ผู้ใช้:Suisse/EU

จาก วิกิซอร์ซ
แม่แบบผิดพลาด: มีการลบช่องที่ไม่ได้ใช้ออก โปรดเติมกลับเข้าไป (โปรดดูเอกสารกำกับแม่แบบ)

คำปฏิญาณเป็นพิธีการ

สภายุโรป คณะมนตรี และคณะกรรมการ ปฏิญาณอย่างเป็นพิธีการให้ข้อความดังต่อไปนี้เป็น


กฎบัตรสิทธิพื้นฐานแห่งสหภาพยุโรป


กระทำที่นีซ วันที่เจ็ดของเดือนธันวาคม ปีสองพัน
สำหรับสภายุโรป
สำหรับคณะมนตรีของสหภาพยุโรป
สำหรับคณะกรรมการยุโรป

บท I. ศักดิ์ศรี
บท II. เสรีภาพ
บท III. ความเสมอภาค
บท IV. ความเป็นปึกแผ่นทางสังคม
บท V. สิทธิพลเมือง
บท VI. ความยุติธรรม
บท VII. บัญญัติทั่วไป

เชิงอรรถ

อารัมภบท[แก้ไข]

ประชาชนแห่งยุโรป ได้ตกลงใจที่จะแบ่งปันอนาคตอันสงบสุขภายใต้ค่านิยมร่วม เพื่อที่จะสร้างสหภาพที่เน้นแฟ้นยิ่งขึ้น

สหภาพตระหนักถึงมรดกทางจิตวิญญาณและศีลธรรม และถูกก่อตั้งขึ้นบนค่านิยมสากลต่อศักดิ์ศรีมนุษย์ เสรีภาพ ความเสมอภาค และความเป็นปึกแผ่นทางสังคม อย่างแบ่งแยกมิได้. ค่านิยมนี้ตั้งอยู่บนหลักการของประชาธิปไตยและหลักนิติธรรม ซึ่งให้ความสำคัญต่อปัจเจกบุคคลในทุกกิจกรรม โดยการก่อตั้งความเป็นพลเมืองแห่งสหภาพ และการสร้างพื้นที่แห่งเสรีภาพ ความปลอดภัย และความยุติธรรม

สหภาพมีส่วนร่วมในการรักษาและพัฒนาค่านิยมร่วมเหล่านี้ ในขณะเดียวกันก็เคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรมและประเพณีของประชาชนยุโรป รวมถึงอัตลักษณ์ทางชาติของรัฐสมาชิก และโครงสร้างการปกครองในระดับชาติ ภูมิภาค และท้องถิ่น. สหภาพมุ่งหวังที่จะส่งเสริมการพัฒนาแบบสมดุลและยั่งยืน และการคมนาคมอย่างเสรีของบุคคล สินค้า บริการ และทุน รวมถึงเสรีภาพของ establishment.

เพื่อที่จะให้สำเร็จผล จึงจำเป็นที่จะต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการปกป้องสิทธิพื้นฐานตามการเปลี่ยนแปลงในสังคม การก้าวหน้าทางสังคม และการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้ทำให้สิทธิเหล่านี้กระจ่างชัดขึ้นในรูปแบบของกฎบัตร

This Charter reaffirms, with due regard for the powers and tasks of the Community and the Union and the principle of subsidiarity, the rights as they result, in particular, from the constitutional traditions and international obligations common to the Member States, the Treaty on European Union, the Community Treaties, the European Convention for the Protection of Human Rights and Fundamental Freedoms, the Social Charters adopted by the Community and by the Council of Europe and the case-law of the Court of Justice of the European Communities and of the European Court of Human Rights.

การได้รับประโยชน์จากสิทธิเหล่านี้นำมาซึ่งความรับผิดชอบและหน้าที่ต่อผู้อื่น ต่อประชาคมมนุษย์ และต่ออนุชนรุ่นหลัง

ดังนั้นสหภาพจึงให้การรับรองสิทธิ เสรีภาพ และหลักการ ที่จะกล่าวต่อจากนี้

(สารบัญ)

บท I. ศักดิ์ศรี[แก้ไข]

มาตรา 1. ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์จะถูกละเมิดมิได้ ทั้งจะต้องได้รับการเคารพและการปกป้องรักษา

มาตรา 2. สิทธิในการมีชีวิต

  1. มนุษย์ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิต
  2. ห้ามมิให้ผู้ใดต้องได้รับโทษประหารชีวิต

มาตรา 3. สิทธิของบูรณภาพแห่งบุคคล

  1. ทุกคนจักได้รับการเคารพต่อบูรณภาพทางร่างกายและทางจิตใจของบุคคลนั้น
  2. ในด้านการแพทย์และชีววิทยา ข้อเหล่านี้จะต้องได้รับการเคารพเป็นพิเศษ:
    1. the free and informed consent of the person concerned ตามขั้นตอนที่ได้กำหนดไว้ในกฎหมาย
    2. การห้ามการปฏิบัติสุพันธุศาสตร์ โดยเฉพาะที่มีจุดประสงค์เพื่อคัดเลือกมนุษย์
    3. การห้ามการแสวงหารายได้จากร่างกายมนุษย์และอวัยวะต่าง ๆ
    4. ข้อห้ามการโคลนมนุษย์เพื่อสืบพันธุ์

มาตรา 4. ข้อห้ามการทรมาน และการปฏิบัติหรือลงโทษ อย่างมิใช่มนุษย์หรือทำให้ลดคุณค่าลง

ห้ามมิให้ผู้ใดต้องได้รับการทรมาน และการปฏิบัติหรือลงโทษ อย่างมิใช่มนุษย์หรือทำให้ลดคุณค่าลง

มาตรา 5. ข้อห้ามทาสและแรงงานเกณฑ์

  1. ห้ามมิให้ผู้ใดต้องอยู่ในตำแหน่งทาสหรือข้ารับใช้
  2. ห้ามมิให้ผู้ใดต้องใช้แรงงานโดยบังคับหรือเป็นแรงงานเกณฑ์
  3. ห้ามมิให้มีการค้ามนุษย์
(สารบัญ)

บท II. เสรีภาพ[แก้ไข]

มาตรา 6. สิทธิในการมีเสรีภาพและความปลอดภัย

ทุกคนมีสิทธิในการมีเสรีภาพและความปลอดภัยส่วนบุคคล

มาตรา 7. การเคารพในชีวิตส่วนบุคคลและชีวิตครอบครัว

ทุกคนมีสิทธิได้รับการเคารพในชีวิตส่วนบุคคลและชีวิตครอบครัว ที่อยู่อาศัย และการสื่อสาร

มาตรา 8. การป้องกันข้อมูลส่วนบุคคล

  1. ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการป้องกันข้อมูลส่วนบุคคล อันเกี่ยวกับผู้นั้น
  2. ข้อมูลดังกล่าวจะต้องได้รับการดำเนินการอย่างชอบธรรมเพื่อเป้าหมายที่ระบุชัดเจน และต้องได้รับความยินยอมของบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือมีความชอบธรรมตามที่กฎหมายกำหนด. ทุกคนมีสิทธิเข้าถึงข้อมูลที่ถูกสะสมอันเกี่ยวข้องกับบุคคลนั้น และสิทธิที่จะปรับแก้ข้อมูลนั้นให้ถูกต้อง
  3. การทำตามข้อบังคับเหล่านี้ให้เป็นไปภายใต้บังคับแห่งองค์กรอิสระ

มาตรา 9. สิทธิในการแต่งงานและมีครอบครัว

สิทธิในการแต่งงานและมีครอบครัวจะต้องได้รับการรับรอง โดยให้สอดคล้องกับกฎหมายของชาตินั้น ๆ ที่วางระเบียบการใช้สิทธิเหล่านี้

มาตรา 10. เสรีภาพทางความคิด มโนธรรม และศาสนา

  1. ทุกคนมีสิทธิในการมีเสรีภาพทางความคิด มโนธรรม และศาสนา ซึ่งสิทธินี้รวมเสรีภาพในการเปลี่ยนศาสนาหรือความเชื่อ และเสรีภาพในการแสดงศาสนาหรือความเชื่อของตน ในการบูชาเคารพ สั่งสอน ปฏิบัติ และร่วมพิธีกรรมทางศาสนา โดยไม่เกี่ยงว่าจะทำโดยผู้เดียวหรือกับผู้อื่น ทำในที่สาธารณะหรือในที่ส่วนบุคคล
  2. สิทธิของผู้ปฏิเสธเข้าเกณฑ์ทหารได้รับการรับรอง โดยให้สอดคล้องกับกฏหมายของชาตินั้น ๆ ที่วางระเบียบการใช้สิทธิเหล่านี้

มาตรา 11. เสรีภาพในการแสดงออก และเสรีภาพทางข้อมูล

  1. ทุกคนมีสิทธิที่จะมีเสรีภาพในการแสดงออก ซึ่งสิทธินี้รวมเสรีภาพในการมีความคิดเห็น และการรับและเผยแพร่ข้อมูลและความคิด โดยปราศจากการแทรกแซงของอำนาจรัฐและปราศจากพรมแดน
  2. เสรีภาพและพหุลักษณะของสื่อจะต้องได้รับการเคารพ

มาตรา 12. เสรีภาพในการชุมนุม และเสรีภาพในการรวมกันเป็นสมาคม

  1. ทุกคนมีสิทธิที่มีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ และสิทธิในการรวมกันเป็นสมาคมในทุกระดับ โดยเฉพาะทางด้านการเมือง สหภาพแรงงาน และพลเมือง ซึ่งส่อความถึงสิทธิของทุกคนในการก่อตั้งและเข้าร่วมสหภาพแรงงานเพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้นั้น
  2. พรรคการเมืองในทุกระดับมีส่วนในการแสดงออกความประสงค์ทางการเมืองของพลเมืองแห่งสหภาพ

มาตรา 13. เสรีภาพทางด้านศิลป์และวิทยาศาสตร์

การค้นคว้าทางศิลป์และวิทยาศาสตร์จะต้องไม่มีข้อจำกัด เสรีภาพทางวิชาการจะต้องได้รับการเคารพ

มาตรา 14. เสรีภาพทางการศึกษา

  1. ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการศึกษา และเข้าถึงอาวชีวศึกษาและการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง
  2. สิทธินี้รวมความเป็นไปได้ที่จะได้รับการศึกษาภาคบังคับโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
  3. เสรีภาพในการก่อตั้งสถาบันศึกษาซึ่งเคารพหลักการประชาธิปไตย และสิทธิของผู้ปกครองที่จะให้บุตรหลานได้รับการศึกษาการอบรมที่เข้ากับศาสนา ปรัชญา และวิธีการสอนที่ตนเองยอมรับ จักได้รับการเคารพตามกฎหมายชาติที่กำหนดการใช้เสรีภาพและสิทธิดังกล่าว

มาตรา 15. เสรีภาพในการเลือกอาชีพ และสิทธิในการทำงาน

  1. ทุกคนมีสิทธิในการทำงาน และสิทธิในการแสวงหางานอย่างอิสระหรือตอบรับคำเชิญให้ร่วมงาน
  2. พลเมืองทุกคนของสหภาพมีเสรีภาพในการแสวงหางาน ในการทำงาน to exercise the right of establishment and to provide services in any Member State.
  3. พลเมืองของประเทศที่สามที่ได้รับการอนุญาตให้ทำงานในดินแดนของรัฐสมาชิก มีสิทธิทำงานในสภาพแวดล้อมเดียวกันกับพลเมืองของสหภาพ

มาตรา 16. เสรีภาพในการประกอบธุรกิจ

เสรีภาพในการประกอบธุรกิจ ซึ่งสอดคล้องกับกฎหมายชุมชนและกฎหมายหรือข้อปฏิบัติของชาติ ได้รับการับรอง

มาตรา 17. สิทธิทางทรัพย์สิน

  1. ทุกคนมีสิทธิในการเป็นเจ้าของ ใช้ ทิ้ง และ ยกให้ ซึ่งสิ่งของที่ได้ครอบครองอย่างถูกกฎหมาย ห้ามมิริบทรัพย์ของผู้ใด ยกเว้นแต่เพื่อประโยชน์ของสาธารณะ และในกรณีและภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดไว้ในกฎหมาย subject to fair compensation being paid in good time for their loss. การวางระเบียบการใช้ทรัพย์สินกระทำได้เมื่อจำเป็นต่อประโยชน์ของสาธารณะ
  2. ทรัพย์สินทางปัญญาจะต้องได้รับการปกป้อง

มาตรา 18. สิทธิที่จะได้รับที่ลึ้ภัย

สิทธิที่จะได้รับที่ลี้ภัยจักได้รับการปกป้อง ตามบัญญัติแห่งการประชุมที่เจนีวา 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 และพิธีสารเมื่อ 31 มกราคม ค.ศ. 1967 อันเกี่ยวข้องกับสถานะของผู้ลี้ภัย และตามสนธิสัญญาที่ก่อตั้งประชาคมยุโรปขึ้น

มาตรา 19. การคุ้มครองในกรณีที่ถูกย้าย ขับออก หรือส่งข้ามแดนในฐานะผู้ร้าย

  1. การขับออกเป็นกลุ่มจะกระทำมิได้
  2. ห้ามมิให้ผู้ใดต้องถูกย้าย ขับออก หรือส่งข้ามแดนในฐานะผู้ร้าย ไปยังรัฐที่มีความเสี่ยงที่บุคคลผู้นั้นจะถูกตัดสินประหารชีวิต ทรมาน หรือได้รับการปฏิบัติหรือการลงโทษแบบไม่เป็นมนุษย์หรือลดคุณค่า
(สารบัญ)

บท III. ความเสมอภาค[แก้ไข]

มาตรา 20. ความเสมอภาคทางกฎหมาย

ทุกคนมีความเสมอภาคทางกฎหมาย

มาตรา 21. การไม่เลือกปฏิบัติ

  1. การเลือกปฏิบัติทางเพศ เชื้อชาติ ผิวสี ชาติพันธุ์ หรือ สถานภาพทางสังคมที่มีมาโดยกำเนิด, ลักษณะทางพันธุกรรม ภาษา ศาสนาหรือความเชื่อ, ความคิดเห็นทางการเมืองหรือทางด้านอื่น, การเป็นสมาชิกชนกลุ่มน้อยในชาติ, ทรัพย์สิน ชาติกำเนิด ความพิการ อายุ หรือ เพศวิถี จะกระทำมิได้
  1. ภายใต้ขอบเขตของการบังคับใช้สนธิสัญญาที่ก่อตั้งประชาคมยุโรป และสนธิสัญญาเกี่ยวกับสหภาพยุโรป และไม่ลำเอียงต่อข้อกำหนดพิเศษของสนธิสัญญาเหล่านั้น, การเลือกปฏิบัติทางสัญชาติเป็นสิ่งที่ต้องห้าม.

มาตรา 22. ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ศาสนา และภาษา

สหภาพจักต้องให้ความเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรม ศาสนา และภาษา

มาตรา 23. ความเสมอภาคระหว่างบุรุษและสตรี

ความเสมอภาคระหว่างบุรุษและสตรีจะต้องได้รับการปกป้องในทุกด้าน ซึ่งรวมถึงการจ้างงาน การทำงาน และรายได้. หลักการความเสมอภาคนี้จะไม่กีดขวางรักษาหรือมาตรการพิเศษเพื่อเอื้อประโยชน์ให้แก่เพศที่ถูก unrepresented

มาตรา 24. สิทธิเด็ก

  1. เด็กมีสิทธิที่จะได้รับการปกป้องและดูแลรักษาตามความจำเป็นสำหรับสวัสดิภาพของเด็ก. เด็กสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ ความเห็นเหล่านั้นจะต้องได้รับการพิจารณาในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเด็กให้สอดคล้องตามอายุและวุฒิภาวะ.
  2. การกระทำทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับเด็ก ไม่ว่าจะอยู่ในบริบทของหน่วยงานรัฐหรือเอกชน จะต้องคำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นหลัก
  3. เด็กทุกคนจักมีสิทธิที่จะดำเนินความสัมพันธ์ส่วนตัวและการติดต่อทางตรงกับบิดามารดาของเด็กผู้นั้นอย่างสม่ำเสมอ ยกเว้นเสียแต่ว่าจะเป็นผลร้ายกับเด็ก

มาตรา 25. สิทธิผู้สูงอายุ

สหภาพให้การรับรองและการเคารพสิทธิผู้สูงอายุ ที่จะใช้ชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีและเป็นอิสระ และสิทธิในการมีส่วนร่วมทางสังคมและวัฒนธรรม

มาตรา 26. บูรณการของผู้พิการ

สหภาพให้การรับรองและการเคารพสิทธิของผู้พิการ ในการที่จะได้รับประโยชน์จากมาตรการที่ออกแบบเพื่อช่วยให้พวกเขาพึ่งพาตัวเองได้ มีบูรณการทางสังคมและการทำงาน และสิทธิในการมีส่วนร่วมทางชีวิตหรือทางชุมชน

(สารบัญ)

บท IV. ความเป็นปึกแผ่นทางสังคม[แก้ไข]

มาตรา 27. Workers' right to information and consultation within the undertaking

Workers or their representatives must, at the appropriate levels, be guaranteed information and consultation in good time in the cases and under the conditions provided for by Community law and national laws and practices.

มาตรา 28. สิทธิในการร่วมเจรจาต่อรองและเคลื่อนไหว

ผู้ทำงานและลูกจ้าง หรือหน่วยงานของพวกเขา ตามกฎหมายของชุมชนและกฎหมายชาติหรือข้อปฏิบัติชาติ มีสิทธิที่จะเจรจาต่อรองในระดับที่เหมาะสม และในกรณีที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน มีสิทธิที่จะร่วมเคลื่อนไหวเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของพวกเขา ซึ่งรวมถึงการนัดหยุดงาน

มาตรา 29. สิทธิในการเข้าถึงการจัดวางตัวบุคคล

ทุกคนมีสิทธิในการเข้าถึงการจัดวางตัวบุคคลโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

มาตรา 30. การคุ้มครองในกรณีการไล่ออกโดยไม่เป็นธรรม

คนทำงานทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองในกรณีที่โดนไล่ออกอย่างไม่เป็นธรรม ซึ่งให้สอดคล้องกับการปฏิบัติและกฎหมายชุมชนหรือกฎหมายชาติ

มาตรา 31. สภาพแวดล้อมในการทำงานอย่างเป็นธรรม

  1. คนทำงานทุกคนมีสิทธิที่จะทำงานในสภาพแวดล้อมที่ให้ความเคารพสุขภาพ ความปลอดภัย และศักดิ์ศรีของคนทำงานผู้นั้น
  2. คนทำงานทุกคนมีสิทธิได้รับการกำหนดชั่วโมงการทำงานสูงสุด สิทธิได้รับ daily and weekly rest periods และสิทธิในการ to an annual period of paid leave.

มาตรา 32. การห้ามแรงงานเด็กและการปกป้องเยาวชนในสถานทำงาน

  1. The employment of children is prohibited. The minimum age of admission to employment may not be lower than the minimum school-leaving age, without prejudice to such rules as may be more favourable to young people and except for limited derogations.
  2. Young people admitted to work must have working conditions appropriate to their age and be protected against economic exploitation and any work likely to harm their safety, health or physical, mental, moral or social development or to interfere with their education.

มาตรา 33. ชีวิตทางครอบครัวและวิชาชีพ

  1. ครอบครัวจักได้รับการปกป้องทางกฎหมาย เศรษฐกิจ และสังคม
  2. เพื่อที่จะทำให้ชีวิตทางครอบครัวและวิชาชีพปรองดองกัน ทุกคนมีสิทธิได้รับการปกป้องจากการไล่ออกที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ และสิทธิในการได้รับเงินช่วยมารดาและผู้ปกครอง หลังจากให้กำเนิดหรืออุปการะเด็ก

มาตรา 34. การประกันสังคม social assistance

  1. The Union recognises and respects the entitlement to social security benefits and social services providing protection in cases such as maternity, illness, industrial accidents, dependency or old age, and in the case of loss of employment, in accordance with the rules laid down by Community law and national laws and practices.
  2. Everyone residing and moving legally within the European Union is entitled to social security benefits and social advantages in accordance with Community law and national laws and practices.
  3. In order to combat social exclusion and poverty, the Union recognises and respects the right to social and housing assistance so as to ensure a decent existence for all those who lack sufficient resources, in accordance with the rules laid down by Community law and national laws and practices.

มาตรา 35. การรักษาสุขภาพ

ทุกคนมีสิทธิเข้าถึงเวชศาสตร์ป้องกันและมีสิทธิในการได้รับการรักษาทางการแพทย์ ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดโดยกฎหมายและการปฏิบัติของชาติ A high level of human health protection shall be ensured in the definition and implementation of all Union policies and activities.

Article 36. Access to services of general economic interest

The Union recognises and respects access to services of general economic interest as provided for in national laws and practices, in accordance with the Treaty establishing the European Community, in order to promote the social and territorial cohesion of the Union.

มาตรา 37. การปกป้องสิ่งแวดล้อม

การปกป้องสิ่งแวดล้อมระดับสูง และการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม จักต้องรวมอยู่ในนโยบายของสหภาพ และปกป้องตามหลักการพัฒนาแบบยั่งยืน

มาตรา 38. การคุ้มครองผู้บริโภค

นโยบายของสหภาพจักต้องรับรองการคุ้มครองผู้บริโภคระดับสูง

(สารบัญ)

บท V. สิทธิพลเมือง[แก้ไข]

มาตรา 39. สิทธิในการเลือกตั้ง และการสมัครรับเลือกตั้งเข้าสู่สภายุโรป

  1. Every citizen of the Union has the right to vote and to stand as a candidate at elections to the European Parliament in the Member State in which he or she resides, under the same conditions as nationals of that State.
  2. Members of the European Parliament shall be elected by direct universal suffrage in a free and secret ballot.

Article 40. Right to vote and to stand as a candidate at municipal elections

Every citizen of the Union has the right to vote and to stand as a candidate at municipal elections in the Member State in which he or she resides under the same conditions as nationals of that State.

มาตรา 41. สิทธิได้รับการบริหารราชการที่ดี

  1. Every person has the right to have his or her affairs handled impartially, fairly and within a reasonable time by the institutions and bodies of the Union.
  2. ซึ่งสิทธินี้รวมถึง:
    1. the right of every person to be heard, before any individual measure which would affect him or her adversely is taken;
    2. the right of every person to have access to his or her file, while respecting the legitimate interests of confidentiality and of professional and business secrecy;
    3. ความผูกพันของราชการที่จะต้องให้เหตุผลต่อสิ่งที่ตัดสินใจกระทำ
  3. Every person has the right to have the Community make good any damage caused by its institutions or by its servants in the performance of their duties, in accordance with the general principles common to the laws of the Member States.
  4. Every person may write to the institutions of the Union in one of the languages of the Treaties and must have an answer in the same language.

มาตรา 42. สิทธิในการเข้าถึงเอกสาร

พลเมืองใดก็ตามของสหภาพ and any natural or legal person residing or having its registered office in a Member State, มีสิทธิในการเข้าถึงเอกสารของสภายุโรป คณะมนตรี และคณะกรรมการต่าง ๆ

มาตรา 43. ผู้ตรวจการแห่งสหภาพ

พลเมืองทุกคนของสหภาพ และบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ที่มีถิ่นที่อยู่หรือสำนักงานจดทะเบียนในรัฐสมาชิก, มีสิทธิที่จะเข้าถึงผู้ตรวจการแห่งสหภาพในกรณีที่สถาบันหรือหน่วยงานประชาคมบริหารราชการบกพร่อง ยกเว้นเสียแต่จะเกี่ยวกับการพิจารณาคดีของศาลยุติธรรมและศาลชั้นต้น

มาตรา 44. สิทธิในการร้องทุกข์

พลเมืองทุกคนของสหภาพ และบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ที่มีถิ่นที่อยู่หรือสำนักงานจดทะเบียนในรัฐสมาชิก, มีสิทธิที่จะร้องทุกข์ต่อสภายุโรป

มาตรา 45. เสรีภาพในการเดินทางและการพักอาศัย

  1. พลเมืองทุกคนของสหภาพมีสิทธิในการเดินทางและพักอาศัยอย่างเป็นอิสระ ในอาณาเขตของรัฐสมาชิก
  2. เสรีภาพในการเดินทางและการพักอาศัยอาจจะให้แก่ผู้มีสัญชาติประเทศที่สามที่พำนักอาศัยอย่างถูกกฎหมายในอาณาเขตของรัฐสมาชิก ตามสนธิสัญญาก่อตั้งประชาคมยุโรป

มาตรา 46. การคุ้มครองทางทูตและกงศุล

รัฐสมาชิกจักต้องคุ้มครองพลเมืองทุกคนในสหภาพโดยองค์การการทูตหรือกงศุลของรัฐสมาชิก หากพลเมืองนั้นกำลังพำนักอยู่ในประเทศที่สาม อันประเทศของพลเมืองผู้นั้นไม่มีผู้แทนอยู่

เฉกเช่นเดียวกับที่รัฐสมาชิกจะคุ้มครองพลเมืองของตนเอง
(สารบัญ)

บท VI. ความยุติธรรม[แก้ไข]

Article 47. Right to an effective remedy and to a fair trial

  1. Everyone whose rights and freedoms guaranteed by the law of the Union are violated has the right to an effective remedy before a tribunal in compliance with the conditions laid down in this Article.
  2. Everyone is entitled to a fair and public hearing within a reasonable time by an independent and impartial tribunal previously established by law. Everyone shall have the possibility of being advised, defended and represented.
  3. Legal aid shall be made available to those who lack sufficient resources in so far as such aid is necessary to ensure effective access to justice.

มาตรา 48. การสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์และสิทธิในการต่อสู้คดี

  1. ผู้ถูกกล่าวหาทุกคนจักถูกสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่ามีความผิดตามกฎหมาย
  2. การเคารพสิทธิในการต่อสู้คดีของผู้ถูกกล่าวหาทุกคนจักได้รับการรับรอง

มาตรา 49. หลักความชอบด้วยกฎหมาย และความเหมาะสมของโทษต่อความผิดอาญา

  1. ห้ามมิให้ผู้ใดจะต้องถูกตัดสินว่ากระทำความผิดอาญา เมื่อสิ่งที่กระทำหรือละเว้นนั้นไม่ถูกจัดว่าเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายชาติหรือกฎหมายนานาชาติในเวลาที่ได้กระทำ และห้ามมิให้กำหนดโทษเพิ่มเติมจากโทษเดิมที่กระทำความผิดอาญานั้น และถ้าหากว่ากฎหมายลดโทษลงภายหลังที่กระทำความผิดอาญานั้น ให้ตัดสินโดยใช้โทษนั้น
  2. มาตรานี้จะไม่ลำเอียงต่อการพิจารณาคดีและการลงโทษบุคคลที่กระทำหรือละเว้น, ที่ขณะนั้นได้เกิดขึ้น, เป็นความผิดตามหลักการทั่วไปที่ประชาคมโลกให้การยอมรับ
  3. อัตราโทษจะต้องได้สัดส่วนกับความผิดอาญา

มาตรา 50. Right not to be tried or punished twice in criminal proceedings for the same criminal offence

No one shall be liable to be tried or punished again in criminal proceedings for an offence for which he or she has already been finally acquitted or convicted within the Union in accordance with the law.

(สารบัญ)

บท VII. บัญญัติทั่วไป[แก้ไข]

มาตรา 51. ขอบเขต

  1. The provisions of this Charter are addressed to the institutions and bodies of the Union with due regard for the principle of subsidiarity and to the Member States only when they are implementing Union law. They shall therefore respect the rights, observe the principles and promote the application thereof in accordance with their respective powers.
  2. This Charter does not establish any new power or task for the Community or the Union, or modify powers and tasks defined by the Treaties.

มาตรา 52. ขอบเขตของสิทธิที่รับรอง

  1. Any limitation on the exercise of the rights and freedoms recognised by this Charter must be provided for by law and respect the essence of those rights and freedoms. Subject to the principle of proportionality, limitations may be made only if they are necessary and genuinely meet objectives of general interest recognised by the Union or the need to protect the rights and freedoms of others.
  2. Rights recognised by this Charter which are based on the Community Treaties or the Treaty on European Union shall be exercised under the conditions and within the limits defined by those Treaties.
  3. In so far as this Charter contains rights which correspond to rights guaranteed by the Convention for the Protection of Human Rights and Fundamental Freedoms, the meaning and scope of those rights shall be the same as those laid down by the said Convention. This provision shall not prevent Union law providing more extensive protection.

มาตรา 53. ระดับการคุ้มครอง

ไม่มีสิ่งใดในกฎบัตรนี้ที่จะถูกตีความไปได้ว่าบัญญัติไว้เพื่อจำกัดหรือ adversely affecting human rights and fundamental freedoms as recognised, in their respective fields of application, by Union law and international law and by international agreements to which the Union, the Community or all the Member States are party, including the European Convention for the Protection of Human Rights and Fundamental Freedoms, and by the Member States' constitutions.

มาตรา 54. ข้อห้ามการละเมิดสิทธิ

Nothing in this Charter shall be interpreted as implying any right to engage in any activity or to perform any act aimed at the destruction of any of the rights and freedoms recognised in this Charter or at their limitation to a greater extent than is provided for herein.

(สารบัญ)

เชิงอรรถ[แก้ไข]

© สหภาพยุโรป, http://eur-lex.europa.eu/, ค.ศ. 1998–2024
กฎหมายฉบับนี้สามารถนำไปใช้ซ้ำได้ ตราบที่แนบคำประกาศข้างต้นเอาไว้ด้วย ทั้งนี้ ตามคำวินิจฉัยของคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป ลงวันที่ 12 ธันวาคม ค.ศ. 2011 ดังที่ระบุไว้ในลิงก์นี้