ประชุมกฎหมายประจำศก/เล่ม 13

จาก วิกิซอร์ซ
ประชุม
กฎหมายประจำศก
เล่ม ๑๓
กฎหมาย ร.ศ. ๑๑๐–๑๑๑
รวบรวมโดย
นายร้อยตำรวจโท เสถียร ลายลักษณ์
แพทย์ประกาศนียบัตรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเนติบัณฑิตสยาม
เคยเป็นผู้สอนกฎหมายณโรงเรียนนายร้อยตำรวจ
และโรงเรียนพลตำรวจ
กับ
นายบุญเรื่อง นาคีนพคุณ
ประกาศนียบัตรครูมัธยมและเนติบัณฑิตสยาม
นายบุญธรรม ศิริฤทธิ์
เนติบัณฑิตสยาม
และ
นายสำราญ เภตรารัตน์
สงวนลิขสิทธิ์
พิมพ์ครั้งแรกวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๘

คำนำ

ประชุมกฎหมายประจำศก เล่ม ๑๓ นี้ แบ่งเปน ๒ ภาค ภาค ๑ รวมกฎหมายและประกาศต่าง ๆ ในปี ร.ศ. ๑๑๐ (พ.ศ. ๒๔๓๔) ภาค ๒ รวมกฎหมายและประกาศต่าง ๆ ในปี ร.ศ. ๑๑๑ (พ.ศ. ๒๔๓๕) กฎหมายและประกาศต่าง ๆ ในปี ร.ศ. ๑๑๐ และ ๑๑๑ นี้ ได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘ (ประจำ ร.ศ. ๑๑๐) เล่ม ๙ (ประจำ ร.ศ. ๑๑๑) และบางเรื่องได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐ (ประจำ ร.ศ. ๑๑๒) ซึ่งราชกิจจานุเบกษาทั้ง ๓ เล่มดั่งกล่าวนี้ได้เปนที่มาของหนังสือประชุมกฎหมายประจำศก เล่ม ๑๓ นี้


สารบัญ
กฎหมาย ร.ศ. 110 (พ.ศ. 2434)
กฎหมาย ร.ศ. 111 (พ.ศ. 2435)

บรรณานุกรม[แก้ไข]

  • บุญธรรม ศิริฤทธิ์, บุญเรื่อง นาคีนพคุณ, สำราญ เภตรารัตน์, และ เสถียร ลายลักษณ์ (ผู้รวบรวม). (2478). ประชุมกฎหมายประจำศก เล่ม 13. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดลิเมล์.

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก