พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา/ภาค 2
หน้าตา
พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์
กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
พิมพ์ขึ้นเปนส่วนพระกุศลทานมัยในงานพระศพ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ (ชั้น ๓) กรมหลวงวรเสฐสุดา
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค
กรมขุนอรรควรราชกัญญา
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร
กรมขุนพิจิตรเจษฎจันทร์
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล
กรมขุนสวรรคโลกย์ลักษณวดี
สารบานเรื่อง | |||
แผ่นดินสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๕ (ปราสาททอง) จุลศักราช ๙๙๒–๑๐๐๖ | |||
เจ้าพระยากระลาโหมรับครองราชสมบัติ |
น่า
|
๑ | |
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศก |
”
|
๑ | |
ปูนบำเหน็จข้าราชการ |
”
|
๒ | |
คงเลี้ยงสมเด็จพระอาทิตยวงษ์ไว้ในวัง |
”
|
๒ | |
ตั้งพระศรีสุธรรมราชา |
”
|
๓ | |
ถวายที่บ้านพระพันปีหลวงสร้างวัดไชยวัฒนาราม |
”
|
๓ | |
ถ่ายแบบพระนครหลวง (นครธม) เข้ามาสร้าง |
”
|
๓ | |
สถาปนาวัดพระศรีสรรเพชญ์ |
”
|
๓ | |
สร้างปราสาทศรียศโสธร |
”
|
๔ | |
เปลี่ยนชื่อปราสาทศรียศโสธรเปนจักรวรรดิ์ไพชยนต์ |
”
|
๔ | |
พระเจ้าลูกเธอพระนารายน์ราชกุมารประสูตร |
”
|
๔ | |
สร้างปราสาทไอสวรรย์ทิพอาศน์ที่เกาะบางนางอิน (บางปอิน) |
”
|
๔ | |
สร้างวัดชุมพลนิกายารามที่เกาะบางปอิน |
”
|
๕ | |
โสกันต์พระเจ้าลูกเธอพระองค์อินทร์ที่เกาะบ้านเลน (พระที่นั่งณเกาะบางปอิน) |
”
|
๕ | |
สถาปนาพระเจ้าลูกเธอพระองค์อินทร์เปนเจ้าฟ้าไชย |
”
|
๕ | |
สร้างพระปรางวัดมหาธาตุที่พัง |
น่า
|
๕ | |
ประสูตรพระเจ้าลูกเธอพระไตรภูวนาทิตยวงษ์ พระองค์ทอง พระอินทราชา |
”
|
๕ | |
กริ้วพระอาทิตยวงษ์ ให้ลดยศไปอยู่นอกวัง |
”
|
๕ | |
สร้างพระราชนิเวศธารเกษมที่เขาพระพุทธบาท |
”
|
๖ | |
เสด็จพระพุทธบาท |
”
|
๗ | |
คนตื่นเอาตำราวิชาการทิ้งน้ำ |
”
|
๙ | |
ย้ายสถานพระอิศวร พระนารายน์ มาตั้งที่ชีกุน |
”
|
๙ | |
ขยายกำแพง (ด้านน่า) พระราชวัง |
”
|
๙ | |
สร้างปราสาทพระวิหารสมเด็จ[1] |
”
|
๙ | |
แก้กลับรูปตาเรือกิ่ง |
”
|
๙ | |
ฟ้าผ่าใกล้พระองค์พระนารายน์ราชกุมารไม่เปนอันตราย |
”
|
๙ | |
พระอาทิตยวงษ์เปนขบถ |
”
|
๑๐ | |
ตั้งพระราชพิธีลบศักราช |
”
|
๑๐ | |
เสด็จโปรยทานรอบพระนคร |
”
|
๑๓ | |
ทำสัตตสดกมหาทาน |
”
|
๑๓ | |
บอกเรื่องลบศักราชไปยังกรุงอังวะ |
”
|
๑๔ | |
พระเจ้าอังวะแต่งราชทูตเข้ามาเยี่ยมพระศพพระเจ้าทรงธรรม แลมีราชสาสนบอกมาว่า จะใช้ศักราชตามเดิม |
”
|
๑๔ | |
ราชทูตพม่าไม่กินเลี้ยง จึงให้ขับไปเสีย |
”
|
๑๕ | |
ประทับที่มุขพระที่นั่งไอสวรรย์ทิพอาศน์กับพระนารายน์ ฟ้าผ่าไม่ต้องพระองค์ |
น่า
|
๑๕ | |
กำปั่นอลิมหมัดเอาม้าเทศเข้ามา |
”
|
๑๖ | |
พระโหราทายว่า ไฟจะไหม้พระราชวัง |
”
|
๑๖ | |
เสด็จหลบไฟไปอยู่วัดไชยวัฒนาราม |
”
|
๑๖ | |
ฟ้าผ่าไฟไหม้ปราสาทมังคลาภิเศก |
”
|
๑๗ | |
สร้างปราสาทที่ไฟไหม้ เปลี่ยนชื่อเปนพระวิหารสมเด็จ |
”
|
๑๗ | |
ประชวร แปลงสถานไปประทับพระที่นั่งเบญจรัตน |
”
|
๑๘ | |
มอบราชสมบัติแก่เจ้าฟ้าไชย |
”
|
๑๘ | |
พระเจ้าปราสาททองสวรรคต |
”
|
๑๘ | |
แผ่นดินสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๖ (เจ้าฟ้าไชย) ๙ เดือน | |||
พระศรีสุธรรมราชากับพระนารายน์เปนขบถ ปลงพระชนม์เจ้าฟ้าไชย |
น่า
|
๑๘ | |
แผ่นดินสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๗ (พระศรีสุธรรมราชา) (๒ เดือน ๒๐ วัน) | |||
ตั้งพระนารายน์เปนพระมหาอุปราช |
น่า
|
๑๙ | |
พระศรีสุธรรมราชาแพะโลมพระน้องนางของพระนารายน์ |
”
|
๑๙ | |
พระน้องนางลอบหนีไปเฝ้าพระนารายน์ |
”
|
๑๙ | |
เกิดศึกในระหว่างพระนารายน์กับพระศรีสุธรรมราชา |
”
|
๑๙ | |
พระนารายน์ชนะ จับพระศรีสุธรรมราชาปลงพระชนม์ |
”
|
๒๓ | |
แผ่นดินสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๓ (พระนารายน์มหาราช) จุลศักราช ๑๐๑๘–๑๐๔๔ (๑๐๕๐) | |||
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศก |
น่า
|
๒๓ | |
ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้าปราสาททอง |
”
|
๒๕ | |
เสด็จประทับอยู่พระราชวังบวรฯ |
”
|
๒๖ | |
พระไตรภูวนาทิตยวงษ์อยู่วังหลัง |
”
|
๒๖ | |
อำแดงแก่นยุพระไตรภูวนาทิตยวงษ์ให้กินแหนงสมเด็จพระนารายน์ |
”
|
๒๖ | |
เกิดกินแหนงกับพระไตรภูวนาทิตยวงษ์ |
”
|
๒๖ | |
จับพระไตรภูวนาทิตยวงษ์แลพระองค์ทองสำเร็จโทษที่พระนครหลวง |
”
|
๓๓ | |
ชำระพรรคพวกพระไตรภูวนาทิตยวงษ์ |
”
|
๓๓ | |
หล่อเทวรูปสำหรับการพระราชพิธี |
”
|
๓๗ | |
ทำพระราชพิธีเบญจพิธที่ตำบลมะขามหย่อง |
”
|
๓๘ | |
หล่อพระเทวกรรม |
”
|
๓๙ | |
ทำพระราชพิธีมหาปรายาจิตรแลพิธีบันชีพรหมที่ทเลหญ้า |
”
|
๓๙ | |
ทำพระราชพิธีคชกรรม |
”
|
๓๙ | |
เสด็จประพาศถึงเมืองนครสวรรค์ |
”
|
๓๙ | |
ได้ช้างเผือกพังชื่อ พระอินทรไอยรา |
”
|
๓๙ | |
สร้างพระพุทธรูปพระบรมไตรโลกนารถ |
”
|
๔๑ | |
สร้างพระพุทธรูปพระบรมตรีภพนารถ |
”
|
๔๑ | |
สร้างพระพุทธรูปทองแลเงิน |
น่า
|
๔๑ | |
สร้างเทวรูปพระบรมกรรมไว้อารามพระศรีรุทรนารถที่ชีกุน |
”
|
๔๑ | |
สร้างพระเทวกรรม |
”
|
๔๑ | |
กรุงกัมพูชาเปนจลาจลด้วยนักจันทร์วิวาทกับน้องชื่อนักประทุม |
”
|
๔๑ | |
แขกแม่นางกะเบาที่เปนขุนนางเขมรหลายคนเข้ามาสวามิภักดิ์ |
”
|
๔๒ | |
เจ้าเขมร สังฆราชเขมร กับขุนนางเขมร อพยพเข้ามาสวามิภักดิ์ |
”
|
๔๒ | |
มริอลาถวายของ |
”
|
๔๓ | |
พระยาตุกสาถวายของ |
”
|
๔๓ | |
นางพระยาอาแจถวายของ |
”
|
๔๔ | |
พระยาแสนหลวง เจ้าเมืองเชียงใหม่ สวามิภักดิ์ ขอกองทัพไปช่วยป้องกันทัพฮ่อ |
”
|
๔๔ | |
ให้พระยาสีหราชเดโช พระยาท้ายน้ำ ยกไปช่วยเมืองเชียงใหม่ |
”
|
๔๕ | |
เสด็จเมืองพิศณุโลก |
”
|
๔๖ | |
แสนสุรินทรไมตรีที่เชียงใหม่ให้มานำทัพกรุงหลบหนี |
”
|
๔๖ | |
แต่งกองทัพ ๕ ทัพหนุนขึ้นไปตีเมืองนครลำปางแลเมืองเถิน |
”
|
๔๖ | |
กองทัพไทยได้เมืองตัง เมืองลอง |
”
|
๔๗ | |
เสด็จจากพิศณุโลกมาประทับเมืองศุโขไทย |
”
|
๔๘ | |
แต่งกองทัพไปตีละว้าเมืองรามตี |
”
|
๔๘ | |
ได้เมืองรามตี |
”
|
๔๘ | |
เสด็จกลับพระนคร |
น่า
|
๔๙ | |
กองทัพไทยไปตีเมืองอินทคิรี |
”
|
๔๙ | |
เมืองอินทคิรีสวามิภักดิ์ |
”
|
๔๙ | |
มอญเมืองเมาะตมะเปนขบถต่อพระเจ้าอังวะ |
”
|
๕๑ | |
มอญเมืองเมาะตมะเข้ามาตามครัวมอญ |
”
|
๕๓ | |
พม่าจะยกกองทัพเข้ามาตามครัวมอญ |
”
|
๕๓ | |
กองทัพไทยที่ได้เมืองนครลำปางยกขึ้นไปตีเมืองนครลำพูนไชย เมืองเชียงใหม่ |
”
|
๕๓ | |
พระยาเชียงใหม่ พระยาลำพูน คิดอุบายหน่วงกองทัพไทยคอยพม่ามาช่วย |
”
|
๕๔ | |
กองทัพพม่ายกเข้ามาถึงปลายด่านเมืองกาญจนบุรี |
”
|
๕๖ | |
เจ้าพระยาโกษา (ขุนเหล็ก) ยกไปรบพม่า |
”
|
๕๖ | |
ให้หากองทัพที่ไปตีเชียงใหม่กลับมาช่วยรบพม่าแขวงเมืองกาญจนบุรี |
”
|
๕๗ | |
กองทัพไทยตีพม่าที่เมืองไทรโยค |
”
|
๕๘ | |
ให้หากองทัพกลับพระนคร |
”
|
๕๙ | |
ตั้งฝรั่งเปนหลวงวิไชเยนทร์ |
”
|
๕๙ | |
เลื่อนหลวงวิไชเยนทร์เปนพระ แล้วเปนพระยา |
”
|
๕๙ | |
พระยาวิไชเยนทร์กราบทูลสรรเสริญสมบัติฝรั่งเศส |
”
|
๕๙ | |
แต่งนายปานเปนราชทูตไปเมืองฝรั่งเศส |
”
|
๖๐ | |
นายปานราชทูตกลับถึงกรุง |
”
|
๖๘ | |
โปรดให้เจ้าพระยาโกษา (ขุนเหล็ก) ยกกองทัพไปตีเมืองอังวะ |
น่า
|
๖๙ | |
โปรดให้กองทัพไทยขึ้นไปเกณฑ์คนเชียงใหม่ ลำพูนไชย นครลำปาง ไปสมทบทัพไทยตีเมืองอังวะ |
”
|
๖๙ | |
กองทัพไทยไปชุมนุมทัพที่เมืองจิตตอง |
”
|
๗๐ | |
กองทัพไทยได้เมืองเสี่ยง เมืองย่างกุ้ง เมืองหงษาวดี |
”
|
๗๐ | |
กองทัพไทยไปถึงเมืองอังวะ |
”
|
๗๐ | |
พระเจ้าอังวะให้มังจาเลราชบุตรออกตั้งรับกองทัพไทย |
”
|
๗๑ | |
พม่าคิดกลจับพระยาสีหราชเดโช |
”
|
๗๑ | |
พระสุรินทรภักดีแก้พระยาสีหราชเดโชมาได้ |
”
|
๗๒ | |
ได้ทรงทราบข่าวพม่าจับพระยาสีหราชเดโช ให้พระพิมลธรรมจับยาม |
”
|
๗๒ | |
กองทัพไทยขัดเสบียง |
”
|
๗๔ | |
เจ้าพระยาโกษาคิดอุบายถอยทัพ |
”
|
๗๕ | |
พม่าหลงกลเจ้าพระยาโกษา |
”
|
๗๘ | |
กองทัพเชียงใหม่หนีกลับไปเมือง |
”
|
๘๐ | |
เจ้าพระยาโกษาให้พระยากำแพงเพ็ชรแลพระยารามเดโชคุมพลไปตามทัพเชียงใหม่ |
”
|
๘๑ | |
เชียงใหม่เตรียมต่อสู้ |
”
|
๘๑ | |
กองทัพไทยที่ไปตามเข้าตีเมืองเชียงใหม่ไม่ได้ |
”
|
๘๒ | |
กองทัพไทยเลิกกลับลงมาอยู่เมืองกำแพงเพ็ชร |
”
|
๘๓ | |
ให้หากองทัพกลับพระนคร |
น่า
|
๘๔ | |
ได้ช้างเผือกเมืองนครสวรรค์ เจ้าพระยาบรมคเชนทรฉัททันต์ |
”
|
๘๕ | |
เจ้าพระยาโกษา (ขุนเหล็ก) ถึงอสัญกรรม |
”
|
๘๖ | |
โปรดให้นายปานราชทูตเปนเจ้าพระยาโกษาธิบดี |
”
|
๘๗ | |
โปรดให้เจ้าพระยาโกษา (ปาน) เปนแม่ทัพไปตีเชียงใหม่ |
”
|
๘๗ | |
เจ้าพระยาโกษา (ปาน) ลองอาญาสิทธิ์ |
”
|
๘๘ | |
เจ้าพระยาโกษา (ปาน) ยกกองทัพไปตีเชียงใหม่ |
”
|
๙๐ | |
กองทัพไทยได้เมืองนครลำปาง |
”
|
๙๑ | |
กองทัพไทยได้เมืองลำพูนไชย |
”
|
๙๑ | |
กองทัพไทยไปติดเมืองเชียงใหม่ |
”
|
๙๑ | |
กองทัพไทยตั้งล้อมเมืองเชียงใหม่ |
”
|
๙๒ | |
เสด็จยกกองทัพหลวงขึ้นไปตั้งอยู่เมืองลำพูน |
”
|
๙๒ | |
เลื่อนกองทัพหลวงเสด็จไปตั้งณเมืองเชียงใหม่ |
”
|
๙๔ | |
เข้าตีได้เมืองเชียงใหม่ |
”
|
๙๖ | |
เสด็จยกทัพหลวงกลับพระนคร |
”
|
๙๘ | |
พระราชทานนางธิดาเจ้าเมืองเชียงใหม่แก่พระเพทราชา |
”
|
๙๙ | |
เสด็จพิศณุโลก |
”
|
๙๙ | |
นางธิดาเจ้าเมืองเชียงใหม่ประสูตรนายเดื่อที่ตำบลโพธิ์ประทับช้าง |
”
|
๙๙ | |
พระเพทราชาถวายนายเดื่อเปนมหาดเล็ก |
”
|
๑๐๐ | |
ส่องพระฉายกับนายเดื่อ |
”
|
๑๐๐ | |
ความทนงองอาจของนายเดื่อ |
”
|
๑๐๐ | |
ทรงตั้งนายเดื่อเปนหลวงสรศักดิ์ |
น่า
|
๑๐๑ | |
สร้างเมืองลพบุรีเปนที่ประทับฤดูแล้ง |
”
|
๑๐๒ | |
พระราชโอรส พระราชธิดา ของสมเด็จพระนารายน์ |
”
|
๑๐๓ | |
พระราชภคินีของสมเด็จพระนารายน์ |
”
|
๑๐๓ | |
พระยาวิไชเยนทร์เลื่อนเปนเจ้าพระยาที่สมุหนายก |
”
|
๑๐๓ | |
ให้พระยารามเดโชไปครองเมืองนครศรีธรรมราช |
”
|
๑๐๓ | |
พระยายมราชไปครองเมืองนครราชสิมา |
”
|
๑๐๓ | |
เจ้าพระยาวิไชเยนทร์ก่อตึกต่าง ๆ ที่เมืองลพบุรี |
”
|
๑๐๓ | |
เจ้าพระยาวิไชเยนทร์คิดจะเอาราชสมบัติ |
”
|
๑๐๓ | |
เจ้าพระยาวิไชเยนทร์ให้สึกภิกษุสามเณรเปนอันมาก |
”
|
๑๐๓ | |
หลวงสรศักดิ์ชกเจ้าพระยาวิไชเยนทร์ |
”
|
๑๐๔ | |
เจ้าแม่วัดดุสิตทูลขอโทษหลวงสรศักดิ์ |
”
|
๑๐๕ | |
เจ้าพระยาวิไชเยนทร์ชั่งปืนพระพิรุณ |
”
|
๑๐๗ | |
สร้างป้อมเมืองพิศณุโลก เมืองธนบุรี |
”
|
๑๐๘ | |
เสด็จพระพุทธบาททุกปี |
”
|
๑๐๙ | |
พระเพทราชาขี่ม้าพระที่นั่ง มีนิมิตร |
”
|
๑๐๙ | |
ช้างเผือกเจ้าพระยาบรมคเชนทรฉัททันต์ล้ม |
”
|
๑๑๑ | |
สมเด็จพระนารายน์ประชวรหนัก |
”
|
๑๑๑ | |
หลวงสรศักดิ์คิดเอาราชสมบัติ |
”
|
๑๑๑ | |
หลวงสรศักดิ์ชวนพระเพทราชาคิดเอาราชสมบัติ |
”
|
๑๑๒ | |
หลวงสรศักดิ์ขู่ขุนนางให้เข้าด้วย |
”
|
๑๑๓ | |
หลวงสรศักดิ์ยกพระเพทราชาให้เปนผู้รับราชสมบัติ |
”
|
๑๑๕ | |
ฆ่าเจ้าพระยาวิไชเยนทร์ |
น่า
|
๑๑๕ | |
สมเด็จพระนารายน์ทราบว่า พระเพทราชากับหลวงสรศักดิ์คิดจะเอาราชสมบัติ |
”
|
๑๑๖ | |
สมเด็จพระนารายน์ให้บวชชาวที่ชาววังในพระที่นั่ง |
”
|
๑๑๘ | |
สมเด็จพระนารายน์ทรงอุทิศที่พระมหาปราสาทเปนวิสุงคามสิมา |
”
|
๑๑๘ | |
หลวงสรศักดิ์ให้ฆ่าพระปีย์ |
”
|
๑๑๙ | |
สมเด็จพระนารายน์สวรรคต |
”
|
๑๒๐ | |
แผ่นดินสมเด็จพระมหาบุรุษ (พระเพทราชา) จุลศักราช ๑๐๔๔–๑๐๕๙ | |||
ปลงพระชนม์เจ้าฟ้าอภัยทศ |
น่า
|
๑๒๐ | |
พระเพทราชาเสวยราชย์ |
”
|
๑๒๑ | |
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศกครั้งที่ ๑ ที่เมืองลพบุรี |
”
|
๑๒๑ | |
ตั้งหลวงสรศักดิ์เปนกรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๑๒๑ | |
เชิญพระบรมศพกลับกรุง |
”
|
๑๒๒ | |
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศกครั้งที่ ๒ ที่ในกรุง |
”
|
๑๒๓ | |
สมโภชพระนคร |
”
|
๑๒๓ | |
เลียบพระนคร |
”
|
๑๒๔ | |
พระญาติวงษ์บ้านพลูหลวงเข้ามาเฝ้า |
”
|
๑๒๔ | |
ตั้งพระมเหษีทั้ง ๓ |
”
|
๑๒๖ | |
ตั้งลูกเธอหลานเธอ |
”
|
๑๒๖ | |
ตั้งนายจบคชประสิทธิเปนกรมพระราชวังหลัง |
น่า
|
๑๒๖ | |
ตั้งนายกรินทร์คชประสิทธิเปนเจ้าพระพิไชยสุรินทร์ |
”
|
๑๒๖ | |
ตั้งเจ้าราชนิกูล |
”
|
๑๒๖ | |
ให้เจ้าพระยาสุรสงครามมียศเท่ากรมพระราชวังหลัง |
”
|
๑๒๖ | |
เอาวังจันทร์เปนพระราชวังบวรฯ |
”
|
๑๒๗ | |
เรื่องกรมหลวงโยธาทิพ กรมหลวงโยธาเทพ |
”
|
๑๒๗ | |
ทำพระเมรุพระบรมศพ |
”
|
๑๒๗ | |
ถวายพระเพลิงพระบรมศพ |
”
|
๑๒๗ | |
ทำอุบายกำจัดกรมพระราชวังหลังแลเจ้าพระยาสุรสงคราม |
”
|
๑๒๙ | |
อ้ายธรรมเถียรปลอมตัวเปนเจ้าฟ้าอภัยทศยกเข้ามาตีกรุง |
”
|
๑๓๐ | |
จับอ้ายธรรมเถียรได้ |
”
|
๑๓๓ | |
พระยายมราชสังข์ตั้งแขงเมืองนครราชสิมา |
”
|
๑๓๔ | |
ให้พระยาสีหราชเดโชยกกองทัพไปตีเมืองนครราชสิมา |
”
|
๑๓๕ | |
ทัพกรุงตีเมืองนครราชสิมาไม่ได้ ขอกองทัพเพิ่มเติม |
”
|
๑๓๖ | |
ลงพระราชอาญาแม่ทัพนายกอง |
”
|
๑๓๖ | |
เตรียมกองทัพยกไปตีนครราชสิมาอิก |
”
|
๑๓๗ | |
ตึกดินระเบิด |
”
|
๑๓๗ | |
ท้าวทรงกันดาลอู่หนีไปอยู่เมืองนครราชสิมา |
”
|
๑๓๘ | |
ทัพกรุงได้เมืองนครราชสิมา |
”
|
๑๓๘ | |
พระยายมราชสังข์หนีไปอยู่เมืองนครศรีธรรมราช |
”
|
๑๓๘ | |
กรมหลวงโยธาทิพประสูตรเจ้าฟ้าพระขวัญ |
น่า
|
๑๓๙ | |
ถวายบ้านหลวงสร้างวัดบรมพุทธาราม |
”
|
๑๓๙ | |
ได้ข่าวเมืองนครศรีธรรมราชเตรียมกองทัพจะเข้าตีกรุง |
”
|
๑๔๐ | |
ให้พระยาสุรสงครามเปนแม่ทัพบก พระยาราชบังสันเปนแม่ทัพเรือ ไปตีเมืองนครศรีธรรมราช |
”
|
๑๔๑ | |
กองทัพบกรบพระยายมราชสังข์ที่ปลายแดนเมืองนครศรีธรรมราช |
”
|
๑๔๑ | |
ทัพกรุงถึงเมืองนครศรีธรรมราช |
”
|
๑๔๒ | |
เมืองนครศรีธรรมราชขัดเสบียง |
”
|
๑๔๔ | |
พระยารามเดโชขอเรือพระยาราชบังสัน |
”
|
๑๔๕ | |
พระยารามเดโชหนีจากเมืองนครศรีธรรมราช |
”
|
๑๔๗ | |
ทัพกรุงได้เมืองนครศรีธรรมราช |
”
|
๑๔๘ | |
ประหารชีวิตรพระยาราชบังสัน |
”
|
๑๔๙ | |
ให้หากองทัพกลับกรุง |
”
|
๑๔๙ | |
สร้างพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาศน์ |
”
|
๑๔๙ | |
ทำพระที่นั่งทรงปืนเปนที่เสด็จออกข้างท้ายวัง |
”
|
๑๕๐ | |
กรมหลวงโยธาเทพประสูตรเจ้าฟ้าตรัสน้อย |
”
|
๑๕๐ | |
แต่งราชทูตไปเมืองฝรั่งเศส |
”
|
๑๕๐ | |
ได้ช้างเผือกพังเมืองสวรรคโลกชื่อพระอินทไอยราพต |
”
|
๑๕๐ | |
ปฏิสังขรณ์วัดพระยาแมน |
”
|
๑๕๑ | |
ได้ช้างเผือกพังจากกรุงกัมพูชาชื่อพระบรมรัตนากาศ |
น่า
|
๑๕๒ | |
อ้ายบุญกว้างลาวตั้งตัวเปนผู้วิเศษ |
”
|
๑๕๔ | |
อ้ายบุญกว้างได้เมืองนครราชสิมา |
”
|
๑๕๔ | |
อ้ายบุญกว้างยกมาตั้งเมืองลพบุรี |
”
|
๑๕๕ | |
ให้พระยาสุรเสนายกทัพไปรบอ้ายบุญกว้าง |
”
|
๑๕๖ | |
จับอ้ายบุญกว้างได้ที่เมืองลพบุรี |
”
|
๑๕๖ | |
เสด็จพระพุทธบาท |
”
|
๑๕๗ | |
พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตทูลถวายพระแก้วฟ้าราชธิดา |
”
|
๑๖๐ | |
พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตขอกองทัพไปช่วยต่อสู้ทัพหลวงพระบาง |
”
|
๑๖๐ | |
ให้พระยานครราชสิมายกกองทัพไปห้ามศึกหลวงพระบาง |
”
|
๑๖๑ | |
กองทัพหลวงพระบางเลิกไป |
”
|
๑๖๒ | |
พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตส่งพระแก้วฟ้ามาถวาย |
”
|
๑๖๓ | |
กรมพระราชวังบวรฯ ชิงพระแก้วฟ้า |
”
|
๑๖๓ | |
โสกันต์เจ้าฟ้าพระขวัญ |
”
|
๑๖๓ | |
พระเจ้าแผ่นดินประชวรหนัก |
”
|
๑๖๕ | |
กรมพระราชวังบวรฯ ปลงพระชนม์เจ้าฟ้าพระขวัญ |
”
|
๑๖๕ | |
กรมหลวงโยธาทิพกราบทูลข่าวเจ้าฟ้าพระขวัญสิ้นพระชนม์ |
”
|
๑๖๖ | |
พระเจ้าแผ่นดินมอบราชสมบัติแก่เจ้าพระพิไชยสุรินทร์ราชนิกูล |
”
|
๑๖๗ | |
พระเจ้าแผ่นดินสวรรคต |
”
|
๑๖๗ | |
แผ่นดินสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๘ (พระเจ้าเสือ) จุลศักราช ๑๐๕๙–๑๐๖๘ | |||
เจ้าพระพิไชยสุรินทร์ถวายราชสมบัติแก่กรมพระราชวังบวรฯ |
น่า
|
๑๖๙ | |
ทำพระราชพิธีราชาภิเศก |
”
|
๑๗๑ | |
ตั้ง (เจ้าฟ้าเพ็ชร์เปน) กรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๑๗๒ | |
ตั้ง (เจ้าฟ้าพรเปน) พระบัณฑูรน้อย |
”
|
๑๗๒ | |
ถวายพระเพลิงพระบรมศพ |
”
|
๑๗๒ | |
สร้างวัดโพธิ์ประทับช้างแขวงเมืองพิจิตร |
”
|
๑๗๓ | |
เสด็จไปฉลองวัดโพธิ์ประทับช้าง |
”
|
๑๗๔ | |
ฟ้าผ่าไฟไหม้มณฑปพระมงคลบพิตร ๆ พระเศียรหัก |
”
|
๑๗๔ | |
แปลงมณฑปพระมงคลบพิตรเปนมหาวิหาร |
”
|
๑๗๔ | |
ตั้งพระมเหษีกลางแผ่นดินก่อนเปนกรมพระเทพามาตย์ ออกไปอยู่ตำหนักวัดดุสิต |
”
|
๑๗๕ | |
กรมหลวงโยธาทิพ กรมหลวงโยธาเทพ ออกไปอยู่ตำหนักวัดพุทไธสวรรย์ |
”
|
๑๗๕ | |
ประวัติเจ้าฟ้าตรัสน้อยแต่โสกันต์จนทรงผนวชพระ |
”
|
๑๗๕ | |
พระนามลูกเธอใน ๒ รัชกาล |
”
|
๑๗๖ | |
คล้องได้ช้างงาสั้นชื่อพระบรมไตรจักร |
”
|
๑๗๗ | |
สร้างมณฑป ๕ ยอดที่พระพุทธบาท |
”
|
๑๗๗ | |
เสด็จพระพุทธบาท |
”
|
๑๗๗ | |
สมเด็จพระสังฆราชไปช่วยเปนแม่การ |
”
|
๑๗๗ | |
ลักษณประพาศของพระเจ้าแผ่นดิน |
”
|
๑๗๘ | |
มณฑปพระพุทธบาทค้างการทองแลประดับกระจก |
น่า
|
๑๗๘ | |
เสด็จไปชกมวยที่เมืองวิเศษไชยชาญ |
”
|
๑๗๘ | |
เสด็จไปล้อมช้างที่เมืองนครสวรรค์ |
”
|
๑๘๐ | |
ให้พระบัณฑูรทั้ง ๒ ทำถนนข้ามบึงหูกวาง |
”
|
๑๘๑ | |
ช้างพระที่นั่งถลำหล่มที่ถนนบึงหูกวาง |
”
|
๑๘๒ | |
ทรงพระพิโรธพระบัณฑูรทั้ง ๒ |
”
|
๑๘๒ | |
ลงพระราชอาญาพระบัณฑูรทั้ง ๒ |
”
|
๑๘๓ | |
พระบัณฑูรทั้ง ๒ ให้เชิญเสด็จกรมพระเทพามาตย์ |
”
|
๑๘๓ | |
กรมพระเทพามาตย์เสด็จขึ้นไปทูลขอโทษให้พระบัณฑูร |
”
|
๑๘๔ | |
พระบัณฑูรพ้นโทษ |
”
|
๑๘๕ | |
เรื่องพระองค์เจ้าที่เปนธิดาเจ้าพระบำเรอภูธร |
”
|
๑๘๖ | |
เจ้าฟ้าพระราชธิดาสิ้นพระชนม์ |
”
|
๑๘๗ | |
ความกักขละของพระเจ้าแผ่นดิน |
”
|
๑๘๗ | |
เสด็จประพาศเมืองเพ็ชรบุรีแลชายทเล |
”
|
๑๘๘ | |
เสด็จประพาศปากน้ำเมืองสาครบุรี |
”
|
๑๘๘ | |
หัวเรือพระที่นั่งโดนหักที่โคกขาม |
”
|
๑๘๘ | |
เรื่องพันท้ายนรสิงห์ |
”
|
๑๘๘ | |
ให้พระราชสงครามขุดคลองโคกขาม |
”
|
๑๙๐ | |
ตำนานการขุดคลองครั้งกรุง |
”
|
๑๙๑ | |
เสด็จพระพุทธบาท |
”
|
๑๙๒ | |
เสด็จนมัสการพระฉายที่เขาปัถวี |
”
|
๑๙๔ | |
เสด็จนมัสการพระเจดีย์เขาพนมโยง |
”
|
๑๙๔ | |
ประชวรลงกลางทาง ต้องเสด็จกลับ |
น่า
|
๑๙๔ | |
การขุดคลองโคกขามค้างอยู่ครึ่งหนึ่ง |
”
|
๑๙๔ | |
มอบราชสมบัติแก่กรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๑๙๔ | |
พระเจ้าแผ่นดินสวรรคต |
”
|
๑๙๔ | |
แผ่นดินสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๙ (พระเจ้าท้ายสระ) จุลศักราช ๑๐๖๘–๑๐๙๔ | |||
จัดการพระบรมศพ |
น่า
|
๑๙๕ | |
ทำพระราชพิธีราชาภิเศก |
”
|
๑๙๖ | |
ตั้งพระบัณฑูรน้อยเปนกรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๑๙๖ | |
พระอัธยาไศรยของพระเจ้าแผ่นดิน |
”
|
๑๙๖ | |
ประหารชีวิตรพระองค์เจ้าดำ |
”
|
๑๙๗ | |
ถวายพระเพลิงพระบรมศพ |
”
|
๑๙๗ | |
ปิดทองประดับกระจกแผ่นใหญ่ฝามณฑปพระพุทธบาทที่ค้างอยู่ |
”
|
๑๙๘ | |
เสด็จพระพุทธบาท |
”
|
๑๙๘ | |
กรมพระเทพามาตย์สวรรคต |
”
|
๑๙๘ | |
นักแก้วฟ้าจอกไปพาญวนมาตีกรุงกัมพูชา |
”
|
๑๙๙ | |
เจ้ากรุงกัมพูชาหนีเข้ามาพึ่งพระบารมี |
”
|
๑๙๙ | |
ให้เจ้าพระยาจักรี (โรงฆ้อง) คุมกองทัพบก พระยาโกษา (จีน) ยกกองทัพเรือไปตีกรุงกัมพูชา |
”
|
๒๐๐ | |
ทัพเรือเสียทีแก่ข้าศึก |
”
|
๒๐๑ | |
ทัพบกตีเข้าไปได้ถึงเมืองหลวง |
น่า
|
๒๐๒ | |
เจ้าพระยาจักรีเกลี้ยกล่อมนักพระแก้วฟ้ายอมสวามิภักดิ์ |
”
|
๒๐๒ | |
พระนามเจ้าฟ้าลูกเธอที่มีด้วยพระอรรคมเหษี |
”
|
๒๐๓ | |
ปฏิสังขรณ์วัดมเหยงค์ |
”
|
๒๐๓ | |
กรมพระราชวังปฏิสังขรณ์วัดกุฎีดาว |
”
|
๒๐๔ | |
ฉลองวัดมเหยงค์ |
”
|
๒๐๔ | |
ต่อกำปั่นไตรมุขบรรทุกช้างเมืองมฤตไปขายเมืองเทศ |
”
|
๒๐๔ | |
กรมพระราชวังบวรฯ ฉลองวัดกุฎีดาว |
”
|
๒๐๔ | |
กรมหลวงโยธาทิพสิ้นพระชนม์ |
”
|
๒๐๕ | |
ขุดคลองโคกขามที่ยังค้าง |
”
|
๒๐๕ | |
ให้พระธนบุรีขุดคลองเกร็ด |
”
|
๒๐๖ | |
เสด็จโพนช้างแขวงเมืองนครนายก |
”
|
๒๐๖ | |
ช้างที่นั่งกรมพระราชวังบวรฯ แทงท้ายช้างพระที่นั่ง |
”
|
๒๐๗ | |
เสด็จพระพุทธบาท |
”
|
๒๐๗ | |
กรมพระราชวังบวรฯ ปฏิญาณที่พระพุทธบาท |
”
|
๒๐๘ | |
น้ำเซาะวัดพระนอนปาโมกข์ |
”
|
๒๐๘ | |
พระยาราชสงครามอาสาขลอพระนอน |
”
|
๒๐๙ | |
ชลอพระนอนปาโมกข์ |
”
|
๒๑๐ | |
สร้างวัดปาโมกข์ใหม่ |
”
|
๒๑๐ | |
พระเจ้าแผ่นดินประชวรหนัก |
”
|
๒๑๐ | |
มอบราชสมบัติแก่เจ้าฟ้าอภัย |
”
|
๒๑๑ | |
กรมพระราชวังบวรฯ ไม่เต็มพระไทยให้ราชสมบัติเจ้าฟ้าอภัย |
”
|
๒๑๑ | |
เจ้าฟ้าอภัยกับกรมพระราชวังบวรฯ เตรียมรบกัน |
น่า
|
๒๑๑ | |
พระเจ้าแผ่นดินสวรรคต |
”
|
๒๑๑ | |
แผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ (พระบรมโกษ) จุลศักราช ๑๐๙๔–๑๑๒๐ | |||
เจ้าฟ้าอภัยกับกรมพระราชวังบวรฯ รบกันกลางพระนคร |
น่า
|
๒๑๒ | |
พระธนบุรีอาสาเจ้าฟ้าอภัย ขุนชำนาญอาสากรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๒๑๒ | |
ขุนชำนาญฟันพระธนบุรีตายในที่รบ |
”
|
๒๑๓ | |
เจ้าฟ้าอภัย เจ้าฟ้าปรเมศวร์ หนี |
”
|
๒๑๓ | |
ขุนชำนาญตามจับเจ้าฟ้าอภัย เจ้าฟ้าปรเมศวร์ ได้ |
”
|
๒๑๔ | |
สำเร็จโทษเจ้าฟ้าอภัย เจ้าฟ้าปรเมศวร์ |
”
|
๒๑๕ | |
พระองค์แก้วหนีเจ้าฟ้าอภัยมาเข้ากับกรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๒๑๕ | |
กรมพระราชวังบวรฯ อุบายสำเร็จโทษพระองค์แก้ว |
”
|
๒๑๕ | |
ยกโทษนายด้วง มหาดเล็กเจ้าฟ้าอภัย |
”
|
๒๑๖ | |
ให้แขกจามแทงพระพิไชยราชาแลพระยายมราช (พูน) ที่หนีบวช |
”
|
๒๑๖ | |
ยกโทษหมื่นราชประสิทธิกรรม์ประทานปขาวจันเพ็ชร |
”
|
๒๑๖ | |
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศกในพระราชวังบวรฯ |
”
|
๒๑๗ | |
ตั้งขุนชำนาญเปนเจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ ที่โกษาธิบดี |
”
|
๒๑๗ | |
ตั้งหลวงจ่าแสนยากรเปนเจ้าพระยาอภัยมนตรี ที่สมุหนายก |
”
|
๒๑๘ | |
ตั้งพระยาราชสงคราม ที่สมุหนายก เปนเจ้าพระยาราชนายก ที่สมุหกระลาโหม |
น่า
|
๒๑๘ | |
ตั้งพระมเหษีใหญ่เปนกรมหลวงอภัยนุชิต |
”
|
๒๑๘ | |
ตั้งพระมเหษีน้อยเปนกรมหลวงพิพิธมนตรี |
”
|
๒๑๘ | |
ตั้งเจ้าฟ้าแลพระองค์เจ้าลูกเธอ |
”
|
๒๑๘ | |
พระนามเจ้าฟ้าลูกเธอ |
”
|
๒๑๙ | |
ทรงขัดแค้นจะไม่ทำพระบรมศพ |
”
|
๒๑๙ | |
ขัดเจ้าพระยาราชนายกไม่ได้ จึงทำ |
”
|
๒๑๙ | |
ฉลองวัดป่าโมก |
”
|
๒๒๐ | |
เสด็จไปล้อมช้างที่เมืองลพบุรี |
”
|
๒๒๐ | |
เวลาเสด็จไม่อยู่ พวกจีนบ้านนายก่ายเข้าปล้นพระราชวัง |
”
|
๒๒๑ | |
เจ้าฟ้าพระตรัสน้อยเข้ามาช่วยป้องกันพระราชวัง |
”
|
๒๒๑ | |
ทรงแคลงเจ้าฟ้าตรัสน้อย |
”
|
๒๒๒ | |
เจ้าฟ้าตรัสน้อยขึ้นไปเฝ้าทูลชี้แจงจนสิ้นทรงสงไสย |
”
|
๒๒๒ | |
เปลี่ยนเครื่องบนพระที่นั่งสรรเพชญ์ปราสาท |
”
|
๒๒๒ | |
เจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์ฟันเจ้าฟ้ากรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ที่ทรงผนวช |
”
|
๒๒๒ | |
เจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์หนีพระราชอาญาไปทรงผนวช |
”
|
๒๒๓ | |
สำเร็จโทษพระองค์เจ้าชื่น พระองค์เจ้าเกิด ที่ร่วมคิดกับเจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์ |
”
|
๒๒๓ | |
ได้ช้างเผือกพังแต่กรุงกัมพูชาชื่อ พระวิเชียรหัศดิน |
”
|
๒๒๓ | |
ให้ปิดทองเครื่องบนพระที่นั่งสรรเพชญ์ปราสาท |
”
|
๒๒๔ | |
เปลี่ยนเครื่องบนพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาศน์ พระที่นั่งสุริยามรินทร์ |
น่า
|
๒๒๔ | |
กรมหลวงโยธาเทพสิ้นพระชนม์ |
”
|
๒๒๔ | |
กรมหลวงอภัยนุชิตประชวรหนัก ทูลขอโทษเจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์ |
”
|
๒๒๕ | |
กรมหลวงอภัยนุชิตสิ้นพระชนม์ |
”
|
๒๒๕ | |
ฉลองวัดหารตรา |
”
|
๒๒๕ | |
เสด็จพระบาททุกปี |
”
|
๒๒๖ | |
เสด็จเมืองพิศณุโลก |
”
|
๒๒๖ | |
เสด็จนมัสการพระแท่นศิลาอาศน์และพระฝาง |
”
|
๒๒๖ | |
ตั้งเจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์เปนกรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๒๒๖ | |
ตั้งเจ้าฟ้าอินทสุดาวดีเปนกรมขุนยิสารเสนี มเหษีกรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๒๒๖ | |
ปฏิสังขรร์วัดพระศรีสรรเพชญ์ |
”
|
๒๒๖ | |
ต่อพระเศียรพระมงคลบพิตร แลแปลงมณฑปเปนมหาวิหาร |
”
|
๒๒๖ | |
ปฏิสังขรณ์วัดพระราม |
”
|
๒๒๗ | |
เปลี่ยนเครื่องบนพระวิหารสมเด็จ |
”
|
๒๒๗ | |
เจ้าพระอภัยมนตรี ที่สมุหนายก ถึงอสัญกรรม เลื่อนพระยาราชภักดีเปนสมุหนายก |
”
|
๒๒๗ | |
แต่งข้าหลวงออกเที่ยวเกลี้ยกล่อมเลขที่กระจัดพลัดพราย |
”
|
๒๒๗ | |
ได้ช้างพลายงาสั้นเมืองนครศรีธรรมราชชื่อ พระบรมนาเคนทร์ |
”
|
๒๒๘ | |
ได้ช้างพลายงาสั้นเมืองไชยาชื่อ พระบรมวิไชยคเชนทร์ |
น่า
|
๒๒๘ | |
ได้ช้างพลายงาสั้นเมืองนครศรีธรรมราชชื่อ พระบรมจักรพาฬ |
”
|
๒๒๘ | |
สมิงแซงมูได้เมืองหงษาวดี ตั้งแขงเมืองต่อพระเจ้าอังวะ |
”
|
๒๒๘ | |
สมิงแซงมูตั้งกวยคนหนึ่งซึ่งเปนบุตรเขยเปนสมิงทอ |
”
|
๒๒๙ | |
พม่าเจ้าเมืองกรมการเมืองเมาะตมะอพยพครัวหนีมอญเข้ามาพึ่งพระบารมี |
”
|
๒๒๙ | |
เพลิงไหม้พระราชวังบวรฯ จึงเสด็จเข้ามาอยู่วังหลวง |
”
|
๒๒๙ | |
สร้างวังน่าใหม่พระราชทานกรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๒๓๐ | |
พระเจ้าอังวะแต่งทูตเจ้ามาขอบพระคุณที่ทรงรับเลี้ยงพม่าเมืองเมาะตมะ |
”
|
๒๓๐ | |
ราชทูตพม่าไม่ไหว้เสนาบดีก่อนเฝ้า ทรงเห็นชอบ |
”
|
๒๓๐ | |
ให้กลับใช้ธรรมเนียมเก่า ให้มหาดเล็กต้นรับสั่งขี่ฅอตำรวจวังไปสั่งราชการ |
”
|
๒๓๑ | |
ให้ราชทูตไทยไปตอบเมืองพม่า |
”
|
๒๓๑ | |
พระยาหงษาวดีล้อมเมืองอังวะ |
”
|
๒๓๑ | |
ราชทูตพม่าลวงรามัญว่าไทยจะไปช่วย |
”
|
๒๓๑ | |
ทัพหงษาวดีขัดเสบียงเลิกกลับ |
”
|
๒๓๒ | |
ปฏิสังขรณ์วัดภูเขาทอง |
”
|
๒๓๒ | |
เสด็จเมืองลพบุรี |
”
|
๒๓๒ | |
จับนักโสมเขมรตั้งซ่อง |
”
|
๒๓๒ | |
เมืองนครศรีธรรมราชบอกข่าวช้างสีปลาด |
”
|
๒๓๒ | |
เรื่องทำโรงรับช้างรายทางเปนโรงยอดไม่ต้องพระไทย |
”
|
๒๓๒ | |
ประทานชื่อช้างสีปลาดว่า พระบรมคชลักษณ |
น่า
|
๒๓๓ | |
พระยาหงสาวดีตีได้เมืองอังวะ |
”
|
๒๓๓ | |
มังลองพม่าตั้งตัวเปนใหญ่ |
”
|
๒๓๓ | |
มังลองพม่าตีได้เมืองอังวะ |
”
|
๒๓๓ | |
มังลองตั้งเมืองรัตนสิงคขึ้นที่บ้านมุกโชโบ |
”
|
๒๓๔ | |
พระยาหงษาวดีแต่งกองทัพไปตีเมืองอังวะ |
”
|
๒๓๔ | |
กองทัพหงษาวดีแพ้มังลอง |
”
|
๒๓๔ | |
พระยาพระรามกับรามัญพรรคพวกหนีพระยาหงษาวดีเข้ามาพึ่งพระบารมี |
”
|
๒๓๕ | |
พบบ่อทองบางสพาน |
”
|
๒๓๖ | |
ทรงบำเพ็ญมหาทาน |
”
|
๒๓๖ | |
เสด็จพระพุทธบาท |
”
|
๒๓๖ | |
สมิงทอหนีพระยาหงษาวดีมาพึ่งพระบารมี |
”
|
๒๓๗ | |
ทรงแคลงสมิงทอ ให้จำคุกไว้ |
”
|
๒๓๗ | |
กรมหมื่นอินทรภักดีสิ้นพระชนม์ |
”
|
๒๓๗ | |
นักพระสถาองค์อิงพาญวนเข้ามาตีกรุงกัมพูชา |
”
|
๒๓๗ | |
นักพระรามาธิบดีกับนักพระศรีไชยเชฐหนีเข้ามาพึ่งพระบารมี |
”
|
๒๓๗ | |
เตรียมทัพจะยกไปตีกรุงกัมพูชา |
”
|
๒๓๘ | |
พระยาพระรามรามัญคิดอุบายอาสาแล้วหนี |
”
|
๒๓๘ | |
จับพระยาพระรามประหารชีวิตร |
”
|
๒๓๘ | |
พระยาราชสุภาวดียกกองทัพไปกรุงกัมพูชา |
”
|
๒๓๘ | |
นักพระสถายอมอ่อนน้อม จึงเลิกกองทัพกลับ |
”
|
๒๓๘ | |
นักพระสถาองค์อิงพิราไลย โปรดให้นักพระรามาธิบดีไปครองกรุงกัมพูชา |
น่า
|
๒๓๘ | |
ให้เอาตัวสมิงทอไปปล่อยเสียเมืองกวางตุ้ง |
”
|
๒๓๙ | |
พระเจ้ากรุงลังกาทูลขอพระสงฆ์ |
”
|
๒๓๙ | |
ให้พระอุบาฬี พระอริยมุนี ไปลังกา |
”
|
๒๓๙ | |
เจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ถึงอสัญกรรม ทำศพอย่างเจ้าต่างกรม |
”
|
๒๔๐ | |
เสด็จไปล้อมช้างเมืองลพบุรี |
”
|
๒๔๐ | |
เสด็จนมัสการพระนอนจักรศรีแลพระนอนขุนอินทรประมูล |
”
|
๒๔๐ | |
ฉลองวัดนางคำ |
”
|
๒๔๑ | |
ให้พระนั่งกรรมฐานห้าฝน |
”
|
๒๔๑ | |
กรมพระราชวังบวรฯ จับเจ้ากรมปลัดกรมเจ้า ๓ กรมไปลงพระอาญา |
”
|
๒๔๑ | |
กรมหมื่นสุนทรเทพกล่าวโทษเจ้ากรมพระราชวังบวรฯ ว่าเปนชู้กับเจ้าฟ้านิ่มกับเจ้าฟ้าสังวาล |
”
|
๒๔๒ | |
จับกรมพระราชวังบวรฯ ชำระเปนสัตย์ |
”
|
๒๔๒ | |
ลงพระราชอาญากรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๒๔๓ | |
ถอดกรมพระราชวังบวรฯ เจ้าฟ้านิ่ม เจ้าฟ้าสังวาล ลงเปนไพร่ |
”
|
๒๔๓ | |
กรมพระราชวังบวรฯ เจ้าฟ้าสังวาล สิ้นพระชนม์ในระหว่างโทษ |
”
|
๒๔๔ | |
เจ้าพระยาราชนายก เจ้าพระยาราชภักดี ถึงอสัญกรรม |
”
|
๒๔๔ | |
ตั้งพระยาราชสุภาวดี (บ้านประตูจีน) เปนเจ้าพระยาอภัยราชาที่สมุหนายก |
น่า
|
๒๔๔ | |
ตั้งพระยาธรรมไตรโลก (บ้านคลองแกลบ) เปนเจ้าพระยามหาเสนาที่สมุหพระกระลาโหม |
”
|
๒๔๔ | |
ตั้งพระยาบำเรอภักดิ์เปนพระยารัตนาธิเบศร์ว่ากรมวัง |
”
|
๒๔๔ | |
เสด็จไปฉลองพระนอนจักรศรี |
”
|
๒๔๔ | |
ได้ช้างงาสั้นเมืองนครไชยศรีชื่อ พระบรมไตรจักร |
”
|
๒๔๔ | |
กรมหมื่นเทพพิพิธกับเสนาบดีทูลขอให้เจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิตเปนกรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๒๔๕ | |
เจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิตขอให้เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีเปนกรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๒๔๕ | |
รับสั่งให้เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีไปทรงผนวชเสีย |
”
|
๒๔๕ | |
อุปราชาภิเศกเจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต |
”
|
๒๔๕ | |
กรมพระราชวังบวรฯ อยู่ในพระราชวังหลวง |
”
|
๒๔๖ | |
เรื่องปล่อยช้างต้นพระบรมจักรพาฬถวายพระพุทธบาท |
”
|
๒๔๖ | |
พระมหาธาตุวัดบวรโพธิ์พัง |
”
|
๒๔๖ | |
พระเจ้าแผ่นดินประชวรหนัก |
”
|
๒๔๗ | |
มอบราชสมบัติแก่กรมพระราชวังบวรฯ |
”
|
๒๔๗ | |
เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีลอบลาผนวชเข้ามาอยู่ในพระราชวัง |
”
|
๒๔๗ | |
พระเจ้าแผ่นดินสวรรคต |
”
|
๒๔๘ | |
แผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔ (กรมขุนพรพินิต) จุลศักราช ๑๑๒๐ ๑๐ วัน | |||
เจ้า ๓ กรมวุ่นวาย |
น่า
|
๒๔๘ | |
กรมพระราชวังบวรฯ ให้พระราชาคณะไปว่ากล่าวเจ้า ๓ กรม |
”
|
๒๔๙ | |
เจ้า ๓ กรมมาเฝ้าทำสัตย์ถวาย |
”
|
๒๔๙ | |
จัดการพระบรมศพ |
”
|
๒๔๙ | |
จับเจ้า ๓ กรม |
”
|
๒๔๙ | |
สำเร็จโทษเจ้า ๓ กรม |
”
|
๒๕๐ | |
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศก |
”
|
๒๕๐ | |
เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีปราถนาราชสมบัติ |
”
|
๒๕๐ | |
พระเจ้าแผ่นดินถวายราชสมบัติเจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรี |
”
|
๒๕๑ | |
พระเจ้าแผ่นดินไปทรงผนวชอยู่วัดประดู่ |
”
|
๒๕๑ | |
แผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาที่ ๓ (พระที่นั่งสุริยามรินทร์) จุลศักราช ๑๑๒๐–๑๑๒๙ | |||
ทำพระราชพิธีราชาภิเศก |
น่า
|
๒๕๑ | |
กรมหมื่นเทพพิพิธออกทรงผนวชอยู่วัดกระโจม |
”
|
๒๕๑ | |
ตั้งกรมหลวงพิพิธมนตรี สมเด็จพระพันปีหลวง เปนกรมพระเทพามาตย์ |
”
|
๒๕๑ | |
ตั้งพระองค์อาทิตย์เปนกรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์ |
”
|
๒๕๒ | |
ตั้งนายปิ่น พี่พระสนมเอก เปนพระยาราชมนตรีบริรักษ์ จางวางมหาดเล็ก |
น่า
|
๒๕๒ | |
ตั้งนายฉิม น้องนายปิ่น เปนจมื่นศรีสรรักษ์ |
”
|
๒๕๒ | |
สมเด็จพระพันปีหลวงสวรรคต |
”
|
๒๕๒ | |
ความหยาบช้าของพระยาราชมนตรี (ปิ่น) |
”
|
๒๕๒ | |
เจ้าพระยาอภัยราชาคิดจะเชิญพระเจ้าแผ่นดินที่ทรงผนวชกลับมาครองราชสมบัติ |
”
|
๒๕๒ | |
เจ้าพระยาอภัยราชากับผู้ร่วมคิดไปปฤกษากับกรมหมื่นเทพพิพิธ |
”
|
๒๕๓ | |
กรมหมื่นเทพพิพิธกับผู้ร่วมคิดพากันไปทูลพระเจ้าแผ่นเินที่ทรงผนวช |
”
|
๒๕๓ | |
พระเจ้าแผ่นเินที่ทรงผนวชทูลความให้สมเด็จพระเชษฐาธิราชทราบ |
”
|
๒๕๓ | |
จับเจ้าพระยาอภัยราชา พระยายมราช พระยาเพ็ชรบุรี แลนายจุ้ย ผู้ร่วมคิด |
”
|
๒๕๓ | |
กรมหมื่นเทพพิพิธหนีไปตั้งค่ายอยู่วัดพระเจ้าพแนงเชิง |
”
|
๒๕๔ | |
อุบายจับกรมหมื่นเทพพิพิธได้ |
”
|
๒๕๔ | |
ส่งพระวิสุทธาจารย์ พระวรญาณมุนี ไปเปลี่ยนพระอุบาฬี พระอริยมุนี ที่ลังกาทวีป |
”
|
๒๕๔ | |
ให้เอากรมหมื่นเทพพิพิธฝากไปปล่อยลังกาทวีป |
”
|
๒๕๕ | |
ถวายพระเพลิงพระบรมศพ |
”
|
๒๕๕ | |
มังลองตั้งตัวเปนพระเจ้าอลองพราญี |
”
|
๒๕๕ | |
พระเจ้าอลองพราญีตีเมืองหงษาวดี |
น่า
|
๒๕๖ | |
พระยาหงษาวดียอมอ่อนน้อมต่อพระเจ้าอลอง |
”
|
๒๕๗ | |
พระเจ้าอลองงดการรบ |
”
|
๒๕๗ | |
ขุนนางมอญไม่ยอมอ่อนน้อม คบกันออกปล้นค่ายพม่า |
”
|
๒๕๗ | |
พระเจ้าอลองกลับตีเมืองหงษาวดี |
”
|
๒๕๗ | |
พระเจ้าอลองได้เมืองหงษาวดี |
”
|
๒๕๘ | |
ฟ้าผ่าเมืองรัตนสิงควันเดียว ๑๖ แห่ง |
”
|
๒๕๙ | |
พระเจ้าอลองยกมาตีกรุงศรีอยุทธยา |
”
|
๒๕๙ | |
ได้ข่าวทัพพม่าตีได้เมืองทวาย |
”
|
๒๖๐ | |
ให้พระยายมราช พระยารัตนาธิเบศร์ ยกไปตั้งรับพม่าที่เมืองกุย |
”
|
๒๖๐ | |
ขุนรองปลัด (ชู) กับไพร่ ๔๐๐ รับอาสาศึกตั้งเปนกองอาจสามารถไปรบพม่า |
”
|
๒๖๐ | |
เกณฑ์เลขมารักษาพระนครแลย้ายครัวเข้าป่า |
”
|
๒๖๐ | |
พม่าตีได้เมืองมฤต เมืองตนาวศรี |
”
|
๒๖๑ | |
ทัพพระยายมราชแตกพม่า |
”
|
๒๖๑ | |
ขุนรองปลัด (ชู) รบพม่า |
”
|
๒๖๑ | |
พระยารัตนาธิเบศร์ยกหนีพม่า |
”
|
๒๖๑ | |
ทัพพม่าเข้ามาถึงเมืองสุพรรณบุรี |
”
|
๒๖๒ | |
ขุนนางแลราษฎรเชิญพระเจ้าอุทุมพรให้ลาผนวช |
”
|
๒๖๒ | |
พระเจ้าอุทุมพรลาผนวชออกมาบัญชาการรักษาพระนคร |
”
|
๒๖๒ | |
กวาดครัวเข้าพระนคร |
”
|
๒๖๒ | |
ก่อกำแพงเมืองริมน้ำข้างวังอิกชั้น ๑ |
น่า
|
๒๖๒ | |
ให้เจ้าพระยามหาเสนาเปนแม่ทัพไปตั้งรับพม่าที่ลำน้ำเอกราช |
”
|
๒๖๒ | |
จับพระยามนตรีจับจมื่นศรีสรรักษ์ลงพระราชอาญา |
”
|
๒๖๒ | |
กองทัพไทยที่ลำน้ำเอกราชแตกพม่า |
”
|
๒๖๓ | |
พระเจ้าอลองเข้ามาตั้งบางกุ่ม บ้านกระเดื่อง |
”
|
๒๖๓ | |
พวกจีนบ้านนายก่ายเข้ามาอาสารบพม่า |
”
|
๒๖๓ | |
ให้จมื่นทิพเสนายกกองทัพหนุนทัพจีน |
”
|
๒๖๔ | |
กองจีนแลจมื่นทิพเสนาแตกพม่า |
”
|
๒๖๔ | |
พม่าเข้ามาตั้งถึงพเนียด |
”
|
๒๖๔ | |
ถอยเรือหลวงแลเรือลูกค้าหลบพม่าไปรวมไว้ท้ายคู |
”
|
๒๖๔ | |
พม่าตามไปเผาเรือแลฆ่าคนที่หลบหนีไปอยู่ท้ายคู |
”
|
๒๖๔ | |
พม่าเอาปืนใหญ่ตั้งที่วัดราชพฤกษ์ วัดกระษัตรา ยิงเข้าไปในเมือง |
”
|
๒๖๔ | |
พม่าเอาปืนใหญ่ตั้งวัดน่าพระเมรุยิงเข้าไปในวัง |
”
|
๒๖๕ | |
พระเจ้าอลองถูกปืนแตก เลิกทัพพม่ากลับไปทางเหนือ |
”
|
๒๖๕ | |
พระเจ้าอลองสิ้นพระชนม์ที่ตำบลเมาะกะโลก |
”
|
๒๖๕ | |
ให้พระยายมราช พระยาสีหราชเดโช ตามทัพพม่าไม่ทัน |
”
|
๒๖๕ | |
มังระ ราชบุตร ถวายพระเพลิงศพพระเจ้าอลอง |
”
|
๒๖๕ | |
แมงละแมงข่อง แม่ทัพหลังพม่า คิดขบถ ยึดเมืองอังวะ ตั้งแขงเมือง |
”
|
๒๖๖ | |
มังลอก ราชบุตรใหญ่ ได้ข่าวว่า รามัญเปนขบถ ให้ฆ่ารามัญในเมืองรัตนสิงคเสียเปนอันมาก |
”
|
๒๖๖ | |
มังลอกให้โหรทำนายหาตัวแม่ทัพปราบแมงละแมงข่อง |
น่า
|
๒๖๖ | |
ได้รามัญชื่อ หยั่งมิ ต้องลักษณเปนแม่ทัพ |
”
|
๒๖๖ | |
พม่าตีเมืองอังวะไม่ได้ |
”
|
๒๖๗ | |
หยั่งมิทำวิทยาคมรบชนะแมงละแมงข่อง |
”
|
๒๖๗ | |
มังลอกเสวยราชย์เปนพระเจ้ากรุงพม่า |
”
|
๒๖๙ | |
เจ้าเมืองตองอูแขงเมือง พระเจ้ามังลอกตีได้เมืองตองอู |
”
|
๒๖๙ | |
ไทยขุดเก็บปืนในค่ายพม่า |
”
|
๒๖๙ | |
พระเจ้าอุทุมพรถวายพระองค์เจ้าแมลงเม่าเปนพระมเหษีสมเด็จพระเชษฐาธิราช |
”
|
๒๗๐ | |
พระเจ้าแผ่นดินแสดงความไม่พอพระไทยในพระเจ้าอุทุมพร |
”
|
๒๗๐ | |
พระเจ้าอุทุมพรออกทรงผนวชเสียอิก |
”
|
๒๗๐ | |
ซ่อมแซมพระที่นั่งสุริยามรินทร์ |
”
|
๒๗๐ | |
พวกรามัญสวามิภักดิ์อพยพหนี แล้วเข้าตีเมืองนครนายก |
”
|
๒๗๐ | |
ให้พระยาสีหราชเดโชเปนแม่ทัพไปปราบพวกรามัญ |
”
|
๒๗๐ | |
พวกรามัญเอาไม้ขว้างทัพพระยาสีหราชเดโชแตก |
”
|
๒๗๐ | |
ให้พระยายมราช พระยาเพ็ชรบุรี ยกไปปราบรามัญ |
”
|
๒๗๑ | |
พวกรามัญแตกหนีไปทางเมืองหล่มศักดิ์ |
”
|
๒๗๑ | |
น้ำแดงครั้งที่ ๑ |
”
|
๒๗๑ | |
พระเจ้ามังลองให้กองทัพมาตีเมืองเชียงใหม่ |
”
|
๒๗๑ | |
เจ้าเมืองลำพูนไชยหนีพม่ามาพึ่งพระบารมี |
”
|
๒๗๑ | |
พระยาจันท์ เจ้าเมืองเชียงใหม่ สวามิภักดิ์ ขอกองทัพช่วยรบพม่า |
”
|
๒๗๑ | |
ให้เจ้าพระยาสุรสีห์ยกไปช่วยเชียงใหม่ไม่ทัน |
”
|
๒๗๑ | |
พม่าให้อาปรกามนีอยู่รักษาเมืองเชียงใหม่ |
น่า
|
๒๗๒ | |
พระอริยมุนี พระวิสุทธาจารย์ พระวรญาณมุนี กลับจากลังกา |
”
|
๒๗๒ | |
กรมหมื่นเทพพิพิธอยู่ลังกา คนนับถือมาก |
”
|
๒๗๒ | |
พวกกังขาขบถ คิดจะถวายราชสมบัติแก่กรมหมื่นเทพพิพิธ |
”
|
๒๗๓ | |
พระเจ้ากรุงลังกาให้จับกรมหมื่นเทพพิพิธ |
”
|
๒๗๓ | |
กรมหมื่นเทพพิพิธหนีจากลังกาไปอาไศรยเมืองเทศ |
”
|
๒๗๓ | |
กรมหมื่นเทพพิพิธได้ข่าวว่าเสียกรุง จึงมาเมืองมฤต |
”
|
๒๗๓ | |
ให้ข้าหลวงออกไปคุมกรมหมื่นเทพพิพิธไว้ที่เมืองมฤต |
”
|
๒๗๓ | |
พระเจ้ามังลอกสิ้นพระชนม์ |
”
|
๒๗๓ | |
มังระ ราชอนุชา ได้ราชสมบัติลงมาอยู่เมืองอังวะ |
”
|
๒๗๔ | |
พระเจ้าอังวะตีเมืองมณีบุร คือ เมืองกระแซ |
”
|
๒๗๔ | |
พม่าขัดเสบียง ต้องกลับ |
”
|
๒๗๔ | |
หุยตองจาทวายเปนขบถต่อพม่า ตีได้เมืองทวาย ขอมาขึ้นกรุงดังเก่า |
”
|
๒๗๔ | |
น้ำแดงครั้งที่ ๒ |
”
|
๒๗๔ | |
เสด็จพระฉายแลพระบาท |
”
|
๒๗๔ | |
ให้ฟั่นเชือกน้ำมันไว้เตรียมการศึก |
”
|
๒๗๕ | |
พระเจ้ามังระเตรียมทัพมาตีกรุงศรีอยุทธยา |
”
|
๒๗๕ | |
ให้มังมหานรทาเปนแม่ทัพมาทางเมืองทวาย |
”
|
๒๗๕ | |
ให้เนเมียวมหาเสนาบดีเปนแม่ทัพมาทางเหนือ |
”
|
๒๗๕ | |
พม่าตีได้เมืองทวาย |
”
|
๒๗๕ | |
ที่กรุงได้ข่าวศึกพม่า |
”
|
๒๗๖ | |
พม่าตีได้เมืองตนาวศรี เมืองมฤต |
น่า
|
๒๗๖ | |
พม่าเข้ามาเผาเมืองชุมพร มาตีเมืองปทิว เมืองกุย เมืองปราณ |
”
|
๒๗๖ | |
กรมหมื่นเทพพิพิธกับหุยตองจาหนีเข้ามาเมืองเพ็ชรบุรี |
”
|
๒๗๖ | |
ให้ส่งกรมหมื่นเทพพิพิธไปไว้เมืองจันทบุรี หุยตองจาไปไว้เมืองชลบุรี |
”
|
๒๗๖ | |
ให้พระพิเรนทรเทพยกไปตั้งรับพม่าที่เมืองกาญจนบุรี |
”
|
๒๗๖ | |
ทัพมังมหานรทาตีกองทัพพระพิเรนทรเทพแตก |
”
|
๒๗๖ | |
พม่ายกมาตั้งต่อเรืออยู่ที่ดงรัง หนองขาว ปี ๑ |
”
|
๒๗๗ | |
พม่าได้เมืองราชบุรี เมืองเพ็ชรบุรี |
”
|
๒๗๗ | |
แต่งกองทัพไปตั้งค่ายรับพม่าในแขวงเมืองราชบุรี |
”
|
๒๗๗ | |
เกณฑ์คนหัวเมืองเหนือแลฝ่ายตวันออกเข้ามารักษาพระนคร |
”
|
๒๗๗ | |
แต่งกองทัพรักษาเมืองธนบุรี เมืองนนทบุรี |
”
|
๒๗๗ | |
เจ้าพระยาพิศณุโลกทูลลากลับขึ้นไปปลงศพมารดา |
”
|
๒๗๗ | |
กองทัพพม่าฝ่ายเหนือมาตั้งต่อเรือที่เมืองกำแพงเพ็ชร |
”
|
๒๗๘ | |
สั่งเจ้าพระยาพิศณุโลกให้ไปรบพม่าทางเหนือ |
”
|
๒๗๘ | |
พม่าลงมาตั้งเมืองนครสวรรค์ |
”
|
๒๗๘ | |
พม่าตีได้เมืองสวรรคโลก เมืองศุโขไทย |
”
|
๒๗๘ | |
เจ้าพระยาพิศณุโลกยกไปช่วยเมืองศุโขไทย |
”
|
๒๗๘ | |
เจ้าฟ้าจีดหนีโทษจากกรุงขึ้นไปเมืองพิศณุโลก |
”
|
๒๗๘ | |
เจ้าฟ้าจีดชิงเอาเมืองพิศณุโลก |
”
|
๒๗๙ | |
เจ้าพระยาพิศณุโลกยกทัพกลับมารบเจ้าฟ้าจีด |
”
|
๒๗๙ | |
เจ้าพระยาพิศณุโลกจับเจ้าฟ้าจีดถ่วงน้ำเสีย |
น่า
|
๒๗๙ | |
ชาวเมืองลำพูนไชยที่สวามิภักดิ์อพยพหนี |
”
|
๒๗๙ | |
พม่าตีทัพไทยที่เมืองราชบุรีแตก แล้วเข้ามาตีเมืองธนบุรี |
”
|
๒๘๐ | |
พระยารัตนธิเบศร์ แม่ทัพรักษาเมืองธนบุรี หนีพม่า |
”
|
๒๘๐ | |
กองทัพนครราชสิมาที่รักษาเมืองธนบุรียกกลับไปเมือง |
”
|
๒๘๐ | |
กำปั่นพ่อค้าอังกฤษรับช่วยรบพม่า |
”
|
๒๘๐ | |
พม่าเข้ามารักษาเมืองธนบุรี |
”
|
๒๘๐ | |
พม่ารบกับกำปั่นอังกฤษที่เมืองธนบุรี |
”
|
๒๘๐ | |
พระยายมราชหนีพม่าจากเมืองนนทบุรี |
”
|
๒๘๐ | |
พม่าตั้งค่ายที่วัดเขมา |
”
|
๒๘๐ | |
กำปั่นอังกฤษรบพม่าที่เมืองนนทบุรี |
”
|
๒๘๑ | |
นายกำปั่นอังกฤษขอปืนใหญ่กับเรือพายช่วยรบพม่า |
”
|
๒๘๑ | |
กำปั่นอังกฤษแล่นหนีออกทเลไป |
”
|
๒๘๑ | |
ทัพพม่าทางเหนือมารวมที่เมืองกำแพงเพ็ชร |
”
|
๒๘๒ | |
ทัพพม่าทางใต้เข้ามาตั้งถึงสีกุก บางไทร |
”
|
๒๘๒ | |
ทัพพม่าทางเหนือเข้ามาตั้งที่ปากน้ำประสบ |
”
|
๒๘๒ | |
ทัพพม่าหนุนเข้ามาทางเมืองอุไทยธานีอิกกอง ๑ |
”
|
๒๘๒ | |
พม่ามาตั้งที่เมืองวิเศษไชยชาญแลขนอนหลวงวัดโปรดสัตว |
”
|
๒๘๓ | |
พม่าเกลี้ยกล่อมไทยชาวหัวเมืองให้เข้าด้วย |
”
|
๒๘๓ | |
พม่ากดขี่ไทยที่เข้าเกลี้ยกล่อม |
”
|
๒๘๓ | |
พระอาจารย์ธรรมโชติกับพวกไทยหัวเมืองตั้งค่ายสู้พม่าที่บางระจัน |
”
|
๒๘๓ | |
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๑ |
น่า
|
๒๘๔ | |
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๒ |
”
|
๒๘๔ | |
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๓ |
”
|
๒๘๔ | |
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๔ |
”
|
๒๘๔ | |
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๕ |
”
|
๒๘๔ | |
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๖ |
”
|
๒๘๖ | |
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๗ |
”
|
๒๘๖ | |
ชาวพระนครเชิญพระเจ้าอุทุมพรให้ลาผนวชอิก |
”
|
๒๘๖ | |
พระเจ้าอุทุมพรไม่ลาผนวช |
”
|
๒๘๗ | |
ให้พระยาพระคลังยกทัพไปรบพม่าช่วยไทยบางระจัน |
”
|
๒๘๗ | |
พม่าอุบายตีกองทัพพระยาพระคลังแตก |
”
|
๒๘๘ | |
พระนายกองรับอาสาพม่าไปตีค่ายไทยบางระจัน |
”
|
๒๘๘ | |
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๘ |
”
|
๒๘๘ | |
ไทยบางระจันขอปืนใหญ่กระสุนดินดำต่อกรุง |
”
|
๒๘๙ | |
พระยารัตนาธิเบศร์ออกไปเรี่ยรายหล่อปืนใหญ่ที่บางระจัน |
”
|
๒๙๐ | |
เสียค่ายบางระจันแก่พม่า |
”
|
๒๙๐ | |
สมเด็จพระสังฆราชสิ้นพระชนม์ ๒ พระองค์ต่อกัน |
”
|
๒๙๑ | |
กรมหมื่นเทพพิพิธรวมพลยกจากเมืองจันทบุรีเข้ามาตั้งอยู่เมืองปาจิณบุรี |
”
|
๒๙๑ | |
คนในกรุงพากันไปเข้ากับกรมหมื่นเทพพิพิธมาก |
”
|
๒๙๑ | |
พม่ายกไปตีกรมหมื่นเทพพิพิธแตกหนีไปเมืองนครราชสิมา |
”
|
๒๙๒ | |
มังมหานรทา แม่ทัพพม่า ตาย |
”
|
๒๙๒ | |
ปกันหวุ่นเปนแม่ทัพแทนมังมหานรทา |
น่า
|
๒๙๓ | |
เนเมียวมหาเสนาบดีได้เปนแม่ทัพใหญ่ |
”
|
๒๙๓ | |
พม่าเข้ามาตั้งค่ายที่โพธิ์ ๓ ต้น |
”
|
๒๙๓ | |
พม่าเอาปืนใหญ่มาตั้งที่ภูเขาทองแลวัดท่าการ้องยิงเข้าไปในกรุง |
”
|
๒๙๓ | |
แต่งทัพเรือไปรบพม่าที่วัดท่าการ้อง |
”
|
๒๙๔ | |
พม่ายิงถูกนายเริกตายคนเดียว ทัพเรือถอย |
”
|
๒๙๔ | |
พม่าเข้ามาตั้งหอรบที่วัดพลับพลาไชย วัดเต่า วัดสุเรนทร์ วัดแดง เอาปืนยิงเข้าไปในกรุง |
”
|
๒๙๔ | |
พระยาตากสินได้เลื่อนที่เปนพระยากำแพงเพ็ชร |
”
|
๒๙๔ | |
ใหพระยากำแพง (สิน) เปนแม่ทัพ พระยาเพ็ชรบุรีเปนทัพน่า ยกทัพเรือไปสังกัดตีพม่าทุ่งวัดสังฆาวาศ |
”
|
๒๙๔ | |
พระยาเพ็ชรบุรีเข้าตีทัพพม่า |
”
|
๒๙๔ | |
พระยากำแพง (สิน) ไม่ช่วย ทัพพระยาเพ็ชรบุรีแตก |
”
|
๒๙๕ | |
พระยากำแพง (สิน) ไปตั้งอยู่วัดพิไชย ไม่กลับเข้าเมือง |
”
|
๒๙๕ | |
กองทัพกรุงออกไปตั้งสู้พม่าที่วัดไชยวัฒนาราม |
”
|
๒๙๕ | |
กองทัพจีนนายก่ายยกไปตั้งสู้พม่าที่คลองสวนพลู |
”
|
๒๙๕ | |
พระยาแพร่ (มังไชย) เอาใจออกหากหนีพม่า |
”
|
๒๙๕ | |
ไฟไหม้ในพระนคร |
”
|
๒๙๖ | |
พระยากำแพง (สิน) ยกหนีออกบ้านนอก |
”
|
๒๙๖ | |
พม่ายกตามพระยากำแพง (สิน) |
”
|
๒๙๖ | |
พระยากำแพง (สิน) ชนะพม่าครั้งที่ ๑ |
”
|
๒๙๖ | |
พระยากำแพง (สิน) ชนะพม่าครั้งที่ ๒ |
”
|
๒๙๖ | |
พระยากำแพง (สิน) ชนะพม่าครั้งที่ ๓ |
น่า
|
๒๙๗ | |
พระยากำแพง (สิน) ยกไปตั้งอยู่บ้านกง |
”
|
๒๙๗ | |
พวกขุนหมื่นนายบ้านกงไม่เข้าด้วยพระยากำแพง (สิน) |
”
|
๒๙๗ | |
พระยากำแพง (สิน) ตีค่านบ้านกงแตก |
”
|
๒๙๗ | |
พระยากำแพง (สิน) ไปตั้งอยู่นาเริ่ง แขวงเมืองนครนายก |
”
|
๒๙๘ | |
พระยากำแพง (สิน) ไปตั้งอยู่ด่านกบแจะ แขวงเมืองปาจิณบุรี |
”
|
๒๙๘ | |
พม่ายกตามพระยากำแพง (สิน) |
”
|
๒๙๘ | |
พระยากำแพง (สิน) ชนะพม่าครั้งที่ ๔ |
”
|
๒๙๙ | |
จีนค่ายสวนพลูไปลักเงินทองแลเผาพระมณฑปพระพุทธบาท |
”
|
๒๙๙ | |
พม่าเผาปราสาทที่พเนียด |
”
|
๓๐๐ | |
พม่าเข้ามาตั้งค่ายริมคูเมือง เอาปืนยิงเข้าไปในพระนคร |
”
|
๓๐๐ | |
เกิดโจรผู้ร้ายชุกชุมในพระนคร |
”
|
๓๐๐ | |
ยิงปืนใหญ่โต้กับพม่า |
”
|
๓๐๐ | |
ให้ออกไปเจรจาความเมืองกับพม่า |
”
|
๓๐๐ | |
พม่าไม่ยอมเปนไมตรี |
”
|
๓๐๑ | |
พม่าตีได้ค่ายไทยวัดไชยวัฒนาราม |
”
|
๓๐๑ | |
พม่าตีได้ค่ายจีนคลองสวนพลู |
”
|
๓๐๑ | |
พม่าทำสพานเรือกข้ามคูเมืองที่หัวรอ |
”
|
๓๐๑ | |
พม่าขุดอุโมงค์ทำลายกำแพงเมือง |
”
|
๓๐๒ | |
พม่าเข้าปล้นพระนคร |
”
|
๓๐๒ | |
เสียพระนครแก่พม่า |
”
|
๓๐๒ | |
พระเจ้าแผ่นดินหนีไปซ่อนอยู่บ้านจิก |
”
|
๓๐๒ | |
พม่าจับผู้คนแลริบทรัพย์สิ่งของ |
น่า
|
๓๐๓ | |
พม่าตั้งพระนายกองอยู่รักษากรุงกับมองยา |
”
|
๓๐๓ | |
พม่ากวาดคนแลเก็บทรัพย์กลับไปเมือง |
”
|
๓๐๔ | |
พม่าระเบิดปืนพระพิรุณเสียที่วัดเขมา |
”
|
๓๐๔ | |
พม่าตั้งนายทองอินเปนเจ้าเมืองธนบุรี |
”
|
๓๐๔ | |
พม่าเอาเรือกิ่งไปด้วยลำ ๑ |
”
|
๓๐๔ | |
พระเจ้ามังระให้ปกันหวุ่นเปนเจ้าเมืองเมาะตมะ |
”
|
๓๐๕ | |
พระเจ้ามังระตั้งเนเมียวเปนอโยทธยาหวุ่น |
”
|
๓๐๕ | |
พระเจ้ามังระให้สึกพระเจ้าอุทุมพรออกเปนฆราวาศ |
”
|
๓๐๕ | |
พระเจ้ามังระให้ราชวงษ์ไทยอยู่ที่เมืองจักไก |
”
|
๓๐๕ |
- ↑ ความซ้ำกับน่า ๑๗
งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก