๙๗ แพร่งสรรพศาสตร์ ถนนตะนาว กรุงเทพมหานคร
  • โทร. ๒๒๒๘๕๐, ๒๒๙๓๖๙
  • เป็นผู้จัดพิมพ์
  • (ตรา)
  • สำนักพิมฑ์ประพันธ์สาส์น
  • ๒๓๐ เวิงนครเขษม โทรศัพท์ ๒๑๗๒๕๙
  • ข้างโรงภาพยนตร์ลิโต้ โทรศัพท์ ๕๑๒๓๔๒, ๕๑๒๓๔๓
  • เป็นผู้แทนจำหน่าย
  • พิมพ์ที่
  • (ตรา)
  • สำนักพิมพ์พิฆเณศ
  • ๙๙ – ๙๗ แพร่งสรรพศาสตร์ ถนนตะนาว กรุงเทพมหานคร
  • โทร. ๒๒๒๘๕๐, ๒๒๙๓๖๙
  • นายสุจิตต์ วงษ์เทศ เป็นผู้พิมพ์ผู้โฆษณา ๒๕๑๘
  • อรุณ วัชระสวัสดิ์ ออกแบบปก
  • ราคา ๒๕ บาท

สารบาญ
ประวัติพระยาสุริยาวัตร (๑๐)
คำนำในการพิมพ์ครั้งที่ ๓ (๓๑)
คำนำในการพิมพ์ครั้งที่ ๒ (๓๔)
คำนำในการพิมพ์ครั้งที่ ๑ (๓๗)
ภาค ๑ การสร้างทรัพย์
หมวด ๑ ว่าด้วยคุณประโยชน์
หมวด ๒ ว่าด้วยลักษณะทรัพย์
หมวด ๓ ว่าด้วยสิ่งสำคัญที่จะต้องใช้ในการทำให้เกิดผลเป็นทรัพย์ ๑๐
หมวด ๔ ว่าด้วยลักษณะแรงทำการ ๑๕
หมวด ๕ ว่าด้วยวิธีปันหน้าที่ทำการ ๓๑
หมวด ๖ ว่าด้วยการระดม ๕๐
หมวด ๗ ว่าด้วยทำนองทำการอย่างใหญ่และทำการอย่างน้อย ๕๕
หมวด ๘ ว่าด้วยลักษณะทุน ๖๕
หมวด ๙ ว่าด้วยการลงทุน ๗๔
หมวด ๑๐ ว่าด้วยกฎธรรมดาทั้งหลายซึ่งเป็นที่บังคับสำหรับให้เกิดผลเป็นทรัพย์เพิ่มพูนยิ่งขึ้น ๘๔
หมวด ๑๑ ว่าด้วยกฎธรรมดาซึ่งเป็นที่บังคับให้ทุนเพิ่มพูนยิ่งขึ้น ๑๐๕
ภาค ๒ การแบ่งปันทรัพย์ ๑๒๕
หมวด ๑ ว่าด้วยกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สมบัติ ๑๒๖
หมวด ๒ ว่าด้วยทรัพย์ซึ่งสร้างเป็นผลขึ้นแล้วจะได้เป็นส่วนแบ่งแก่คนจำพวกใดบ้าง ๑๓๔
หมวด ๓ ว่าด้วยค่าเช่าที่ดิน ๑๔๒
หมวด ๔ ว่าด้วยค่าแรง ๑๕๙
หมวด ๕ ว่าด้วยกำไร ๑๘๕
หมวด ๖ ว่าด้วยสมาคมคนทำงาน และการที่คนทำงานพร้อมใจกันละทิ้งการงาน ๒๒๔
หมวด ๗ ว่าด้วยผลร้ายของการประมูลแข่งขัน ๒๔๕
หมวด ๘ ว่าด้วยวิธีทำการร่วมกัน โดยร่วมทุน ร่วมแรงและร่วมผลประโยชน์ ในระหว่างคนทำงาน ๒๕๐
หมวด ๙ ว่าด้วยการศึกษาและการประหยัดทรัพย์ ๒๖๑
ภาค ๓ ๒๘๔
หมวด ๑ ว่าด้วยการแลกเปลี่ยน ๒๘๔
หมวด ๒ ว่าด้วยค่าและราคา ๒๙๑
การประมูล ๒๙๘
ราคาปกติ ๓๐๕
ราคาตลาด ๓๐๗
ดอกเบี้ยและค่าน้ำเงิน ๓๒๐
หมวด ๓ ว่าด้วยลักษณะเงิน ๓๒๒
ลักษณะเหรียญกษาปณ์ที่ตกต่ำ ๓๔๓
เหรียญกษปาณ์ที่สึกหรอบุบสลาย ๓๕๙
หมวด ๔ วิธีเงินตราต่างประเทศ ๓๗๑
ประเทศอังกฤษ ๓๗๑
ประเทศอินเดีย ๓๗๓
ประเทศยูไนเตดสเตทส์อเมริกาเหนือ ๓๗๔
เมืองแคนาดา ๓๗๖
ประเทศเยอรมันนี ๓๗๗
ประเทศสแกนดิเนเวีย ๓๗๘
ประเทศที่อยู่ในสมาคมแลตินน่า ๓๗๙
ประเทศฝรั่งเศสประเทศเบลเยียมประเทศอิตาลี ๓๘๑
ประเทศฮอลแลนด์และเมืองขึ้นข้างทิศตะวันออก ๓๘๒
ประเทศออสเตรียฮังการี ๓๘๔
ประเทศบราซิล ๓๘๗
หมวด ๕ ว่าด้วยการเชื่อหนี้ (Credit) ๓๙๓
หมวด ๖ ว่าด้วยใบสำคัญต่าง ๆ ของการเชื่อหนี้ที่ใช้ได้ต่างเงินตรา ๔๑๖
หมวด ๗ การเชื่อหนี้อาจชักจูงราคาสินค้าให้ผันแปร ไปได้ต่าง ๆ ๔๒๙
หมวด ๘ การเชื่อหนี้ในการค้าขาย (Commercial Credit) ๔๓๗
หมวด ๙ การเชื่อหนี้ในการสร้างทรัพย์ ๔๔๘
หมวด ๑๐ การค้าขายเกินตัวและการทำสินค้าขายมากเกินไป ๔๕๔
หมวด ๑๑ วิธีทำใบสั่งจ่ายสงเคราะห์กัน (Accommodation Bills) ๔๖๓
หมวด ๑๒ ดอกเบี้ย ๔๖๘
หมวด ๑๓ การค้าขายระหว่างประเทศ ๔๘๐
การค้าขายโดยสะดวก ๔๙๕
หมวด ๑๔ การป้องกัน (Protection) ๕๐๑

ทรัพย์ศาสตร์
 
ขึ้น

บรรณานุกรม

[แก้ไข]
  • สุริยานุวัตร, พระยา. (2518). ทรัพยศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. สำนักพิมพ์พิฆเณศ.