ผู้สร้างสรรค์:พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ผู้สร้างสรรค์:พระยาอนุมานราชธน (ยง เสถียรโกเสส))
←รายชื่อ: อ | อนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ), พระยา (พ.ศ. 2431–2512) |
ขุนนางชาวไทย นามปากกา เสฐียรโกเศศ |
งาน
[แก้ไข]- "คำแถลง", ใน ปฐมสมโพธิกถา (2478) (ต้นฉบับ)
- จีน (2512) (ต้นฉบับ)
- บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ (2506) (ต้นฉบับ)
- บางเรื่องจากสารานุกรมไทย (2510) (เริ่มดัชนี)
- ประเพณีและความรู้ทั่วไป (2498) (เริ่มดัชนี)
- ประเพณีไทยเกี่ยวกับเทศกาลลอยกระทง (2500) (ต้นฉบับ)
- ประเพณีไทยเกี่ยวกับเทศกาลสงกรานต์ (2500) (เริ่มดัชนี)
- ประวัติของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) (2507) (เริ่มดัชนี)
- ผีสางเทวดา (2495) (ต้นฉบับ)
- พิธีสมโภชเดือน ประเพณีทำบุญตักบาตร์ เรื่องสงกรานต์ (2496) (เริ่มดัชนี)
- ฟอลคอน หรือเรื่องผเชินภัยแห่งเจ้าพระยาวิชาเยนทร์, โดย วิลเลียม ดอลตัน (2461) (ต้นฉบับ: 1, 2)
- รวมเรื่องสั้น (2498) (เริ่มดัชนี)
- รวมเรื่องสั้น (2500) (เริ่มดัชนี)
- เรื่องของชาติไทย (2498) (เริ่มดัชนี)
- เรื่องพระราชลัญจกรและตราประจำตัวประจำตำแหน่ง (2493)
- เรื่องแหลมอินโดจีนสมัยโบราณ (2498) (เริ่มดัชนี)
- เลิกทาสไนรัชกาลที่ 5 (2487) (ต้นฉบับ)
เสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป
[แก้ไข]งานที่สร้างสรรค์ร่วมกับพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) ใช้นามปากกาว่า "เสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป"
- กามนิต (2508) (เริ่มดัชนี)
- นิยายเบงคลี, โดย วิลเลียม แมกคัลล็อค (2460) (เริ่มดัชนี)
- แม่ย่านาง วรรณคดี และราชาวดี (2481)
- เรื่องเบ็ดเตล็ด (2484) (เริ่มดัชนี)
งานที่บุคคลนี้สร้างสรรค์ขึ้น ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก