ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1/เล่ม 1/เรื่อง 2
- 1
นตฺวา พุทฺธํ โลกาทิจฺจํ ธมฺมญฺจาทิจฺจมณฺฑลํ |
---|
จกฺขุมาปุริสํ สํฆนฺตรายํ เตน ฆาฏยึ |
วิฆาติตนฺตรายสฺส โสตฺถิ เม โหตุ สพฺพทา |
ยญฺ จ โลกหิตํ สตฺถํ ธมฺมสตฺถนฺ ติ ปากฏํ |
ภาสิตํ มนุสาเรน มูลภาสาย อาทิโต |
ปรมฺปราภตํ ทานิ รามญฺเญสุ ปติฏฺฐิตํ |
รามญฺญสฺส จ ภาสาย ทุคฺคาฬฺหํ ปุริเสนิห |
ตสฺมา ตํ สามภาสาย รจิสฺสนฺ ตํ สุณาถ เม ติ |
อหํ อันว่าข้า นตฺวา ถวายนมัศการแล้ว พุทฺธํ ซึ่ง |
สมเดจ์พระพุทธิเจ้าอันตรัสรู้พระอริยสัจ ๔ โลกาทิจฺจํ อันยัง |
โลกยทังสามให้สว่างดูจดวงพระอาทิตยอันส่องโลกย ธมฺมํจ |
ซึ่งพระโลกุดรธรรม ๙ ปรการ ๑๐ กับพระบริยัติก็ดี อาทิจฺจ |
มณฺฑลํ อันมีบริมณทลแห่งพระคุณปรดูจบริมณทลแห่งพระ |
อาทิตย สํฆญฺจ ซึ่งพระอัษฎาริยสงฆแลสมมุติสงฆก็ดี |
จกฺขุมาปุริสํ อันเปนอาริยสัปรุษยผู้มีญาณจักษุ วิฆาฏยึ ขจัด |
แล้ว อนฺตรายํ ซึ่งอันตราย เตน รตนตฺตยปฺปณามานุภาเวน |
ด้วยอานุภาพแห่งประนามซึ่งพระรัตนไตรนั้น โสตฺถิ อันความ |
ศิริสวัสดิ โหตุ จงมี เม แก่เรา วิฆาติตนฺตรายสฺส อันมี |
อันตรายอันปรนามพระรัตนไตรขจัดแล้ว สพฺพทา ในกาลทัง |
ปวง ยญฺจ สตฺถํ อันว่าคำภีรอันใด โลกหิตํ เปนปรโยชนแก่ |
สัตวโลกย ปากฏํ ปรากฎิ ธมฺมสตฺถํ อิติ ชื่อว่าคำภีรพระ |
ธรรมสาตร มนุสาเรน อันพระมโนสารฤๅษี ภาสิตํ กล่าว |
อาทิโต ในต้น มูลภาสาย ด้วยมคธภาษา ปรมฺปราภตํ อัน |
ปรำปราจารยนำสืบกันมา ปติฏฺฐิตํ ตั้งอยู่ รามญฺเญสุ ในรา |
มัญปรเทษ ภาสาย ด้วยภาษา รามญฺญสฺส จ แห่งรามัญก็ดี |
อิทานิ ในกาลบัดนี้ ปุริเสน อันบุรุษผู้เปนวินิจฉัยอำมาตย |
ทุคฺคาฬฺหํ จะยังรู้เปนอันยาก อิห สามเทเส ในสยามปรเทษนี้ |
ตสฺมา เหดุดั่งนั้น อหํ อันว่าข้า รจิสฺสํ จักตกแต่ง ตํธมฺม |
สตฺถํ ซึ่งคำภีร์พระธรรมสาตรนั้น สามภาสาย ด้วยสยาม |
ภาษา ตุมฺเห อันว่าท่านทังหลาย สุณาถ จงฟัง ตํ สตฺถํ ซึ่ง |
คำภีร์พระธรรมสาตรนั้น สนฺติกา แต่สำนักนิ เม แห่งเรา |
- 2
ตตฺรายมนุปุพพิกถา อยํ อนุปุพฺพิกถา อันว่ากล่าวแต่ |
ต้นให้เปนลำดับไปนี้ ปณฺฑิเตน อันนักปราช![]() |
เวทิตพฺพา พึงรู้ ตตฺร ธมฺมสตฺเถ ในคำภัร์พระธรรมสาตรนั้น |
อิติ ด้วยปรการอันกล่าวไปนี้ |
กิร ดั่งจได้ฟังมา ในปถมกัลปแรกตั้งแผ่นดินนั้น มีกำแพง |
จักรวาฬ แลเฃาพระสุเมรุราช แลสัตะปะริภัณทะบรรพตทัง |
๗ ทวีปใหญ่ ๔ ทวีปน้อย ๒๐๐๐ มหาสมุท ๔ แลไม้ใหญ่ |
ประจำที่ทัง ๗ คือ ศิริศะพฤกษอันประจำในบุพวิเท่หะ แลไม้ |
กระทุ่มประจำในอะมระโคญานะ แลไม้กรรมพฤกษประจำ |
ทวีปอุดรกาโร แลไม้หว้าประจำชมภูทวีป แลไม้แคฝอย |
ประจำในอสูระพิภพ แลไม้งิ้วประจำทวีปสุบรรณราชพิภพ |
แลไม้ปาริกะชาติอยู่ในดาวดิงษาสวรรค แลในปถมกัลป |
เกีดกอบัวมีดอกห้า บอกสัญานิมิตรอันจะอุบัติแห่งสมเดจ์ |
พระพุทธิเจ้าทังห้าพระองคอันจได้ตรัสในพัทกัลปนิ้ แล |
พรหมทังปวงหอมอายดินลงมากินพะสุธารศ ครั้นนานมา ทิพย |
ระสาหารก็อันตระธานถอยรศ รูปทิพยที่ปรากฎิก็เสี่อมลง ๆ |
มิได้คงโดยเพศวิไสยพรหม ครั้นนานมา ก็บริโภคชาติษาลีเปน |
อาหาร สรรพะอันตระธานเสี่อมสิ้น ศักดาเดชเพศพรหมก็ |
หาย กลายเปนเพศบุรุษเพศษัตรี บังเกีดมีฉรรทราค ส้องเสพย |
อัศธรรม เกีดบุตรนัดดาสืบสืบกันมา แล้วจึ่งตั้งเปนคาม |
เขตเคหา ในที่สานุทิศประเทศต่างต่าง |
- 3
ครั้งนั้น สมเดจ์พระบรมโพธิสัตวเจ้าได้มาบังเกีดเปน |
พระมหาบุรุษในต้นพัทกัลป ครั้นอยู่มา ก็เกีดวิวาทแก่กัน |
หาผู้ใดจบังคับบัญชามิได้ ฝูงชนทังหลายมาสะโมสรประชุม |
พร้อมกัน จึ่งตั้งสมเดจ์พระมหาบุรุษราชเจ้าขึ้นเปนอธิบดี |
มีพระนามกรชื่อว่า พระเจ้ามหาสมมุติราช กอบไปด้วยสัตะ |
พิธรัตน ๗ ปรการได้ผ่านทวีปทัง ๔ |
แลอยู่มา เกีดพระราชกุมาร ๔ พระอง แลเชษฐโอรส |
นั้นได้เสวยราชสมบัติในชมภูทวีป แลพระราชกุมารองคหนึ่ง |
เสวยราชสมบัติในอุดรกาโร แลพระราชกุมารองคหนึ่งได้ |
เสวยราชสมบัติในอมรโคญาณ แลพระราชกุมารองคหนึ่ง |
|- |นั้นเสวยราชสมบัติในบุพวิเท่หะ แลพระราชกุมารทั้ง๔พระ |- |องค์ก็ย่อมเหาะมาเฝ้าพระราชบิดาทุกๆวัน |- | ครั้นนานมาพระราชบิดานั้นชิวงคต แลพระราชกุมาร |- |ทัง๔พระองคก็ต่างองคต่างอยู่ ย่อมมีไม้ตรีจิตไปมาหากัน |- |ครั้นนานมาๆ ต่างองคต่างนานไปมา ทางพระราชไม้ตรี |- |สำพันทญาติก็ค่อยขาดสูญไปตราบเท้าทุกวันนี้ |- | พระเชษฐาธิราขผู้เสวยราชสมบัติในชมพูทวีปนั้น ก็ |- |มีพระราชกุมารสิบพระองค แลในชมพูทวีปแบ่งเปนสิบเอ็ด |- |ส่วนๆ หนึ่งพระองคอยู่ สิบส่วนนั้นให้พระราชโอรสอยู่องค |- |ลส่วน พระราชกุมารผู้ใหญ่นั้นเปนมหาอุปราช อยู่จำเนียร |- |นานมาพระราชบิดาถึงชิวงคต พญาอุปราชก็ได้เสวยราช |- |สมบัติแทนพระบิดานั้น แลพระราชกุมารทัง๑๐พระองค |- |ก็ไปมาหากันเป็นนิจ ครั้นนานมาพระราชกุมารทังปวงมิได้ไป |- |มาหากันต่างองคต่างอยู่ แลอยู่มาพระนัดดาพญามหาสมมุติ |- |ราชทัง๑๐พระองค มีพระราชกุมารองคละสิบพระองคเล่า |- |แลพระเชษฐกุมารนั้นตั้งเปนอุปราช แลกุมารอันดัพนั้นก็แต่งให้ |- |เสวยราชในประเทศต่างๆกัน ครั้นนานมาพระราชบิดาถึง |- |ชิวงคต แลพญาอุปราชได้มุรธาภิเศกเอกะราชสมบัติแทน |- |พระราชบิดา ก็ยังไปมาหากันเปนนิจ แลพระมหากระษัตร |- |ทังร้อยเอ็ดพระองคนั้นเปนสำพันทญาติราชสุริวงษเดียวกัน |- |ครั้นนานมาต่างองคต่างทรงพระชะราภาพ จะไปมาหากันนั้น |- |มิได้ต่างองคต่างใช้ให้แต่มหาอำมาตไปมาจำทูลทางพระราช |- |}</noinclude>หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/23หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/24หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/25หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/26หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/27หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/28หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/29หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/30หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/31หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/32หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/33หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/34หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/35หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/36หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/37หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/38หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/39หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/40หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/41หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/42หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/43หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/44หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/45 |- |เลื่องชื่อฦๅนามในสำนักนิพระมหากระษัตรพึง[2] ตั้งตนไว้ให้ |- |พระองควางพระไทยต่างพระเนตรพระกรรณ์ ด้วยมีสันดาน |- |อันซื่อ แลตั้งอยู่ในศีล ๕ ประการ ศีล ๘ ประการ แลวะจี |- |สัจสุริต คิดกลัวบาปละอายบาปเปนหิริโอตัปธรรมโลกย |- |บาลราศรี มีศรัทธาเชื่อผลศีลผลทานการกุศลแลคุณพระศรี |- |รัตนไตรย ปวตฺตยนฺโต สกโล ปิ นิจฺจํ พึงตั้งเมตตาจิตรเปนบุเร |- |จาริกในสัตวทังปวง แลมีกะตัญุตาสวามีภักดิจงรักษในพร |- |มหากระษัตรซึ่งเปนจ้าวแห่งตน อันทรงบำเพญผลโพทธิญาณ |- |สิกฺเขยฺยมีมํ มหาตา คุเณน เมื่อมีสันดานจิตรคิดถึงพระเดชพระ |- |มหากระษัตรดั่งนี้แล้ว พึงอุสาหะศึกสาเล่าเรียนให้รอบรู้ ดู |- |แลเอาใจใส่ในคำภีรพระธรรมสาตร อันอาจให้มีคุณวิเสศ คือ |- |เปนพระเนตรแห่งพระมหากระษัตร จะได้ตัดข้อคดีแห่ง |- |อนาประชาราษฎรในขอบเขตขันทเสมาพระราชอาณาจักรให้ |- |ปราศจากหลักตอเสี้ยนหนาม คือ ความมูลวิวาทแห่งพาล |- |ชาติบุทคลอันมีสันดานเปนทุจริต ให้เปนหิตานุหิตประโยชน์ |- |สิ้นมูลวิวาททุกข ประกอบศุขสถาพรเกษมสารในกาลทุกเมื่อ |- |}