(๑๖๑๕)., อังกฤษ (ค.ศ. ๑๖๗๕, ๑๘๐๙)., เนเดรลันด์ (๑๖๘๐)., สเวเดน (๑๗๓๗)., เดนมาร์ก (๑๗๔๖)., ปรุสเซีย (๑๗๖๑)⟨.,⟩ สเปญ (๑๗๘๒)., รุซเซีย (๑๗๘๓)., สหปาลีรัฐอเมริกา (๑๘๓๐)., เบลเยี่ยม (๑๘๓๘)., โปรตุเกส (ค.ศ. ๑๘๔๓)., กริซ (ค.ศ. ๑๘๕๕)., บลาซิล (๑๘๕๘)., และบาวาเวีย (๑๘๗๐).[1]
ประเทศจีนเป็นประเทศซึ่งใคร ๆ ก็ทราบกันดีแล้วว่าเป็นตลาดของการค้าและรุ่งเรืองในพาณิชย์การยิ่งกว่าในประเทศอื่น ๆ ในบูรพทิศ เพราะฉะนั้น มหาประเทศต่าง ๆ ในยุโรปจึงเรียกร้องให้จีนทำสัญญายอมให้สภาพนอกอาณาเขตต์หรือสิทธิพิเศษในการที่จะตั้งศาลกงสุลแก่ประเทศตน โดยยกเอาเหตุว่า เพื่อป้องกันคุ้มครองทรัพย์สิน ผลประโยชน์ และชีวิตของพลเมืองแห่งตน ประเทศเหล่านั้นคือรุซเซีย (ค.ศ. ๑๖๘๙, ๑๘๕๘, ๑๘๖๐)., เยอรมัน (ค.ศ. ๑๘๖๑)⟨.,⟩ เกรตบริเตน (ค.ศ. ๑๘๔๓, ๑๘๕๘, ๑๘๗๖); สหปาลีรัฐอเมริกา (ค.ศ. ๑๘๔๔, ๑๘๕๘, ๑๘๘๐);[2] ฝรั่งเศษ (ค.ศ. ๑๘๔๔, ๑๘๕๘)⟨.,⟩ สเวเดน และนอร์เวย์ (ค.ศ. ๑๘๔๗)., ดันมาร์ก (ค.ศ. ๑๘๖๓)., เนเดลแลนด์ (ค.ศ. ๑๘๖๖.) สเปญ (ค.ศ. ๑๘๖๔)⟨.,⟩ เบลเยี่ยม (ค.ศ. ๑๘๖๕)⟨.,⟩ อิตาลี (ค.ศ. ๑๘๖๖.) ออสเตรียฮุงการี (ค.ศ. ๑๘๖๙)., เปรู (ค.ศ. ๑๘๗๔)., บราซิล (ค.ศ. ๑๘๘๑)⟨.,⟩ โปรตุเกส (ค.ศ. ๑๘๘๗)⟨.,⟩ ยี่ปุ่น (ค.ศ. ๑๘๙๖)⟨.,⟩ เม็กซิโก (ค.ศ. ๑๘๙๙) และสวิตเซอร์แลนด์ (ค.ศ. ๑๙๑๘)[3]
- ↑ ดู American Journal of International Law เล่ม ๑๗ ฉะบับที่ ๒ หน้า ๒๑๑–๒๑๒
- ↑ ดู History of Tde Early Relations between the United States and China, 1784–1844 ใน Transection of Connecticut Academy of Arts and Sciences เล่ม ๒๒ New Haven, 1917 โดย K. C. Latourette
- ↑ ดู American Journal od International Law เล่ม ๒๐ ฉะบับที่ ๑ น่า ๕๑ และ Custaf, C, History of China, New Yovk, 1834 เล่ม ๒ หน้า ๒๔๘