เทศาภิบาล (2498)

จาก วิกิซอร์ซ
ดูฉบับอื่นของงานนี้ที่ เทศาภิบาล
ตราของกรมศิลปากร
ตราของกรมศิลปากร
เทศาภิบาล
พระนิพนธ์
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ


พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ
หม่อมเจ้าสฤษดิเดช ชยางกูร
ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส

รูปประชุมเทศาภิบาลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๔๕๓
เรียงลำดับซ้ายไปขวา
แถวนั่ง ๑. เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ๒. กรมหมื่นกำแพงเพชรอรรคโยธิน ๓. กรมหมื่นมรุพงษ์ศิริพัฒน์ ๔. กรมหลวงนเรศน์วรฤทธิ์ ๕. เจ้าฟ้ากรมขุนนครสวรรค์วรพินิต ๖. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ๗. เจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ ๘. กรมหลวงดำรงราชานุภาพ (เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย) ๙. กรมหมื่นนครไชยศรีสุรเดช ๑๐. พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ๑๑. พระยาวงษานุประพัฒน์ (ม.ร.ว. สท้าน สนิทวงศ์)
แถวยืน ๑ ๑. พระยาสุนทรเทพกิจจารักษ์ ๒. พระวิเศษภักดี (ชม โชติกะพุกนะ) ๓. พระยาตรังภูมาภิบาล (ถนอม บุณยเกต) ๔. พระยารณชัยชาญยุทธ์ (ศุก โชติกะเสถียร) ๕. พระองค์เจ้าอลงกฎ ๖. พระยาศรีสหเทพ ๗. พระยาสีหราชเดโชชัย ๘. พระยาสุนทรบุรี ๙. พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมือง ๑๐. พระองค์เจ้าคำรพ ๑๑. พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) ๑๒. พระยาเทพาธิบดี ๑๓. พระยาประชาชีพบริบาล (แย้ม แสงชูโต) ๑๔. พระยาจักรปาณี
แถวยืน ๒ ๑. พระยากลาโหมราชเสนา (เล็ก) ๒. พระยาวิชัยศักดาวุธ ๓. พระยาศักดิ์เสนี ๔. พระยาสุรนารถเสนี (เทิ่ง) ๕. พระยาสุรินทราชา ๖. พระยาจ่าแสนบดี ๗. พระยาเสถียรฐาปนกิจ ๘. พระยาสุรบดินทร์ ๙. ม.จ. สฤษดิเดช ๑๐. หลวงเสนานนท์ (อรุณ อมาตยกุล) ๑๑. พระภิรมย์ราชา (เชษ)
แถวยืน ๓ ๑. พระยารัษฎานุประดิษฐ์ ๒. พระยามหิบาลบริรักษ์ ๓. พระยาวิสุทธ์สุริยศักดิ์.

บรรณานุกรม[แก้ไข]

  • ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา; และ, ราชเสนา (ศิริ เทพหัสดิน ณ อยุธยา), พระยา. (2498). เทศาภิบาล. พระนคร: ม.ป.พ. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมเจ้าสฤษดิเดช ชยางกูร ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 26 ธันวาคม 2498).

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก