ข้ามไปเนื้อหา

พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา/ภาค 3

จาก วิกิซอร์ซ
ตราของกรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
ตราของกรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
พระราชพงษาวดาร
ฉบับพระราชหัดถเลขา
ภาค ๓

ตราของกรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
ตราของกรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์
กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
พิมพ์ขึ้นเปนส่วนพระกุศลทานมัยในงานพระศพ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ (ชั้น ๓) กรมหลวงวรเสฐสุดา
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค
กรมขุนอรรควรราชกัญญา
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร
กรมขุนพิจิตรเจษฎจันทร์
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล
กรมขุนสวรรคโลกย์ลักษณวดี

สารบานเรื่อง
ระหว่างจลาจล จุลศักราช ๑๑๒๙–๑๑๓๐
พระยากำแพง (สิน) ลงไปตั้งที่เมืองระยอง
น่า
พระยากำแพง (สิน) ประกาศตั้งตัวเปนเจ้า
ไพร่พลเรียกพระยากำแพง (สิน) ว่าเจ้าตาก
ขุนราม หมื่นซ่อง กับกรมการเมืองระยอง เข้าปล้นทัพเจ้าตาก
เจ้าตากรบชนะพวกกรมการเมืองระยอง
เจ้าตากเกลี้ยกล่อมพระยาจันทบุรี
พม่าเรียกต้นไม้ทองเงินเมืองจันทบุรี
เจ้าตากจับหลวงบางลมุงผู้ถือหนังสือของพม่าได้
เจ้าตากให้ไปขอกองทัพเมืองพุทไธมาศ
พระยาราชาเศรษฐีญวนเมืองพุทไธมาศรับจะช่วยเจ้าตาก
เจ้าตากยกมาเมืองชลบุรี
เจ้าตากตั้งนายทองอยู่น้อยเปนเจ้าเมืองชลบุรี
เจ้าตากกลับไปเมืองระยอง
๑๐
พระยาจันทบุรีคิดอุบายจะจับเจ้าตาก
๑๑
เจ้าตากยกไปเมืองจันทบุรี
๑๑
พระยาจันทบุรีอุบายลวงเจ้าตากให้เข้าเมือง
๑๒
เจ้าตากรู้เท่า ไม่เข้าเมืองจันทบุรี
๑๒
เจ้าตากตีเมืองจันทบุรี
๑๓
เจ้าตากได้เมืองจันทบุรี
น่า
๑๔
เจ้าตากตั้งขุนนาง
๑๔
เจ้าตากยกไปเมืองตราด
๑๔
เจ้าตากตีได้สำเภาจีนที่เมืองตราด
๑๕
เจ้าตากกลับมาตั้งต่อเรือรบที่เมืองจันทบุรี
๑๕
พระนายกองตามพบพระเจ้าแผ่นดิน
๑๖
พระเจ้าแผ่นดินสวรรคต
๑๖
ฝังพระศพพระเจ้าแผ่นดิน
๑๖
บ้านเมืองเกิดจลาจลทั่วไป
๑๖
พระราชวงษ์ที่ยังเหลืออยู่
๑๗
นายสุจินดา (กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท) ไปพึ่งเจ้าตาก
๑๗
เจ้าตากตั้งนายสุจินดาเปนพระมหามนตรี
๑๘
เจ้าพระยาพิศณุโลก (เรือง) ตั้งตัวเปนเจ้า
๑๘
พระสังฆราชา (มหาเรือน) ตั้งตัวเปนเจ้าพระฝาง
๑๘
เจ้าพระฝางตีเมืองพิศณุโลกไม่ได้
๑๙
หลวงนายสิทธิ์ตั้งตัวเปนเจ้านครศรีธรรมราช
๑๙
กรมหมื่นเทพพิพิธได้เมืองนครราชสิมา
๑๙
หลวงแพ่งกับพระพิมายตีเมืองนครราชสิมา
๒๑
หลวงแพ่งกับพระพิมายจับกรมหมื่นเทพพิพิธได้
๒๑
พระพิมายขอเอากรมหมื่นเทพพิพิธไปไว้เมืองพิมาย
๒๑
พระพิมายยกกรมหมื่นเทพพิพิธขึ้นเปนเจ้าพิมาย
๒๒
เจ้าตากเตรียมทัพจะยกเข้ามารบพม่าที่กรุงเก่า
น่า
๒๓
เจ้าตากยกทัพเรือจากเมืองจันทบุรี
๒๔
เจ้าตากตีได้เมืองธนบุรี
๒๕
เจ้าตากตีได้ค่ายพม่าโพธิ์ ๓ ต้น พระนายกองตายในที่รบ
๒๕
เจ้าตากเลียบค่ายโพธิ์ ๓ ต้น
๒๖
เจ้าตากเข้าไปตั้งอยู่ในพระนคร
๒๖
เจ้าตากถวายพระเพลิงพระศพพระเจ้าแผ่นดิน
๒๖
เจ้าตากทรงพระสุบินว่า พระเจ้าแผ่นดินแต่ก่อนขับไล่
๒๗
เจ้าตากลงมาตั้งเมืองธนบุรีเปนราชธานี
๒๗
แผ่นดินพระเจ้ากรุงธนบุรี
จุลศักราช ๑๑๓๐–๑๑๔๔
เจ้าตากขึ้นเสวยราชย์ณกรุงธนบุรี
น่า
๒๗
ให้แจกอาหารคนที่อดโซทั่วไป
๒๘
ตั้งข้าราชการ
๒๘
จัดการปกครองหัวเมือง
๒๘
พระมหามนตรีไปรับหลวงยกรบัตรเมืองราชบุรี (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) เข้ามารับราชการ ได้เปนพระราชวรินทร์
๒๘
พระเจ้าอังวะให้เจ้าเมืองทวายคุมกองทัพเข้ามาตรวจการ
๒๘
กองทัพพม่าล้อมค่ายจีนที่บางกุ้งเมืองสมุทสงคราม
๒๙
เสด็จยกทัพหลวงไปตีพม่าแตกหนี
๒๙
ตั้งพระอาจารย์วัดประดู่เปนสมเด็จพระสังฆราช
น่า
๓๐
ตั้งโรงทานเลี้ยงคนโซ
๓๑
เสด็จยกทัพหลวงไปตีเมืองพิศณุโลก
๓๑
ถูกปืนข้าศึกที่พระชงฆ์ ต้องกลับ
๓๑
เสด็จไปตีเมืองนครราชสิมา
๓๑
ให้พระมหามนตรี พระราชวรินทร์ ตีด่านขุนทด
๓๑
ทัพหลวงตีด่านจอหอ
๓๒
ตีได้ด่านจอหอ
๓๒
ตีได้ด่านขุนทด พระยาวรวงษาข้าศึกหนีไปเมืองเสียมราบ
๓๒
พระมหามนตรี พระราชวรินทร์ ตามไปตีได้เมืองเสียมราบ
๓๒
เจ้าพิมายหนี
๓๒
ขุนชนะจับเจ้าพิมายมาถวาย
๓๒
เลื่อนพระราชวรินทร์เปนพระยาอภัยรณฤทธิ์ พระมหามนตรีเปนพระยาอนุชิตราชา
๓๓
เจ้าพิศณุโลกพิราไลย
๓๓
เจ้าพระฝางตีได้เมืองพิศณุโลก
๓๓
พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตถวายพระราชธิดาแก่พระเจ้าอังวะ
๓๔
สมเด็จพระสังฆราช (ดี) มีอธิกรณ์ ต้องสึก
๓๔
เมืองหล่มศักดิ์สวามิภักดิ์
๓๕
ได้ข่าวว่าญวนเมืองพุทไธมาศจะเข้ามาตีกรุง
๓๕
ราชวงษ์กรุงเก่าที่มาอยู่กรุงธนบุรี
๓๖
เจ้าอุบล เจ้าฉิม เปนชู้กับมหาดเล็ก
๓๖
ตั้งพระชนนีเปนกรมพระเทพามาตย์
น่า
๓๖
ตั้งพระมเหษีเดิมเปนกรมหลวงบาทบริจาริกา
๓๖
ตั้งเจ้าราชนิกูล
๓๖
นักองค์ตนพาญวนมาตีกรุงกัมพูชา
๓๗
นักพระรามาธิบดีเจ้ากรุงกัมพูชาหนีเข้ามาสวามิภักดิ์
๓๗
ให้พระยาอภัยรณฤทธิ์ พระยาอนุชิราชา ยกไปตีกรุงกัมพูชาทางเมืองนครราชสิมา
๓๗
ให้พระยาโกษาธิบดีไปตีกรุงกัมพูชาทางเมืองปาจิณบุรี
๓๗
เมืองชุมพร เมืองไชยา สวามิภักดิ์
๓๗
ทัพกรุงธนบุรีรบทัพนครศรีธรรมราชที่ท่าหมาก
๓๘
ทัพกรุงธนบุรีถอยมาอยู่เมืองไชยา
๓๘
เสด็จยกทัพหลวงทางเรือไปตีเมืองนคร
๓๘
ทัพหลวงถูกพยุที่บางทลุ
๓๙
ทัพหลวงถึงเมืองไชยา
๓๙
ให้เจ้าพระยาจักรี พระยาพิไชยราชา เปนทัพบก เสด็จทัพหลวงทางเรือไปเมืองนครศรีธรรมราช
๓๙
ทัพบกตีทัพนครศรีธรรมราชแตก
๔๐
ทัพหลวงตีเมืองนครศรีธรรมราช
๔๐
เจ้านครทิ้งเมืองหนี
๔๐
ได้เมืองนคร
๔๐
เจ้านครหนีไปเมืองตานี
๔๑
เสด็จยกทัพหลวงตามเจ้านครไปถึงเมืองสงขลา
น่า
๔๑
พระยาตานีส่งเจ้านครกับพรรคพวกมาถวาย
๔๑
เสด็จกลับมาเมืองนครศรีธรรมราช
๔๑
ปฏิสังขรณ์วัดพระมหาธาตุ
๔๒
ตั้งเจ้านราสุริวงษ์ครองเมืองนครศรีธรรมราช
๔๒
ยืมพระไตรปิฎกเมืองนครเข้ามาจำลอง
๔๒
เสด็จกลับกรุงธนบุรี
๔๓
ตั้งพระอาจารย์ศรีวัดพระเจ้าพแนงเชิงเปนสมเด็จพระสังฆราช
๔๓
พระยาอภัยรณฤทธิ์ พระยาอนุชิตราชา ตีได้เมืองเสียมราบ
๔๓
พระยาโกษาธิบดีได้เมืองปัตบอง
๔๓
พระยาอภัยรณฤทธิ์ พระยาอนุชิตราชา รบนักพระองค์ตนในทเลสาบ
๔๓
พระยาอภัยรณฤทธิ์ พระยาอนุชิตราชา ได้ยินข่าวฦๅว่าสวรรคตที่เมืองนคร ยกทัพกลับ
๔๓
พระยาอนุชิตราชาแก้กระทู้ตามจริง พ้นพระราชอาญา
๔๔
ให้หากองทัพกลับจากกรุงกัมพูชา
๔๕
เจ้าพระฝางให้ลงมาตีเมืองอุไทยธานี เมืองไชยนาท
๔๕
เลื่อนพระยาอนุชิตราชาเปนพระยายมราช
๔๕
ให้พระยายมราช พระยาพิไชยราชา เปนทัพน่าไปปราบเจ้าพระฝาง
๔๕
เสด็จยกทัพหลวงขึ้นไปเมืองเหนือ
๔๕
เข้าแพงต้องซื้อเข้าต่างประเทศจ่ายเปนเสบียง
๔๖
แขกเมืองตรังกานู เมืองยักตรา ถวายปืนคาบศิลา
๔๖
ทัพหลวงถึงปากพิง
น่า
๔๖
ทัพน่าตีได้เมืองพิศณุโลก
๔๖
เสด็จเข้าเมืองพิศณุโลก
๔๖
น้ำเหนือขึ้น
๔๗
ทัพน่าล้อมเมืองสวางคบุรี
๔๗
ช้างพังเผือกเกิดในเมืองสวางคบุรี
๔๗
เจ้าพระฝางหนี
๔๗
ทัพกรุงธนบุรีได้เมืองสวางคบุรี
๔๘
เสด็จยกทัพหลวงขึ้นไปเมืองสวางคบุรี
๔๘
ตามได้ช้างพังเผือก
๔๘
เสด็จขึ้นไปถึงตำบลน้ำมืด
๔๘
จัดตั้งด่านชั้นนอก
๔๘
เสด็จกลับมาประทับค่ายหาดสูง
๔๙
เมืองตานีถวายต้นไม้ทองเงิน
๔๙
เมืองยักตราถวายปืนใหญ่
๔๙
ชำระพระอลัชชีพวกเจ้าพระฝาง
๔๙
พิสูตรพระสงฆ์เมืองเหนือ
๔๙
ตั้งพระราชาคณะไปอยู่ตามหัวเมืองเหนือ
๕๑
เก็บพระไตรปิฎกเมืองเหนือมาเปนฉบับ
๕๑
เสด็จไปสมโภชพระมหาธาตุพระฝาง
๕๑
เสด็จไปสมโภชพระแท่นศิลาอาศน์
๕๑
เสด็จไปสมโภชพระมหาธาตุเมืองสวรรคโลก
๕๑
เสด็จกลับมาเมืองพิศณุโลก
น่า
๕๑
ตั้งพระยายมราชเปนเจ้าพระยาสุรสีห์ครองเมืองพิศณุโลก
๕๑
ตั้งพระยาพิไชยราชาเปนเจ้าพระยาสวรรคโลก
๕๒
ตั้งเจ้าเมืองฝ่ายเหนือ
๕๒
ตั้งพระยาอภัยรณฤทธิ์เปนพระยายมราชที่สมุหนายก
๕๒
รับช้างเผือกพังมากรุงธนบุรี
๕๒
อาปกามนีโปมยุง่วนเปนเจ้าเมืองเชียงใหม่
๕๒
โปมยุง่วนยกมาตีเมืองสวรรคโลก
๕๒
ทัพหัวเมืองเหนือตีพม่าแตก
๕๒
เสด็จยกทัพหลวงไปตีเมืองเชียงใหม่ ครั้งที่ ๑
๕๓
ทัพหลวงถึงเมืองพิไชย
๕๓
พระยาแพร่มังไชยมาสวามิภักดิ์ ตั้งเปนพระยาศรีสุริยวงษ์
๕๓
ทัพหลวงขึ้นเดินบก
๕๓
กองทัพกันดารน้ำ ทำพิธีขอฝน
๕๔
ทัพหลวงถึงเมืองลำพูน
๕๔
โปมยุง่วนตั้งค่ายรับนอกเมืองเชียงใหม่
๕๔
ทัพน่าตีได้ค่ายพม่าแตกนหนีเข้าเมือง
๕๕
ทัพหลวงถึงเมืองเชียงใหม่
๕๕
ปล้นเมืองเชียงใหม่ไม่ได้
๕๕
เลิกทัพหลวงกลับกรุง
๕๕
พม่ายกตามตี
๕๕
ตีพม่าแตกหนีกลับไป
๕๕
เจ้านครหลวงพระบาง (วงษ์) ยกมาตีเมืองเวียงจันท์
น่า
๕๖
พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต (บุญสาร) ขอกองทัพพม่าช่วย
๕๖
พระเจ้ามังระให้โปสุพลายกมาตีเมืองหลวงพระบาง
๕๖
เมืองหลวงพระบางยอมขึ้นพม่า
๕๖
พระเจ้ามังระให้โปสุพลามาช่วยรักษาเมืองเชียงใหม่
๕๖
ทัพจีนฮ่อตีได้เมืองแสนหวี
๕๖
พม่าทำศึกกับฮ่อ
๕๖
พม่ายอมเปนไมตรีกับฮ่อ
๕๗
ขุดคูเมืองแลทำกำแพงกรุงธนบุรีทั้งสองฟากแม่น้ำ
๕๗
รื้อกำแพงเมืองพระประแดง
๕๘
ให้ชื่อป้อมท้ายวังว่า ป้อมวิไชยประสิทธิ
๕๘
เกลี่ยที่สวนรอบเมืองเปนที่ทุ่งนา เรียกว่า ทเลตม
๕๘
เตรียมทัพยกไปตีกรุงกัมพูชา
๕๘
ตั้งพระยายมราชเปนเจ้าพระยาจักรี
๕๙
เจ้าพระยาจักรีเปนแม่ทัพบกไปตีเมืองปัตบอง เมืองโพธิสัตว
๕๙
เสด็จทัพเรือเปนทัพหลวง
๕๙
ทัพหลวงเสด็จถึงเมืองพุทไธมาศ
๕๙
ตีได้เมืองพุทไธมาศ
๖๐
ทัพหลวงถึงเกาะพนมเพ็ญ
๖๒
เจ้าพระยาจักรีได้เมืองพุทไธเพ็ชร ราชธานีกรุงกัมพูชา
๖๒
องค์ตนหนีไปเมืองญวน
๖๒
มอบกรุงกัมพูชาแก่นักพระรามาธิบดี
๖๓
ทัพพระยาโกษาธิบดีได้เมืองกระพงโสม พระยาปังกลิมา แขกจามเจ้าเมืองกำปอด ยอมสวามิภักดิ์
น่า
๖๓
เจ้าพระยาจักรีได้เมืองบาพนม
๖๓
เสด็จยกทัพหลวงกลับเมืองพุทไธมาศ
๖๓
พระราชทานโอวาทแก่หลวงญวน
๖๔
เสด็จยกทัพหลวงกลับกรุงธนบุรี
๖๔
พระยาราชาเศรษฐีญวนกลับมาชิงเมืองพุทไธมาศ
๖๔
พระยาปังกลิมาช่วยไทยตีได้เมืองพุทไธมาศคืน
๖๔
รับสั่งให้ทิ้งเมืองพุทไธมาศ
๖๕
ให้หากองทัพเจ้าพระยาจักรีกลับ
๖๕
โปสุพลายกมาตีเมืองพิไชย ครั้งที่ ๑
๖๕
เจ้าพระยาสุรสีห์ขึ้นไปช่วยตีพม่าแตกหนีไป
๖๕
ศักเลข
๖๕
โปสุพลายกมาตีเมืองพิไชย ครั้งที่ ๒
๖๖
พระยาพิไชยฟันพม่าจนดาบหัก
๖๖
เจ้าพระยาสุรสีห์ยกไปช่วยตีพม่าแตก ครั้งที่ ๒
๖๖
เสด็จยกทัพหลวงไปตีเมืองเชียงใหม่ ครั้งที่ ๒
๖๖
ทัพหลวงถึงเมืองตาก
๖๗
ให้เจ้าพระยาจักรีเปนทัพน่ายกไปตั้งเมืองเถิน
๖๗
พระเจ้ามังระเตรียมทัพพม่าจะมาตีเมืองไทย
๖๗
พม่าเกณฑ์มอญเมืองเมาะตมะให้ปลูกยุ้งฉางรายทาง
๖๗
มอญเดือดร้อน เปนขบถ ตีได้เมืองเมาะตมะ
๖๗
มอญขบถขึ้นไปตีได้เมืองจิตตอง เมืองหงษาวดี
น่า
๖๘
มอญขบถตีเมืองย่างกุ้งแพ้พม่า
๖๘
มอญอพยพหนีพม่าเข้ามาเมืองไทยหลายทาง
๖๘
ครัวมอญที่เข้าทางด่านเมืองตากเข้าเฝ้าที่บ้านระแหง
๖๘
ให้พระยายมราชออกไปตั้งค่ายรับครัวมอญที่ท่าดินแดง กาญจนบุรี
๖๙
ทัพหลวงถึงเมืองลำพูน
๖๙
โปสุพลาให้พระยาจ่าบ้าน พระยากาวิละ ชาวเชียงใหม่ เปนทัพน่ามารบไทย
๖๙
พระยาจ่าบ้าน พระยากาวิละ เข้าสวามิภักดิ์ต่อเจ้าพระยาจักรี
๗๐
โปสุพลาถอยทัพกลับไปรักษาเมืองเชียงใหม่
๗๐
เจ้าพระยาจักรีตีทัพพม่ารายทางแตกจนถึงเมืองเชียงใหม่
๗๐
เจ้าพระยาจักรีล้อมเมืองเชียงใหม่
๗๐
ได้ข่าวพม่ายกตามครัวมอญเข้ามาทางด่านเมืองตาก
๗๐
ให้เจ้ารามลักษณยกไปรบพม่าทางเมืองตาก
๗๑
พระเสมียนตราเมืองสวรรคโลกเกลี้ยกล่อมคนเข้าเมืองลำพูน
๗๑
ครัวมอญเข้ามาถึงเมืองตาก
๗๑
ให้หากองทัพเจ้ารามลักษณกลับไปเชียงใหม่
๗๒
ล้อมเมืองเชียงใหม่
๗๒
พม่าปล้นค่ายเจ้าพระยาจักรี ๆ เล่นหมากรุกกำลังรบพม่า
๗๓
กองทัพหลวงยกจากเมืองลำพูนขึ้นไปเมืองเชียงใหม่
๗๓
เจ้าพระยาจักรี เจ้าพระยาสุรสีห์ ตีได้ค่ายพม่าที่รักษาเมืองเชียงใหม่
๗๓
โปสุพลา โปมยุง่วน ทิ้งเมืองเชียงใหม่หนีไป
น่า
๗๔
เสด็จเข้าเมืองเชียงใหม่
๗๕
ตั้งพระยาจ่าบ้านเปนพระยาวิเชียรปราการ เจ้าเมืองเชียงใหมใหม่
๗๕
ตั้งพระยาลำพูนเปนพระยาไวยวงษา
๗๕
ตั้งพระยากาวิละเปนเจ้าเมืองนครลำปาง
๗๕
ชื่อเจ้า ๗ ตนต้นวงษ์เชียงใหม่แลนครลำปาง
๗๕
ยกทัพหลวงจากเมืองเชียงใหม่กลับมาเมืองนครลำปาง
๗๖
ได้ข่าวทัพพม่ายกมาทางด่านแม่ลำเมา เมืองตาก
๗๖
รีบยกทัพหลวงลงมาเมืองตาก
๗๖
ให้หลวงมหาเทพกับเจ้าหมื่นไวยไปตีพม่าแตก
๗๖
นายควรรู้อัศว์พบเรือบรรทุกพม่าชเลย สำคัญว่าพม่าข้าศึก
๗๖
เรือพระที่นั่งโดนตอล่ม
๗๖
เสด็จถึงบ้านระแหง แจกเงินราษฎร
๗๗
รับสั่งเล่าเรื่องทรงเสี่ยงทาย ตีระฆังแก้วที่วัดดอยเขาแก้ว
๗๗
พระเจ้ามังระให้ประการชีวิตรพระยาหงษาวดีแลพรรคพวก
๗๘
พระเจ้ามังระให้อะแซหวุ่นกี้ยกเข้ามาตีเมืองไทย
๗๘
อะแวหวุ่นกี้ให้งุยอคุงหวุ่นยกมากอง ๑ ให้ตะแคงมรหน่องยกมาอิกกอง ๑ ทางด่านพระเจดีย์ ๓ องค์
๗๘
พม่าตีทัพไทยที่ตั้งอยู่ท่าดินแดงแตก
๗๘
พระยายมราชถอยทัพ
๗๙
ให้พระองค์เจ้าจุ้ยกับพระยาธิเบศร์บดียกไปตั้งรับพม่าเมืองราชบุรี
๗๙
ให้ข้าราชการกองพระยายมราชที่แตกทัพพม่าทำการแก้ตัว
๗๙
ให้เจ้ารามลักษณยุกหนุนไปเมืองราชบุรี
น่า
๘๙
สั่งกองทัพที่กลับจากเหนือให้เลยออกไปเมืองราชบุรี ไม่ให้แวะบ้าน
๗๙
พระเทพโยธาแวะบ้าน ทรงประการชีวิตรด้วยฝีพระหัดถ์
๗๙
ให้พระยาเจ่งกับพวกมอญที่เข้ามาพึ่งพระบารมี ตั้งบ้านเรือนที่สามโคกแลแขวงเมืองนนทบุรี
๘๐
ตั้งพระยาบำเรอภักดิ์เชื้อมอญเปนพระยารามัญวงษ์ คุมพวกมอญเข้ากองทัพไปรบพม่า
๘๐
ให้หากองทัพฝ่ายเหนือมาช่วยการสงคราม
๘๐
เจ้าพระยาจักรีเกลี้ยกล่อมเมืองน่านยอมสวามิภักดิ์
๘๐
พม่าเข้ามาจับคนแขวงเมืองกาญจนบุรี ราชบุรี นครไชยศรี แลสุพรรณบุรี
๘๑
ให้พระยาพิไชยไอสวรรย์ยกไปรบพม่าเมืองนครไชยศรี
๘๑
กองทัพตะแคงมรหน่องเข้ามาตั้งที่ปากแพรก เมืองกาญจนบุรี
๘๑
พระยายมราชถอยมาตั้งดงรัง หนองขาว
๘๑
กองทัพงุยอคุงหวุ่นมาตั้งบ้านนางแก้ว แขวงราชบุรี
๘๑ฃ
พระองค์เจ้าจุ้ย พระยาธิเบศร์บดี ไปตั้งค่ายมั่นที่โคกกระต่าย แล้วให้ตั้งค่ายโอบค่ายพม่าที่บ้านนางแก้ว
๘๑
เสด็จยกทัพหลวงไปเมืองราชบุรี
๘๒
ทัพพม่าเพิ่มเติมเข้ามาเมืองกาญจนบุรีอิกกอง ๑
๘๒
ให้พระยาสีหราชเดโช พระยาอินทรวิชิต ไปช่วยพระยายมราช
๘๒
พม่าบางนางแก้วหมิ่นฝีมือไทย ยอมให้ตั้งค่ายล้อม
๘๒
เสด็จทอดพระเนตรล้อมพม่า แลแต่งกองทัพรักษาหนองน้ำที่เขาชงุ้มมิให้พม่าอาไศรย
น่า
๘๓
ได้ข่าวว่าพม่ายกเพิ่มเติมเข้ามาทางด่านเจ้าขว้าว
๘๓
ให้พระองค์เจ้าจุ้ยกับทัพจีนพระยาราชาเศรษฐีไปรักษาค่ายเมืองราชบุรี
๘๓
ให้เจ้าพระยาอินทรอไภยยกไปตั้งค่ายรักษาสระน้ำที่เขาชั่วพราน
๘๓
พม่าออกตีค่ายเจ้าพระยาอินทรอไภยคืนเดียว ๔ ครั้ง แตกไปทุกคราว
๘๓
ให้แต่งกองโจรไปช่วยเจ้าพระยาอินทรอไภย
๘๓
พม่าบ้านนางแก้วออกแหกค่ายไปไม่ได้
๘๔
พม่าที่ปากแพรกยกมาตีไทยค่ายเขาชงุ้มช่วยพม่าที่ถูกล้อม
๘๔
พม่าปากแพรกได้ค่ายเขาชงุ้ม
๘๔
ให้กองทัพไทยที่เขาชงุ้มถอยมาช่วยล้อมพม่าบ้านนางแก้ว
๘๕
พม่าปากแพรกตีค่ายไทยที่ดงรัก หนองขาว ไม่ได้
๘๕
พม่ายกมาทางเมืองมฤต มาตีบ้านทับสะแก เมืองคลองวาน
๘๕
กรมพระเทพามาตย์ทิวงคต
๘๕
แต่งกองโจรไปคอยตีพม่าค่ายเขาชงุ้มไม่ให้ยกมาช่วยพม่าบ้านนางแก้วได้
๘๖
กองทัพเจ้าพระยาจักรีกลับมาถึง
๘๖
ให้เจ้าพระยาจักรีถืออาญาสิทธิ์ไปตั้งค่ายล้อมพม่าด้านหลัง
๘๖
แต่งกองโจรไปรักษาหนองน้ำเขาชงุ้ม
๘๖
พม่าในที่ล้อมออกแหกค่ายคืนเดียว ๒ ครั้ง แหกไปไม่ได้
น่า
๘๖
พม่าในที่ล้อมขอเจรจาการทัพ
๘๗
กองทัพเจ้าพระยาสุรสีห์ยกมาถึง
๘๘
ให้เจ้าพระยาสุรสีห์ไปตั้งค่ายล้อมพม่าที่ค่ายเขาชงุ้ม
๘๙
พม่าที่ยกมาตีทับสะแก เมืองคลองวาน แตกหนีไปทางเมืองปทิว
๘๙
ให้ทำลายหนองน้ำทุกแห่งที่พม่าจะอาไศรยได้
๙๐
พม่าค่ายเขาชงุ้มออกปล้นค่ายเจ้าพระยาสุรสีห์ ตีแตกกลับเข้าค่าย
๙๑
พม่าบ้านนางแก้วร้องขอชีวิตร
๙๑
กองทัพพระยานครราชสิมามาถึง
๙๑
ให้พระยานครราชสิมาไปช่วยล้อมค่ายพม่าเขาชงุ้ม
๙๓
ได้ข่าวว่าอะแซหวุ่นกี้จะยกทัพตามเข้ามา
๙๔
ให้หาแม่ทัพนายกองประชุมปฤกษาการศึก
๙๔
ให้หัวเมืองชายทเลส่งเสบียง
๙๔
พม่าในค่ายบ้านนางแก้วยอมเปนชเลย
๙๕
ได้ค่ายพม่าบ้านนางแก้วทั้ง ๓ ค่าย
๙๖
ให้พระอนุชิตราชา หลวงมหาเทพ ขึ้นไปตีค่ายพม่าปากแพรก
๙๗
พม่าค่ายเขาชงุ้มออกเผาค่ายพระมหาสงคราม
๙๗
เจ้าพระยาจักรีฟันคนย่อท้อเสีย ๒ คน
๙๗
พม่าค่ายเขาชงุ้มแตกหนี
๙๗
ทัพพม่าปากแพรกเลิกหนีกลับไปเมืองเมาะตมะ
๙๗
เลิกทัพกลับกรุงธนบุรี
๙๘
ตั้งพระองค์เจ้าจุ้ยลูกเธอเปนกรมขุนอินทรพิทักษ์ เจ้ารามลักษณหลานเธอเปนกรมขุนอนุรักษ์สงคราม เจ้าบุญจันทร์หลานเธอเปนกรมขุนรามภูเบศร์
น่า
๙๘
ทำพระเมรุกรมพระเทพามาตย์
๙๘
ได้ข่าวว่า โปสุพลา โปมยุง่วน จะยกมาตีเมืองเชียงใหม่
๙๙
ให้เจ้าพระยาจักรี เจ้าพระยาสุรสีห์ ยกไปรบพม่าเมืองเชียงใหม่
๙๙
นายขนมต้มชกพม่าที่เมืองย่างกุ้ง
๙๙
อะแซหวุ่นกี้ยกทัพจะเข้ามาตีหัวเมืองเหนือตัดกำลังไทย
๑๐๐
อะแซหวุ่นกี้ยกทัพใหญ่เข้ามาทางเมืองตาก
๑๐๐
โปสุพลา โปมยุง่วน ถอยหนีทัพกรุงไปเมืองเชียงแสน
๑๐๐
เจ้าพระยาจักรี เจ้าพระยาสุรสีห์ ได้ข่าวศึกอะแซหวุ่นกี้ จึงถอยกลับมารักษาหัวเมืองเหนือ
๑๐๐
ทัพอะแซหวุ่นกี้ถึงเมืองศุโขไทย
๑๐๑
เจ้าพระยาทั้ง ๒ เห็นต่างกัน
๑๐๑
เจ้าพระยาจักรียกมาเตรียมรักษาเมืองพิศณุโลก
๑๐๑
เจ้าพระยาสุรสีห์ยกไปจะรบ เห็นพม่ามากเหลือกำลัง จึงถอยมารักษาเมืองพิศณุโลก
๑๐๑
อะแซหวุ่นกี้ล้อมเมืองพิศณุโลก
๑๐๑
เจ้าพระยาสุรสีห์ออกตีทัพพม่า
๑๐๒
เจ้าพระยาจักรีออกตีทัพพม่า
๑๐๒
อะแซหวุ่นกี้ขอดูตัวเจ้าพระยาจักรี
๑๐๒
เตรียมทัพกรุงธนบุรีไปรบพม่า
๑๐๓
ให้ประหารชีวิตรพม่าชเลย
น่า
๑๐๓
ให้กรมขุนอนุรักษ์สงครามไปรักษาเมืองเพ็ชรบุรี
๑๐๓
เสด็จยกทัพหลวงขึ้นไปเมืองเหนือ
๑๐๔
ทัพหลวงถึงเมืองนครสวรรค์
๑๐๔
ทัพหลวงถึงปากพิง
๑๐๔
ให้ตั้งค่ายทั้งสองฝั่งน้ำรายขึ้นไปจนเมืองพิศณุโลก
๑๐๔
ให้ตั้งค่ายโอบค่ายพม่า
๑๐๔
ให้ทำทางบกแต่ปากพิงขึ้นไปเมืองพิศณุโลก
๑๐๔
พม่ารบกับทัพกรุงที่ขึ้นไปช่วยเมืองพิศณุโลก
๑๐๕
เมืองพิศณุโลกออกตั้งค่ายประชิดรบพม่านอกเมือง
๑๐๖
ทัพกรุงปล้นค่ายพม่าไม่ได้
๑๐๗
ทัพกรุงคิดจะตั้งโอบหลังค่ายพม่า
๑๐๗
อะแซหวุ่นกี้แต่งกองทัพอ้อมมาตัดเสบียงทางเมืองนครสวรรค์ เมืองอุไทยธานี
๑๐๘
แยกกองทัพลงไปรักษาเสบียง
๑๐๘
ในเมืองพิศณุโลกขัดเสบียง
๑๐๘
พม่าตัดเสบียงที่กองทัพหลวงส่งไปเมืองพิศณุโลก
๑๐๙
พม่ายกจากเมืองมฤตมาตีเมืองกุย เมืองปราณ
๑๐๙
ไทยตีพม่าแตกที่เมืองกำแพงเพ็ชร
๑๑๐
พม่าเผาเมืองอุไทยธานี
๑๑๐
ไทยแบ่งกองทัพลงไปป้องกันเสบียงแลปืนใหญ่ที่ขนส่งขึ้นไป
๑๑๐
เจ้าพระยาสุรสีห์ลงมาเฝ้าที่ท่าโรง
น่า
๑๑๑
พม่ารบกับทัพกรุงธนบุรี
๑๑๑
เจ้าพระยาจักรีลงมาเฝ้าที่ท่าโรง
๑๑๒
อะแซหวุ่นกี้ให้แมงแยยางูยกทัพใหญ่มาตั้งโอบหลังทัพหลวง
๑๑๕
ถอยทัพหลวงลงมาตั้งบางเข้าตอก
๑๑๕
ในเมืองพิศณุโลกสิ้นเสบียง
๑๑๖
เจ้าพระยาทั้ง ๒ ต้องทิ้งเมืองพิศณุโลกตีหักพม่าออกไปเมืองเพ็ชรบูรณ์
๑๑๖
พม่าได้เมืองพิศณุโลกแลเผาเมืองเสีย
๑๑๗
พระเจ้ามังระสิ้นพระชนม์ จิงกูจาราชบุตรได้ราชสมบัติเมืองอังวะ ให้หากองทัพกลับ
๑๑๗
เจ้าพระยาจักรี เจ้าพระยาสุรสีห์ ยกตามทัพพม่า
๑๑๗
พระเจ้ากรุงธนบุรีทรงโทมนัสที่ไม่ชนะพม่า
๑๑๘
ให้ติดตามตีพม่าทางเมืองตาก
๑๑๘
ได้หนังสือพยากรร์ของพระมหาโสภิต
๑๑๘
ให้ติดตามพม่าทางเมืองเพ็ชรบูรณ์แลเมืองกำแพงเพ็ชร
๑๒๐
พม่ายกเลิกไปจากเมืองกำแพงเพ็ชร
๑๒๐
ให้ติดตามพม่าทางเมืองอุไทยธานี
๑๒๐
เสด็จกลับกรุงธนบุรี
๑๒๑
พม่ามาตั้งรวมกันที่เมืองนครสวรรค์
๑๒๑
ให้กรมขุนอินทรพิทักษ์ กรมขุนอนุรักษ์สงคราม ยกไปรบพม่าเมืองนครสวรรค์
น่า
๑๒๑
เสด็จยกทัพหลวงขึ้นไปตั้งเมืองไชยนาท
๑๒๑
กองติดตามทันพม่าที่เดิมบาง
๑๒๑
ตีพม่าแตกหนีไปทางเมืองสุพรรณบุรี
๑๒๒
เสด็จกลับกรุงธนบุรี
๑๒๒
กรมขุนอนุรักษ์สงคราม กรมขุนรามภูเบศร์ รบพม่าเมืองนครสวรรค์
๑๒๒
เสด็จยกทัพหลวงขึ้นไปตั้งณเมืองไชยนาท
๑๒๓
พม่าที่เมืองนครสวรรค์แตกหนีไปทางเมืองกำแพงเพ็ชร
๑๒๓
เสด็จยกทัพหลวงขึ้นไปถึงเมืองตาก
๑๒๓
จับพม่าได้สามร้อยเศษ
๑๒๓
เสด็จกลับกรุงธนบุรี
๑๒๓
เลิกรักษาน่าที่เชิงเทินพระนคร
๑๒๓
ให้กองทัพตั้งทำนาหาเสบียงที่ทเลตม
๑๒๔
อังกฤษเจ้าเมืองเกาะหมากถวายปืน
๑๒๔
นางพระยาช้างเผือกล้ม
๑๒๔
เจ้านราสุริวงษ์พิราไลย
๑๒๕
ให้เจ้านครกลับไปครองเมืองนครศรีธรรมราช
๑๒๕
ให้ประหารชีวิตรพระยาราชภักดีที่ติดตามพม่าไม่ทัน
๑๒๕
พระเจ้าจิงกูจาให้มาตีเมืองเชียงใหม่
๑๒๖
พระยาวิเชียรปราการทิ้งเมืองมาอยู่เมืองสวรรคโลก
น่า
๑๒๖
เรื่องขบถในเมืองญวน
๑๒๖
องเชียงชุนกับพระยาราชาเศรษฐีญวนหนีขบถเข้ามาพึ่งพระบารมี
๑๒๘
องเชียงชุนจะหนี จับได้ให้ประหารชีวิตร
๑๒๘
ประหารชีวิตรเจ้าพระยาพิไชยราชาเหตุที่ขอน้องสาวเจ้าจอมฉิม
๑๒๘
เสด็จไปเจริญพระกรรมฐานที่วัดบางยี่เรือ
๑๒๙
ให้พระราชาคณะกับเสนาบดีกำกับกันแจกทานคนโซ
๑๒๙
ทำบุญพระอัฐิกรมพระเทพามาตย์
๑๓๐
ปฏิสังขรณ์วัดบางยี่เรือ
๑๓๐
ปฏิสังขรณ์วัดหงษ์
๑๓๐
เกณฑ์จับเสือหลังวัดบางยี่เรือ
๑๓๐
หล่อปืนพระพิรุณ
๑๓๑
พระยานางรองคบคิดกับเจ้าเมืองจำปาศักดิ์เปนขบถ
๑๓๑
ให้เจ้าพระยาจักรี เจ้าพระยาสุรสีห์ ยกไปปราบปราม
๑๓๑
ได้เมืองจำปาศักดิ์ เมืองโขง เมืองอัตปือ
๑๓๑
เกลี้ยกล่อมได้เมืองสุรินทร์ เมืองสังขะ เมืองคุขัน
๑๓๑
ให้หากองทัพกลับ
๑๓๑
ตั้งเจ้าพระยาจักรีเปนเจ้าพระยามหากระษัตริย์ศึก
๑๓๑
ทรงสมาธิให้โต๊ะแขกดู
๑๓๒
เจ้านครบอกมาว่า ตานีแขงเมือง ขอยกไปตี
๑๓๒
มีตราห้ามเจ้านคร ด้วยยังเกรงจะมีศึกพม่า
๑๓๒
เทีบยพระลักษณกับพระพุทธลักษณ
๑๓๓
ให้พระราชาคณะไปหาหนังสือวิสุทธิมรรคที่กรุงกัมพูชาแลเมืองนครศรีธรรมราช
น่า
๑๓๔
ทรงพยากรณ์ชาวตลาด
๑๓๔
กรมขุนอนุรักษ์สงครามรวบรวมคนหลบหนีส่งมาจากเมืองเพ็ชรบุรี
๑๓๔
พระวอวิวาทกับพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต
๑๓๕
พระวอสวามิภักดิ์
๑๓๕
พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตจับพระวอฆ่า
๑๓๖
ให้สมเด็จเจ้าพระยากับเจ้าพระยาสุรสีห์ไปตีกรุงศรีสัตนาคนหุต
๑๓๗
สมเด็จเจ้าพระยายกไปทางเมืองนครราชสิมา
๑๓๗
เจ้าพระยาสุรสีห์ยกไปทางเมืองเขมร
๑๓๗
เจ้าพระยาสุรสีห์ขุดคลองอ้อมแก่งลิผี
๑๓๗
เจ้าพระยาสุรสีห์ตีได้เมืองนครพนม เมืองหนองคาย
๑๓๗
ทัพหลวงพระบางมาช่วยตีกรุงศรีสัตนาคนหุต
๑๓๘
สมเด็จเจ้าพระยาตีได้เมืองพะโค เมืองเวียงคุก เมืองพานพร้าว
๑๓๘
ทัพกรุงเข้าล้อมเมืองเวียงจันท์
๑๓๘
พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตหนี
๑๓๙
ทัพกรุงได้เมืองเวียงจันท์
๑๓๙
สมเด็จเจ้าพระยาได้พระแก้วมรกฎแลพระบาง
๑๓๙
ให้หากองทัพกลับกรุงธนบุรี
๑๓๙
แห่พระแก้วมรกฎ พระบาง ลงมาจากเมืองสระบุรี
๑๔๐
ปลูกโรงรับพระแก้วมรกฎ พระบาง ไว้วัดแจ้ง
๑๔๐
จับมหาดาขบถที่กรุงเก่า
น่า
๑๔๐
ตั้งหลวงนายฤทธิ์ (กรมพระราชวังหลัง) เปนผู้ว่าราชการเมืองนครราชสิมา
๑๔๑
พระราชาคณะผู้ใหญ่ต้องอธิกรณ์
๑๔๑
เกิดความเรื่องภูษามาลาทรงเครื่องไม่หมด
๑๔๒
ฟ้าทะละหะหมูกับขุนนางเขมรเปนขบถ ฆ่านักพระองค์รามาธิบดี เจ้ากรุงกัมพูชา
๑๔๓
พระยายมราชเขมรไม่เข้าด้วยพวกขบถ บอกข้อราชการเข้ามา
๑๔๓
ให้สมเด็จเจ้าพระยาเปนแม่ทัพไปตีกรุงกัมพูชากับเจ้าพระยาสุรสีห์
๑๔๔
ให้กรมขุนอินทรพิทักษ์ไปเตรียมเปนเจ้ากรุงกัมพูชา
๑๔๔
ฟ้าทะละหนีลงไปเมืองพนมเพ็ญขอกองทัพญวนมาช่วย
๑๔๔
เจ้าพระยาสุรสีห์ตามลงไปเมืองพนมเพ็ญ
๑๔๕
ราชทูตไทยไปเมืองจีน
๑๔๕
พระเจ้ากรุงธนบุรีเสียพระจริต
๑๔๕
เกิดความเรื่องให้พระสงฆ์ถวายบังคม
๑๔๕
ถอดสมเด็จพระสังฆราช (ศรี) ตั้งพระโพธิวงษ์ (ชื่น) เปนสมเด็จพระสังฆราช
๑๔๖
เกิดความเรื่องสงไสยคนลักพระราชทรัพย์
๑๔๗
พันศรี พันลา คบคิดกันเปนกองโจทย์
๑๔๘
เอาพระราชาคณะกำกับพระคลัง
๑๔๙
นายบุญนากบ้านแม่ลาเปนขบถ
๑๔๙
ให้พระยาสรรค์ขึ้นไปปราบขบถ
น่า
๑๕๐
พระยาสรรค์กลับไปเข้ากับพวกขบถ
๑๕๐
พระยาสรรค์ยกมาล้อมพระราชวัง
๑๕๐
สู้รบกับพระยาสรรค์
๑๕๐
พระเจ้ากรุงธนบุรียอมรับผิด ขอออกทรงผนวช
๑๕๑
พระเจ้ากรุงธนบุรีทรงผนวช
๑๕๑
พระยาสรรค์ให้คุมพระเจ้ากรุงธนบุรีไว้ในวัดแจ้ง
๑๕๑
พระยาสรรค์ขึ้นว่าราชการ
๑๕๑
เกิดจลาจลในพระนคร
๑๕๑
สมเด็จเจ้าพระยาให้พระยาสุริยอไภยยกกองทัพเข้ามากรุงธนบุรี
๑๕๒
พระยาสรรค์แสดงอาการว่าจะรักษาราชสมบัติไว้ถวายสมเด็จเจ้าพระยา
๑๕๒
ให้สึกพระเจ้ากรุงธนบุรีออกพันธนาการไว้
๑๕๒
พระยาสรรค์คิดจะเอาราชสมบัติเอง
๑๕๒
พระยาสรรค์ให้กรมขุนอนุรักษ์สงครามยกไปรบพระยาสุริยอไภย
๑๕๓
เกิดรบกลางเมือง
๑๕๓
พระยาสุริยอไภยจับกรมขุนอนุรักษ์สงครามได้
๑๕๓
สมเด็จเจ้าพระยายกทัพกลับทางเมืองปาจิณ
๑๕๔
สมเด็จเจ้าพระยามาถึงกรุงธนบุรี
๑๕๕
ลูกขุนปฤกษาโทษพระเจ้ากรุงธนบุรี
๑๕๖
สำเร็จโทษพระเจ้ากรุงธนบุรี
๑๕๖
แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
จุลศักราช ๑๑๔๔–๑๑๗๑
ข้าราชการพร้อมกันถวายราชสมบัติแก่สมเด็จเจ้าพระยา
น่า
๑๕๗
ชำระลงโทษผู้คิดร้ายต่อพระยาสุริยอไภย
๑๕๗
สร้างพระนครใหม่ข้างฝั่งตวันออก
๑๕๘
ย้ายบ้านจีนลงไปตั้งที่สำเพ็ง
๑๕๘
เจ้าพระยาสุรสีห์เลิกทัพกลับมากรุง
๑๕๙
จับกรมขุนอินทรพิทักษ์
๑๖๐
ยกหลักเมือง
๑๖๐
สร้างพระบรมมหาราชวัง
๑๖๐
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศกสังเขป
๑๖๐
เฉลิมพระราชมณเฑียร
๑๖๐
ตั้งเจ้าพระยาสุรสีห์เปนกรมพระราชวังบวรฯ
๑๖๒
สร้างพระราชวังบวรฯ
๑๖๒
ตั้งพระบรมวงษานุวงษ์
๑๖๒
ชำระพระสงฆ์สอพลอ
๑๖๓
ตั้งข้าราชการวังหลวง
๑๖๔
ตั้งเจ้าราชนิกูล
๑๖๕
ตั้งข้าราชการวังน่า
๑๖๕
จัดสงฆมณฑล
๑๖๖
ยกความชอบพระสงฆ์ที่ไม่ยอมไหว้พระเจ้ากรุงธนบุรี
๑๖๖
ตั้งพระอาจารย์ศรีเปนสมเด็จพระสังฆราชอย่างเดิม
๑๖๖
รื้อตำหนักทองของพระเจ้ากรุงธนบุรีถวายเปนกุฎีสมเด็จพระสังฆราช (ศรี)
น่า
๑๖๗
ลดพระสังฆราช (ชื่น) ลงเปนพระธรรมธิราราชมหามุนี ว่าที่พระวันรัตน
๑๖๗
พระธรรมธิราราชมหามุนีกับพระพุฒาจารย์ตั้งปัญหาเรื่องเขตรวัดนาคกลาง
๑๖๙
พระธรรมธิราราชมหามุนีต้องอธิกรณ์ ต้องลดยศ
๑๗๐
เรื่องอธิกรณ์พระนิกรม
๑๗๑
เลิกกฎหมายห้ามพระสงฆ์รับวัตถุปัจจัย
๑๗๑
จัดการรักษาเมืองพุทไธมาศ
๑๗๑
ปราบพระยาปังกลิมา เจ้าเมืองกำปอดที่แขงเมือง
๑๗๒
ตั้งพระยายมราชเขมรเปนเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ครองกรุงกัมพูชา
๑๗๒
เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ส่งเจ้าเขมร ๔ องค์เข้ามากรุง
๑๗๒
เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ไปตั้งอยู่เมืองอุดง
๑๗๒
ยกนักองค์เองเปนพระราชบุตรบุญธรรม
๑๗๓
เจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต (บุญสาร) กลับมาครองเมืองเวียงจันท์
๑๗๓
ตั้งเจ้านันทเสน บุตรเจ้าบุญสาร ไปครองกรุงศรีสัตนาคนหุต
๑๗๓
คืนพระบางไปเวียงจันท์
๑๗๓
ตั้งเจ้าฟ้าพระราชบุตรพระราชภาคินัย
น่า
๑๗๓
พระเจ้าจิงกูจาไปประพาสหัวเมือง มังหม่อง ราชบุตรพระเจ้ามังลอก ชิงได้เมืองอังวะ
๑๗๓
อะแซหวุ่นกี้จับมังหม่องฆ่าเสีย
๑๗๔
ราชบุตรพระเจ้าอลอง ๓ องค์จับอะแซหวุ่นกี้ฆ่าเสีย
๑๗๔
ตะแคงปดุง ราชบุตรพระเจ้าอลอง ได้ราชสมบัติเมืองอังวะ
๑๗๔
พระเจ้าปดุงจับพระเจ้าจิงกูจาสำเร็จโทษ
๑๗๔
องเชียงสือญวนเข้ามาพึ่งพระบารมี
๑๗๕
พระเจ้าปดุงให้สร้างเมืองอมรบุรขึ้นที่บ้างทองกา
๑๗๕
พระเจ้าปดุงตีได้เมืองยะไข่
๑๗๕
เกิดความเรื่องอ้ายบันทิดเปนขบถเข้าวังน่า
๑๗๖
เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ถวายพระขรรค์ไชยศรี
๑๗๘
ให้พระยานครสวรรค์ยกไปตีเมืองไซ่ง่อนให้องเชียงสือ
๑๗๘
ก่อกำแพงพระราชวังหลวงแลวังน่า
๑๗๘
สร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
๑๗๘
เชิญรูปพระเทพบิดรแต่กรุงเก่ามาแปลงเปนพระพุทธรูป
๑๗๙
กรมพระราชวังบวรฯ ทรงปฏิสังขรณ์วัดสลัก เปลี่ยนชื่อเปน วัดนิพพานาราม
๑๗๙
เกิดความเรื่องเจ้าจอมทองดี
๑๗๙
พระยานครสวรรค์รบญวนที่เมืองสักแดก
๑๗๙
พระยานครสวรรค์คืนเรือแลอาวุธให้ญวน
๑๘๐
ให้หากองทัพกลับ แลลงพระราชอาญาพระยานครสวรรค์
๑๘๐
ให้เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์ยกไปตีเมืองไซ่ง่อน
น่า
๑๘๐
ญวนตีทัพไทยแตก
๑๘๑
ทำเมรุพระศพพระเจ้ากรุงธนบุรี
๑๘๒
สร้างพระมหาปราสาท
๑๘๒
ปิดลัดโพธิ์
๑๘๒
ให้หากองทัพเจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์กลับ
๑๘๓
ยกยอดพระมหาปราสาท
๑๘๓
เชิญพระแก้วมรกฎมาไว้วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
๑๘๓
เจ้าฟ้ากรมหลวงธิเบศร์บดินทร์สิ้นพระชนม์
๑๘๔
ศักเลข
๑๘๔
ก่อกำแพงพระนคร
๑๘๔
รื้อป้อมวิไชเยนทร์ฝั่งตวันออก
๑๘๔
ขยายกำแพงพระนครถึงบางลำภูแลวัดเชิงเลน
๑๘๔
ขุดคลองหลอดเชื่อมคูเมืองเก่ากับคูใหม่
๑๘๕
ขุดคลองมหานาค
๑๘๕
พระพิมลธรรมห้ามไม่ให้ทำสพานช้างข้ามคูเมือง
๑๘๕
สมโภชพระนคร
๑๘๕
ขนานนามพระนคร
๑๘๖
ฟ้าผ่ายอดมหาปราสาท
๑๘๖
น้ำมาก นาเสีย ต้องแจกเข้าฉางหลวงแก่ราษฎร
๑๘๖
พระเจ้าปดุงเตรียมทัพใหญ่คนแสนสามพันมาตีเมืองไทย
๑๘๖
ทัพแกงหวุ่นแมงญีมาตีเมืองถลาง เมืองชุมพร เมืองไชยา
๑๘๗
ทัพอนอกแผกดิกหวุ่นเข้าทางด่านเจ้าขว้าวมาตีเมืองราชบุรี
น่า
๑๘๗
ทัพหลวงพระเจ้าปดุงเข้าทางพระเจดีย์ ๓ องค์มาทางเมืองกาญจนบุรี
๑๘๗
ทัพชุกตองเวลจอแทงยกเข้ามาทางเมืองตาก
๑๘๘
ทัพสะโดะมหาสิริยอุจนาเข้าทางเมืองเชียงแสนมาตีเมืองเชียงใหม่
๑๘๘
ทัพเนมโยสีหซุยะแยกจากเชียงแสนมาตีเมืองสวรรคโลก เมืองศุโขไทย เมืองพิศณุโลก
๑๘๙
ทัพอาปรกามนีแยกจากเชียงแสนมาตีเมืองนครลำปาง
๑๘๙
ได้ข่าวศึกพม่า
๑๘๙
ให้กรมพระราชวังบวรฯ กับเจ้าพระยารัตนาพิพิธ ยกไปรับทัพหลวงพม่าทางเมืองกาญจนบุรี
๑๙๐
ให้เจ้าพระยาธรรมา เจ้าพระยายมราช ยกไปตั้งรับพม่าเมืองราชบุรี
๑๙๐
ให้กรมพระราชวังหลัง เจ้าฟ้ากรมหลวงนรินทร์รณเรศ แลเจ้าพระยามหาเสนา เจ้าพระยาพระคลัง พระยาอุไทยธรรม ไปตั้งรับพม่าที่เมืองนครสวรรค์
๑๙๐
กรมพระราชวังบวรฯ เสด็จไปตั้งค่ายหลวงที่ลาดหญ้า
๑๙๑
กรมพระราชวังบวรฯ ให้พระยามหาโยธาคุมรามัญไปตั้งขัดด่านกรามช้าง
๑๙๑
เจ้าพระยาธรรมา เจ้าพระยายมราช ไปตั้งค่ายที่เมืองราชบุรี
น่า
๑๙๑
กรมพระราชวังหลัง เจ้าฟ้ากรมหลวงนรินทร์รณเรศ ตั้งค่ายที่เมืองนครสวรรค์
๑๙๑
เจ้าพระยามหาเสนาไปตั้งเมืองพิจิตร
๑๙๑
เจ้าพระยาพระคลัง พระยาอุไทยธรรม ตั้งอยู่เมืองไชยนาท
๑๙๑
ทัพน่าพระเจ้าปดุงตีด่านกรามช้างแตก
๑๙๒
ทัพน่าพระเจ้าปดุงเข้ามาตั้งที่ลาดหญ้า ท่าดินแดง สามสบ
๑๙๒
ทัพหลวงพระเจ้าปดุงตั้งที่พระเจดีย์ ๓ องค์
๑๙๒
ทัพไทยเข้าตีค่ายพม่าที่ลาดหญ้า ไม่ได้ค่าย
๑๙๒
กรมพระราชวังบวรฯ แต่งกองโจรไปตัดลำเลียงพม่า
๑๙๒
ประหารชีวิตรพระยาสีหราชเดโช นายกองโจร ด้วยย่อท้อแก่การศึก
๑๙๓
ให้พระองค์เจ้าขุนเณรเปนนายกองโจร
๑๙๓
เอาปืนใหญ่ยิงพม่าจนไม่ออกมารบ
๑๙๔
พม่าขัดเสบียง
๑๙๔
เสด็จยกทัพหลวงออกไปช่วยกรมพระราชวังบวรฯ ถึงลาดหญ้า
๑๙๔
กรมพระราชวังบวรฯ รับอาสาจะตีพม่าให้แตก
๑๙๕
เสด็จยกทัพหลวงกลับเข้ามากรุงเทพฯ ช่วยการทัพทางอื่น
๑๙๕
กรมพระราชวังบวรฯ ทำอุบายให้พม่าเห็นว่า มีกองทัพเพิ่มเติมมามาก
๑๙๖
พม่าขัดเสบียงแลเกิดความไข้เจ็บ
๑๙๖
กรมพระราชวังบวรฯ ตีค่ายพม่า
น่า
๑๙๖
ทัพพม่าแตกหนี
๑๙๗
ไทยติดตามฆ่าฟันพม่าไปจนสิ้นแดน
๑๙๗
พระเจ้าปดุงถอยทัพกลับไปเมืองเมาะตมะ
๑๙๗
กรมพระราชวังบวรฯ ให้พระยากลาโหม พระยาจ่าแสนยากร ลงมาเมืองราชบุรีทางบก
๑๙๗
กรมพระราชวังบวรฯ เสด็จกลับทางเรือมาเมืองราชบุรี
๑๙๗
กองทัพพม่ามาทางเมืองทวาย ถึงเมืองราชบุรีเมื่อทัพทางลาดหญ้าแตกแล้ว
๑๙๗
เจ้าพระยาธรรมา เจ้าพระยายมราช ประมาท ไม่รู้ว่าพม่ายกเข้ามาถึง
๑๙๘
ทัพพระยากลาโหม พระยาจ่าแสนยากร ยกลงมาพบค่ายพม่าที่เขางู ตีพม่าแตกหนีไป
๑๙๘
กรมพระราชวังบวรฯ เสด็จถึงเมืองราชบุรี ลงพระราชอาญาเจ้าพระยายมราช เจ้าพระยาธรรมา
๑๙๘
กรมพระราชวังบวรฯ เสด็จกลับพระนคร
๑๙๙
กรมพระราชวังบวรฯ เสด็จยกทัพเรือไปรบพม่าเมืองชุมพร
๑๙๙
มีรับสั่งคาดโทษกรมพระราชวังหลังเร่งให้ตีพม่า
๒๐๐
เสด็จยกทัพหลวงไปตั้งณเมืองอินทบุรี
๒๐๐
ทัพพม่าทางเหนือล้อมเมืองนครลำปาง
๒๐๑
พระยากาวิละรักษาเมืองนครลำปางไว้ได้
๒๐๑
พม่าได้เมืองสวรรคโลก เมืองศุโขไทย เมืองพิศณุโลก
๒๐๑
พม่าลงมาตั้งที่ปากพิง
๒๐๑
ทัพพม่าทางเมืองตากได้เมืองตาก
๒๐๑
ทัพเจ้าพระยามหาเสนา กรมพระราชวังหลัง แลเจ้าฟ้ากรมหลวงนรินทร์รณเรศ ยกขึ้นไปตีทัพพม่าที่ปากพิง
๒๐๒
พระยาสระบุรีตื่นนกกระทุง
๒๐๒
ให้เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์ เจ้าพระยาพระคลัง พระยาอุไทยธรรม ยกไปตีพม่าเมืองตาก
๒๐๒
เสด็จยกทัพหลวงขึ้นไปตั้งบางเข้าตอก
๒๐๒
ทัพกรมพระราชวังหลังตีพม่าปากพิงแตก
๒๐๓
ให้เจ้าฟ้ากรมหลวงจักรเจษฎายกไปสมทบเจ้าพระยามหาเสนาขึ้นไปช่วยเมืองนครลำปาง
๒๐๓
ให้หากองทัพกรมพระราชวังหลังกลับ
๒๐๓
ทัพหลวงคืนมาตั้งที่เมืองนครสวรรค์
๒๐๔
กองทัพพม่าที่เมืองตากหนีไปไม่ต่อสู้
๒๐๔
ให้หากองทัพเจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์กลับ
๒๐๔
เสด็จยกทัพหลวงกลับกรุงเทพฯ
๒๐๔
กองทัพเจ้าฟ้ากรมหลวงจักรเจษฎา เจ้าพระยามหาเสนา ตีพม่าที่ล้อมเมืองนครลำปางแตกหนีไปเมืองเชียงแสน
๒๐๔
ให้หากองทัพฝ่ายเหนือกลับกรุงเทพฯ
๒๐๕
พระราชทานบำเหน็จข้าราชการ
๒๐๕
พม่าที่ยกไปตีหัวเมืองปักษ์ใต้จัดทัพที่เมืองมฤต
๒๐๕
แยกกอง ๑ ไปตีเมืองถลาง
๒๐๖
แยกกอง ๑ เข้ามาตีเมืองชุมพรทางเมืองกระ
น่า
๒๐๖
พม่าได้เมืองชุมพร เมืองไชยา
๒๐๖
เจ้าพัดเปนเจ้าพระยานครศรีธรรมราช
๒๐๖
พม่าลวงชาวนครว่า กรุงเทพฯ เสียแก่พม่า
๒๐๗
เจ้าพระนครอพยพหนีไปนอกเขา
๒๐๗
พม่าได้เมืองนคร
๒๐๗
พม่าได้เมืองตะกั่วป่า ตะกั่วทุ่ง
๒๐๗
พม่าตีเมืองถลาง
๒๐๗
ภรรยาพระยาถลางกับน้องสาวรักษาเมืองถลางไว้ได้
๒๐๘
พระมหาช่วยเมืองพัทลุงเปนหัวน่าเตรียมสู้พม่า
๒๐๘
กองทัพกรมพระราชวังบวรฯ ถึงเมืองชุมพร
๒๐๘
กองทัพไทยตีพม่าแตกที่เมืองไชยา
๒๐๙
พม่าหนีกลับไป
๒๐๙
กรมพระราชวังบวรฯ รวมพลเข้าเมืองชุมพร เมืองไชยา
๒๐๙
กรมพระราชวังบวรฯ เสด็จถึงเมืองนคร
๒๐๙
กรมพระราชวังบวรฯ เสด็จถึงเมืองสงขลา
๒๑๐
สึกพระมหาช่วย ตั้งเปนพระยาทุกขราษฎร์
๒๑๐
ชำระลงโทษพระยาจนะ
๒๑๐
กรมพระราชวังบวรฯ ให้กองทัพไปตีเมืองตานี
๒๑๐
ได้เมืองตานี
๒๑๐
ได้ปืนใหญ่พระยาตานี
๒๑๐
เมืองไทร เมืองกลันตัน เมืองตรังกานู สวามิภักดิ์
๒๑๑
ให้หากองทัพกรมพระราชวังบวรฯ กลับกรุงเทพฯ
น่า
๒๑๑
ตั้งภรรยาพระยาถลางเปนท้าวเทพกระษัตรี
๒๑๒
ตั้งน้องสาวเปนท้าวศรีสุนทร
๒๑๒
พระเจ้าปดุงรวมพลที่เหลือกลับไปได้ประมาณกึ่งหนึ่ง กลับอังวะ
๒๑๓
พระเจ้าปดุงให้มหาอุปราชยกกองทัพมาตีเมืองไทย
๒๑๓
ทัพพม่ายกมาตั้งเมืองสมิ
๒๑๓
พม่าตั้งยุ้งฉางรายทางถึงท่าดินแดง สามสบ
๒๑๔
ทัพน่าพม่าตั้งท่าดินแดง สามสบ
๒๑๔
ทัพหลวงพม่าตั้งที่แม่กระษัตร
๒๑๔
เตรียมทัพกรุง
๒๑๔
ให้กรมพระราชวังบวรฯ กับเจ้าพระยารัตนพิพิธ เปนทัพน่า
๒๑๔
เสด็จพระราชดำเนินกับกรมพระราชวังหลังเปนทัพหลวง
๒๑๕
ทัพน่าถึงไทรโยค
๒๑๕
ทัพหลวงถึงท่าขนุน
๒๑๕
ตั้งทัพประชิดข้าศึกที่สามสบ
๒๑๕
ทัพไทยตีค่ายพม่า
๒๑๖
ทัพน่าพม่าแตกหนี
๒๑๖
มหาอุปราชาถอยทัพหลวงกลับไปเมืองเมาะตมะ
๒๑๖
ไทยไล่พม่าไปจนถึงค่ายหลวงที่แม่กระษัตร
๒๑๖
เสด็จกลับกรุงเทพฯ
๒๑๖
พม่าทางเหนือเตรียมจะตีเมืองเชียงใหม่
๒๑๗
พม่าตั้งทำนาที่เมืองฝาง
๒๑๗
พระยาแพร่มังไชยกับพระยายองรบอาปรกามนีพม่าที่เมืองเชียงแสน
น่า
๒๑๗
อาปรกามนีหนีมาเมืองเชียงราย
๒๑๘
พระยาเชียงรายช่วยจับอาปรกามนีส่งมาถวาย
๒๑๘
ให้กรมพระราชวังบวรฯ เสด็จขึ้นไปตั้งเมืองเชียงใหม่
๒๑๘
ตั้งพระยากาวิละเปนพระยาเชียงใหม่
๒๑๙
ตั้งคำโสมเปนพระยานครลำปาง
๒๑๙
เสด็จยกทัพหลวงไปตีเมืองทวาย
๒๒๐
เดินทัพหลวงทางเขาสูงเข้าด่านวังปอ
๒๒๐
พม่าตั้งค่ายรายทางคอยต่อสู้
๒๒๑
ทัพไทยได้ค่ายวังปอ
๒๒๑
ทัพไทยตีเมืองกลิอ่อง
๒๒๒
เสด็จข้ามเขาสูง ต้องลงทรงพระดำเนิน
๒๒๒
ทัพไทยได้เมืองกลิอ่อง
๒๒๓
ทัพไทยตีได้ค่ายปีกกา
๒๒๓
กองทัพไทยล้อมเมืองทวาย
๒๒๔
กองทัพไทยขัดเสบียง ต้องเลิกกลับ
๒๒๕
กรมพระราชวังบวรฯ มารับเสด็จที่แม่น้ำน้อย
๒๒๕
องเชียงสือหนี
๒๒๖
ตั้งองเทียมเปนเจ้าเมืองพุทไธมาศ
๒๒๘
สร้างป้อมกำแพงเมืองสมุทปราการ
๒๒๘
สร้างพระมณฑปพระพุทธบาท
๒๒๘
กรมพระราชวังบวรฯ ทรงพระศรัทธาแบกตัวลำยอง
น่า
๒๒๙
ฝรั่งท้าชกมวย
๒๓๐
ทรงผนวชสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ
๒๓๒
ทำสังคายนายพระไตรปิฎก
๒๓๓
ตำนานการสังคายนายที่ทำมาแต่ก่อน
๒๓๔
เปลี่ยนชื่อวัดนิพพานารามที่ทำสังคายนายเปนวัดพระศรีสรรเพชญ์
๒๓๙
แบ่งกองพระสงฆ์ที่ทำสังคายนาย
๒๔๐
สร้างพระไตรปิฎกฉบับทองใหญ่
๒๔๑
แห่พระไตรปิฎกมาไว้หอพระมณเฑียรธรรมกลางสระ
๒๔๑
ฉลองพระไตรปิฎก
๒๔๑
ลูกพลุตกไฟไหม้หอพระมณเฑียรธรรม
๒๔๑
รื้อหอพระมณเฑียรธรรม สร้างเปนมณฑปไว้พระไตรปิฎก
๒๔๒
สร้างหอพระมณเฑียรธรรมใหม่
๒๔๒
ฟ้าผ่าไฟไหม้พระที่นั่งอมรินทราภิเศกมหาปราสาท
๒๔๒
สร้างพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๒๔๓
สร้างพระที่นั่งพิมานรัตยา
๒๔๔
หล่อรูปสิงห์สำฤทธิ์ประสมกับสิงห์ที่ได้มาจากเมืองพุทไธมาศ ตั้งวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
๒๔๔
นายบุญเรืองเผาตัว
๒๔๕
องเชียงสือตั้งตัวเปนเจ้าอนัมก๊ก ถวายต้นไม้ทองเงินครั้งที่ ๒
๒๔๖
ทัพเวียงจันท์รบญวนไกเซิน
๒๔๖
เจ้าอนัมก๊กกล่าวโทษเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์
๒๔๗
แขกเซียะตีเมืองสงขลา
น่า
๒๔๙
เจ้าอนัมก๊กถวายเรือรบ แลพระราชทานปืนตอบ
๒๕๐
ทัพเวียงจันท์ตีเมืองหลวงพระบาง
๒๕๐
เมืองทวายสวามิภักดิ์
๒๕๑
เจ้าอนัมก๊กมีศุภอักษรนัดให้ไปตีเมืองตังเกี๋ย
๒๕๖
ทัพพระยายมราชยกไปเมืองทวาย
๒๕๘
ทัพหลวงยกไปเมืองทวาย
๒๕๘
ยกทัพหลวงไปตีเมืองพม่า
๒๖๓
ทวายเปนขบถ
๒๖๓
เจ้าอนัมก๊กขอตราให้หัวเมืองช่วยการทัพ แลถวายต้นไม้ทองเงิน ครั้งที่ ๓
๒๖๘
พม่าขอเปนไมตรี ครั้งที่ ๑
๒๖๙
ญวนไกเซินขอเปนไมตรี
๒๗๑
ตั้งสมเด็จพระสังฆราช (ศุข) ทรงผนวชสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอแลนักพระองค์เอง
๒๗๑
ตั้งนักพระองค์เองออกไปครองกรุงกัมพูชา นักพระองค์เองถวายเมืองพระตะบอง เสียมราฐ
๒๗๔
ถอดเจ้านครล้านช้าง
๒๗๕
ได้ช้างเผือกพระยาอินทรไอยรา
๒๗๕
ศึกพม่า ครั้งที่ ๓
๒๗๖
เชิญพระพุทธสิหิงค์มากรุงเทพฯ
๒๗๖
กรมพระราชวังบวรฯ ทรงผนวช
๒๗๙
สมเด็จพระนารายน์รามารับอาว์กับครอบครัวไปเมืองเขมร
น่า
๒๘๐
เจ้าอนัมก๊กถวายต้นไม้ทองเงิน ครั้งที่ ๔
๒๘๐
การพระเมรุพระบรมอัฐิสมเด็จพระชนกาธิบดี
๒๘๐
เกิดเหตุบาดหมางในระหว่างสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับกรมพระราชวังบวรสถานมงคล
๒๘๒
สมเด็จพระนารายน์รามาธิบดี พระเจ้ากรุงกัมพูชา พิราไลย
๒๘๓
ข่าวศึกพม่า กรมพระราชวังบวรฯ เสด็จเมืองเชียงใหม่
๒๘๕
เจ้าอนัมก๊กถวายต้นไม้ทองเงิน ครั้งที่ ๕
๒๘๖
ฉลองพระมณฑปวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
๒๘๖
ข่าวศึกพม่า
๒๘๖
สมเด็จพระพี่นางสิ้นพระชนม์
๒๘๗
โปรดให้กองทัพเขมรไปช่วยเจ้าอนัมก๊ก
๒๘๘
เพลิงไหม้สำเพ็ง
๒๘๙
สร้างแลฉลองวัดพระเชตุพน
๒๘๙
เจ้าอนัมก๊กถวายต้นไม้ทองเงิน ครั้งที่ ๖
๒๙๗
ได้ช้างเผือก พระเทพกุญชร
๒๙๗
เพลิงไหม้วัดพระศรีสรรเพ็ชญ์
๓๐๐
เจ้าอนัมก๊กได้เมืองญวนแลตั้งตัวเปนพระเจ้ากรุงเวียดนามยาลอง
๓๐๐
พม่าขอเปนไมตรี ครั้งที่ ๒
๓๐๒
ศึกพม่า ครั้งที่ ๔
๓๐๒
นักองค์จันท์ นักองค์สงวน เข้ามาเฝ้า
๓๐๘
พระเจ้าเวียดนามถวายของสนองพระคุณ
น่า
๓๐๘
กองทัพไทยไปตีเมืองเชียงแสน
๓๐๙
ตั้งเจ้าเชียงใหม่
๓๑๑
ได้ช้างสีทองแดง พระบรมฉัททันต์
๓๑๑
ราชทูตไปเมืองญวน
๓๑๑
กรมพระราชวังบวรสถานมงคลสวรรคต
๓๑๒
พระราชประวัติกรมพระราชวังบวรสถานมงคล
๓๑๓
สิ่งซึ่งกรมพระราชวังบวรฯ ได้ทรงสร้าง
๓๑๔
เรื่องหม่อมลำดวน หม่อมอินทปัต
๓๑๖
เลื่อนกรมขุนเสนานุรักษ์ แลตั้งกรมขุนพิทักษมนตรี
๓๑๘
กองทัพกรมหลวงเทพหริรักษ์กลับจากเมืองเชียงแสน
๓๑๙
การพระเมรุกรมพระราชวังบวรสถานมงคล
๓๒๐
พระเจ้าเวียดนามมีราชสาสนมาทูลเตือนให้ตั้งกรมพระราชวังบวรฯ
๓๒๑
เกณฑ์ทัพไปตีเมืองเชียงตุง เชียงรุ้ง
๓๒๒
ตั้งเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี
๓๒๒
ตั้งเจ้าอนุครองเมืองเวียงจันท์
๓๒๓
กรมหลวงเทพหริรักษ์สิ้นพระชนม์
๓๒๓
ชำระกฎหมาย
๓๒๓
ได้ช้างสำคัญ พระบรมนัขมณี แลพระบรมคชลักษณ์
๓๒๕
ได้เมืองเชียงตุง เมืองเชียงรุ้ง แลเมืองลื้อ สิบสองปันนา
๓๒๕
พระเจ้ากรุงเวียดนามมีราชสาสนถวายบรรณาการ
๓๒๘
ราชทูตไปเมืองญวน
น่า
๓๒๙
กรมพระราชวังหลังทิวงคต
๓๓๑
ตั้งนักองค์จันท์เปนสมเด็จพระอุไทยราชา เจ้ากรุงกัมพูชา
๓๓๑
พระราชพิธีอุปราชาภิเศกเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร
๓๓๒
ตั้งพระบัณฑูรน้อยแลตั้งกรมเจ้านาย
๓๓๖
การพระเมรุกรมพระราชวังหลัง
๓๓๗
พระเจ้าเวียดนามมีพระราชสาสนทรงยินดีในการอุปราชาภิเศก
๓๓๗
กรมหลวงจักรเจษฎาสิ้นพระชนม์
๓๓๘
ได้ช้างสำคัญ
๓๓๘
สมเด็จพระอุไทยทูลขอนักองค์อี นักองค์เภา
๓๓๙
เชิญพระพุทธรูปพระศรีสากยมุนีมากรุงเทพฯ
๓๓๙
ปราบปรามเมืองยิริง
๓๓๙
เจ้าฟ้ากรมขุนศรีสุนทรเทพสิ้นพระชนม์
๓๔๐
โสกันต์เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี
๓๔๐
แห่สระสนานใหญ่ แห่พระกฐิน แลมีกระจาดใหญ่ กัณฑ์เทศน์มหาชาติ
๓๔๒
ผลประโยชน์แผ่นดิน
๓๔๓
วัดที่ได้ทรงปฏิสังขรณ์
๓๔๓
พระราชานุกิจ
๓๔๔
สมเด็จพระอุไทยราชาเข้ามาเฝ้า
๓๔๕
งานสมโภชพระแก้วมรกฎ
๓๔๖
สวรรคต
๓๔๖
ภาคผนวก
พระราชประวัติ
น่า
๓๔๗
เสนาบดีในรัชกาลที่ ๑
๓๕๑
มหาดไทย
๓๕๑
กระลาโหม
๓๕๑
กรมท่า
๓๕๒
กรมเมือง
๓๕๓
กรมวัง
๓๕๔
กรมนา
๓๕๔

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก