คุยกับผู้ใช้:ผู้ใช้:Lipikara/ทดลองเขียน/พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
(๓) ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น

บทความนี้จัดเป็น ประกาศ ของราชการหรือครับ? ราชบัณฑิตได้ประกาศไว้ในราชกิจกานุเบกษาหรือเปล่าครับ? หรือแค่แสดงไว้บน web site ก็จัดว่าเป็น ประกาศของทางราชการทั้งหมด? ผมได้สอบถามบางท่าน เค้าเห็นต่าง ว่าประกาศของราชการต้องมีรูปแบบตามที่กำหนด. website กรมทรัพย์สินทางปัญญา ก็ยังมีข้อความว่า สงวนลิขสิทธิ์] --Ans (พูดคุย) 19:42, 28 มิถุนายน 2560 (ICT)

@Ans:
  1. บทความนี้ (และงานอื่น ๆ อีกหลายเรื่องที่ผู้ใช้รายเดียวกันและหุ่นเชิดสร้างขึ้น ทั้งในโครงการนี้และโครงการอื่นอย่างวิกิตำรา วิกิคำคม ฯลฯ) ไม่เข้าข่าย "งานที่ไม่มีลิขสิทธิ์" ตามกฎหมายไทยอย่างแน่นอนค่ะ
  2. อนึ่ง โปรดทราบว่า ผู้ใช้ที่สร้างหน้านี้ และบรรดาหุ่นเชิดของเขา อยู่ในบัญชีผู้ก่อกวนต่อเนื่องยาวนานที่วิกิพีเดีย
--YURi (พูดคุย) 21:14, 28 มิถุนายน 2560 (ICT)
ขอบคุณครับ, แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าสิ่งที่เขาใส่เข้ามา จะละเมิดลิขสิทธิ์ทั้งหมด, ต้องดูเป็นครั้งๆ ไป --Ans (พูดคุย) 22:44, 28 มิถุนายน 2560 (ICT)

ฉบับ ๒๕๔๒ และฉบับปรับปรุง จาก ๒๕๔๒ ที่อ้างตาม ฉบับ ปีพุทธศักราช ๒๕๔๒ มีรายละเอียดที่แตกต่าง[แก้ไข]

ในการเรียบเรียงเกี่ยวแก่ความหมาย นั้นมีความแตกต่างกันกะเว็บไซต์ของราชบัณฑิตยสถานปัจจุบัน ซึ่งเว็บไซต์นั้นคงเสนองานแปลภาคภาษาสู่ความหมาย จากฉบับปรับปรุงปัจจุบันนั้นเอง ถ้าจะดูที่เป็นฉบับจากปี ๒๕๔๒ ควรดูตรวจเทียบจากเว็บไซต์นี้ (thaitux.info/dict)จึงจะได้ข้อความตามความหมายอย่างเก่า ซึ่งข้อแตกต่างกันนั้นควรรวมลงในช่องหมายเหตุได้ หรือลงรูปตามตัวต้นฉบับนั้นก็ได้

เรื่องการลงพจนานุกรมในต้นฉบับเสรีนั้นกระทำได้ทุกพจนานุกรม ซึ่งมีบอกไว้แล้วในวิกิซอร์ซนี้เอง เพราะที่จะลงในวิกชั่นนารีนั้นจะต้องดัดแปลงผลงานเสียก่อน ซึ่งจะต้องผิดเค้าเดิมอย่างมาก และอาจทำไม่ได้ทั่วไป เพราะต้องมีความรู้ทางการใช้สัททะอักษรซะก่อน. ต่อในส่วนเรื่องของปัญหากฎหมายลิขสิทธิ์ที่อาจไม่เป็นธรรมนั้น คงต้องมีอยู่เป็นธรรมดานั้นเองด้วยแง่มุมทางวิชากฎหมาย ฉะนั้นที่เป็นของราชการก็ควรที่จะต้องอ้างราชการ เพราะมีข้อยกเว้นอยู่ ว่าเป็นกรณีเพื่อการศึกษานั้น เป็นอันว่าจะต้องทำได้ทั้งหมด คงเป็นแต่ส่วนเรี่ยไรทางบริจาคเท่านั้นเอง ที่ควรใช้ถ้อยคำให้เหมาะสม และต้องเป็นที่ประกาศแน่ชัดว่าเป็นไปเพื่อการศึกษา และพัฒนาเกี่ยวกับโปรอันเนื่องด้วยการศึกษา ซึ่งเป็นแบบให้เปล่าและเป็นแบบเสรี --1.2.193.186 23:24, 28 มิถุนายน 2560 (ICT)

การใช้เพื่อการศึกษานั้น แน่นอนว่า ไม่มีปัญหาทางข้อกฎหมาย, ซึ่งกรณีนี้เขาเรียกกันว่า fair use, แต่นโยบาย wikisource นั้นไม่ยอมรับผลงานที่เป็น fair use ครับ (ยกเว้นรูปภาพ), เนื่องจาก fair use นั้นไม่มีความเป็นเสรีเพียงพอ, เพราะมีข้อจำกัดว่าต้องใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น, ซึ่งเป็นการใช้งานที่แคบ ไม่เสรีเพียงพอ. --Ans (พูดคุย) 23:32, 28 มิถุนายน 2560 (ICT)
(แม้จะอ่านเข้าใจยากสักหน่อย (สมคำร่ำรือ), แต่ก็พยายามอ่านจนเข้าใจจนได้. สำนวนคุ้นๆ ว่าเหมือนสำนวนพระเทศน์) --Ans (พูดคุย) 23:37, 28 มิถุนายน 2560 (ICT)


ศึกษาทัศนะของผู้ดูแลระบบผ่านแง่มุมทางกฎหมายก็จะทราบเอง ใครๆก็อย่าเพ่อ และไม่ควรแสดงช่องโหว่ (ของกฎ) ที่อาจจะเอื้อต่อการเข้าใจผิดในการใช้ประโยชน์ในทางที่ดีงาม เพราะต่างชาติที่ไม่ยอมรับนับด้วยในแบบเดียวกันนั้นต้องมีอยู่เสมอ หรืออย่างไรก็คงจะต้องมีอยู่บ้างเป็นธรรมดา
--1.2.193.186 23:42, 28 มิถุนายน 2560 (ICT)

wikisource นี้เป็น web host ของต่างชาติเขา, ต่างชาติเขากำหนดนโยบายมาอย่างนี้ ก็ต้องทำตามนโยบายเขาครับ. ดูนโยบายลิขสิทธิ์ที่ด้านล่างของทุก page ได้ครับ. --Ans (พูดคุย) 00:05, 29 มิถุนายน 2560 (ICT)


โลกที่ทุกคนต้องตกอยู่ภายใต้อิทธิพลนั้น รู้สึกว่าจะมี กูเกิลเป็นหนูทดลองยาลิขสิทธิ์ รองเรื่องไว้ทุกๆที่ซะหมดแล้ว ก็ดูต่อไปว่าสารานุกรมแบบเสรีจะได้โอกาสและจะได้น้ำเลี้ยงจากโลกนี้สักแค่ไหน เรื่องนี้ฟังตอบมา-ไปอยู่นี้ ให้คิดถึงแต่ต้นฉบับเอกสารไทยที่อยู่ในต่างประเทศ (ฝรั่งเศส) ว่าถ้าลง สัพะ พะจะนะฯ จบลงได้ ก็ควรจะหยุด และควรจะจบลงได้อย่างพอใจ เพราะเรื่องนี้ต้องลงใจตั้งความตรวจตราเอาอย่างมาก และเพราะไม่รู้เรื่องภาษาต่างประเทศในที่จะถึงความสะดวกไปรู้ด้วย และถึงจะมีใครในเรื่องนี้ที่รู้ดีแต่ก็คงไม่มีใครอยากมาช่วยให้ได้ตรงใจเดี๋ยวนี้ ถึงแม้ว่าจะให้มาได้แบบเสรีอย่างไรก็ตาม. อย่างนี้จึงได้แต่พูดจดจ้องพิมพ์เรียงเป็นตัวๆไปอย่างนั้น ไม่ได้ทำตลอดคำเป็นประโยคได้อย่างหนังสือไทยตามตรงที่จะทำได้. แต่ถึงอย่างนั้นก็อยากผูกภาษาต่างชาติอื่นๆไว้แก่ตัวบ้าง ก็จึงหวังจะทำไว้ เพราะคิดว่า ถึงอย่างไรแล้วเขาก็มาหาประเทศเราในฐานที่เป็นนักบวชเข้ามา ฉะนั้น สัพะ พะจะนะฯ นี้นั้น จึงอยากจะขออาศัยไปด้วย และให้อยู่ในฐานสมมุติว่า ตนเองก็อยากจะเป็นนักบวชด้วย จึงอยากจะรู้ด้วยทุกๆอย่างที่เป็นงานของนักบวช
--1.2.193.186 00:44, 29 มิถุนายน 2560 (ICT)

ขอโทษจริงๆ ครับ อันนี้อ่านไม่เข้าใจจริงๆ ว่าต้องการจะบอกอะไร. เหมือนใช้ google translate แปลมา, บางที google translate ยังแปลได้รู้เรื่องกว่าอีกครับ. หรือจะเป็น bot AI เข้ามาตอบ? --Ans (พูดคุย) 01:08, 29 มิถุนายน 2560 (ICT)
@Ans: เขาเป็นอย่างนี้แหละค่ะ มีระบุไว้ในบัญชีผู้ก่อกวนฯ แล้วว่า "สุขพินทุมักใช้ภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจได้ ไม่ใช้กันตามปรกติ หรือเปรียบเปรยทางศาสนา..." ผู้ใช้หลายคนก็พยายามพูดคุยกับเขาแล้วแต่ก็ไม่เป็นผล ล่าสุดก็คุณออกญาฯ (Octahedron80) ที่ถึงกับกล่าวว่า "ยิ่งคุยยิ่งไม่รู้เรื่อง ตูละเซ็ง *facepalm*" (ดู: คุยกับผู้ใช้:วิกอิ กรมเขา) --YURi (พูดคุย) 08:00, 29 มิถุนายน 2560 (ICT)
อย่างไรเสีย, สิ่งที่ทุกฝ่ายเห็นตรงกันคือ บทความนี้เป็น fair use, และ wikisource ไม่อนุญาตให้มีเนื้อหาแบบ fair use. ไม่ว่าคุณสุขพินทุจะอ้างเหตุผลใดก็ตาม, แต่สิ่งนั้นมันผิดจุดประสงค์ของการก่อตั้ง wikisource, จึงไม่ใช่เหตุผลที่นำมาใช้อ้างได้, ยังไง wikisource ก็ไม่มีทางอนุญาตให้ลง fair use ได้ อยู่แล้ว, จึงจำเป็นต้องลบออกครับ.
--Ans (พูดคุย) 21:24, 4 กรกฎาคม 2560 (ICT)

อองเทียน สุขพินทุ มีชื่ออยู่ในประวัติ หนังสือเรื่องไทยรบพม่า[แก้ไข]

คล้ายว่า จะไม่รู้เกี่ยวกับความเข้าใจตามธรรมดาอยู่บ้าง จึงอ้างตัวละครขึ้นมาตีฝีปาก ว่าสุขพินทุ นั่นๆนี่ๆ ซึ่งคง หมายถึงนามสกุลของข้าราชการท่านนี้นั้นเอง เมื่อคิดเรื่องที่ต้องมาตอบเพิ่มแล้ว จึงสุ่มสิ่งควรรู้จากไตรปิฎกมาด้วย แล้วได้ข้อความมาดังนี้

[๖๕๕] เศษกรรมของเพชฌฆาตผู้ฆ่าโจรด้วยการตัดศีรษะ ได้เป็นตัวกะพันธ์ ไม่มีศีรษะ มีตาและปากอยู่ที่อก (สีสัจฉินนสูตร) 26/721/3

เรื่องที่เสริมกันนั้น ก็น่าจะอยู่ในหน้าของผู้ใช้กันตวิทย์ (ประกาศย้อนการแก้ไข) ดังนี้.

แม่แบบ:อนุทินศัพท์


ข้อนี้เห็นจะต้องว่าด้วยการเกิดตามการปรากฏของนามและรูป เพราะหากว่าใครได้อาศัยนาม-รูปเป็นที่อยู่และที่ไปแล้ว ไม่ว่าปฏิปทาหนึ่งๆใดที่ตั้งปรารภไว้จะยิ่งหย่อนไปกว่ากันแล้วก็ตาม ข้อนี้จะได้กล่าวบ้างว่า แม้ชาติไม่เสมอกัน แต่หากว่าปฏิปทาพอกันหรือเสมอกัน ก็ย่อมจะปรารภรู้ทุกข์รู้สุขในอย่างเดียวกันได้ เพราะถือสาเอาตามที่ตนใฝ่ด้วย ถือหาปรารมภ์ อันที่ได้ด้วยตามปรารภแล้วมาตลอดในที่ๆสามารถกระทำได้. ในที่นี้ข้อถามถึงการเกิดแก่ที่ให้ได้ดวงดับกลับมาแล้วในเขตทวีปโลก ฉะนั้นก็จึงจะขอตอบ (อ้าง-เพราะนามรูปเป็นปัจจัย) สักอย่างตามที่ปรากฏมาในพระไตรปิฎกแปลพร้อมอรรถกถา เล่ม ๑๗ หน้า ๕๗๙ ...ว่า

นัยหนึ่ง ปฏิสนธิวิญญาณ เหมือนชายผู้ประพฤติชั่วช้า. นามรูปมีเพราะวิญญาณเป็นปัจจัย เหมือนปากบาดแผลที่เกิดขึ้นแก่ชาย คนนั้น เพราะถูกหอกทั้งหลายแทงแล้ว. พึงเห็นการเกิดขึ้นแห่งทุกข์มี ประการต่าง ๆ สำหรับวิญญาณ เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย ด้วยสามารถ ของกรรมกรณ์ ๓๒ ประการ และโรค ๙๘ ชนิด เป็นต้น ...

ข้อนี้เห็นจะหมายถึง นาม-รูป ทุกชนิดที่จะได้เกิดแก่ไปจวบจนถึงปฏิสนธิ ข้อที่ให้ได้สังเกตุนั้นก็คือ เรื่อง กรรมกรณ์ ๓๒ อย่าง และพยาธิ ๙๘ จำพวก. อันว่าข้อเหล่านี้ได้แก่อะไรบ้าง ยังคงอ่านไม่ได้ถึงนั่น และยังไม่ได้เฉพาะเหตุนั้นแม้แต่พอเลือนๆ ว่าอยู่ตรงไหนบ้างก็ยังไม่เห็น คงพอแต่จะสังเคราะห์คำตอบเองว่า เมื่อมนุษย์ไม่ได้เสพง้วนดินแร่ธาตุดำรงชีวิตเป็นอยู่ ฉะนั้น ก็จึงเกิดกรรมกรณ์และพยาธิต่างๆเหล่านี้มา ในการเวียนให้เกิดและให้แก่อยู่ในทุกๆสมัย กรรมกรณ์หนึ่งๆนั้นว่าผู้ประพฤติตกในมิจฉาธรรมแล้วจะต้องได้รับ ให้เป็นอยู่ในข้อที่จำแนกไว้เป็น ๒๖ อย่างย่อรวมเป็นพรรณนามาแล้วประการดังนี้ ว่า

๑. โบยด้วยแส้ ๒. โบยด้วยหวาย ๓. ตีด้วยตะบองสั้น ๔. ตัดมือ ๕. ตัดเท้า ๖. ตัดทั้งมือทั้งเท้า ๗. ตัดหู ๘. ตัดจมูก ๙. ตัดทั้งหูทั้งจมูก ๑๐. หม้อเคี่ยวน้ำส้ม ๑๑. ขอดสังข์ ๑๒. ปากราหู ๑๓. มาลัยไฟ ๑๔. คบมือ ๑๕. ริ้วส่าย ๑๖. นุ่งเปลือกไม้ ๑๗. ยืนกวาง ๑๘. เกี่ยวเหยื่อเบ็ด ๑๙. เหรียญกษาปณ์ ๒๐. แปรงแสบ ๒๑. กางเวียน ๒๒. ตั้งฟาง ๒๓. ราดด้วยน้ำมันเดือด ๆ ๒๔. ให้สุนัขทึ้ง ๒๕. ให้นอนหงายบนหลาวทั้งเป็น ๆ ๒๖. ตัดศีรษะด้วยดาบ. (ที่ เล่ม ๒๓ หน้า ๑๔๘ ...)

เมื่อมีเหตุได้ตั้งไว้ในโลกแล้วเป็นดังนั้น ข้อเมื่อแยกกรรมกรณ์เป็น ๓๒ อย่าง ได้ทำเป็นวินิจฉัย คงหมายถึงการประหารแบบต่างๆในอีก ๖-๗ วิธี รวมแล้วจึงได้เป็น ๓๒ ซึ่งควรจะได้ศึกษาดูตามประวัติทัณฑ์คดีความในบทลงโทษเมื่อครั้งอดีตของอินเดีย

และว่าด้วยข้อที่มาถึงการสิ้นวิบากจากพรหมชาติอันเป็นอาภัสสระชนิดใดมาก็ตาม หากถึงเวลาหวนคืนมาสู่ทวีปแห่งใดๆในโลกธาตุอีกครั้ง หากว่าดวงดับจิตนั้นปรากฏมาในยุคสมัยที่ไม่มีง้วนดินแร่ธาตุเหลืออยู่ ก็ต้องตั้งต้นสาเหตุอยู่กับข้าวสาลีอีก ซึ่งอาจถือเป็นอาหารแรกๆที่เป็นต้นทางก่อโรคและพยาธิให้เกิดกับกายามารมณ์ในทางจิตและร่างกาย เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วปรากฏ ก็ต้องรับตามกรรมกรณ์ ๓๒ อย่างในโลก และเมื่อแม้จะได้มีความสามารถอาจไม่ต้องหนีทุกข์ในที่แห่งกรรมกรณ์ก็ดี แต่!ก็คงยังจะต้องเกิดแก่การหนีทุกข์จากพยาธิใน ๙๘ อย่างที่มีมานั้นเสมอ ในข้อนี้พึงได้ตรวจดูในอุทเทศปัญหา ๑๐ อย่าง และปัจจัยในอาหารสูตร

:เหตุนาม อาศัยประกาศ!

— [เทียบศัพท์ ราชบัณฑิต]

อันธพาล

คำว่า อันธพาล เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาบาลีและสันสกฤตว่า อนฺธพาล (อ่านว่า อัน-ทะ -พา-ละ) แปลว่า ผู้ที่มืดบอดทางปัญญาและโง่เง่าไร้เหตุผล คำว่า อันธะ แปลว่า ตาบอดทั้ง ๒ ข้าง มืดบอดทางปัญญา ส่วน พาละ แปลว่า เด็กอมมือ เด็กที่ไม่รู้เหตุผล คนโง่ คนไร้เหตุผล โง่เง่า

ในภาษาไทยคำว่า อันธพาล หมายถึง คนชั่วที่เที่ยวระรานก่อความเดือดร้อนรำคาญแก่คนทั่วไป อาการที่เกะกะระรานนั้นเหมือนเด็กโง่ที่ไม่ฟังเหตุและผลเพราะสติปัญญามืดบอดและไม่ฟังคำสั่งสอนของผู้ใหญ่ซึ่งเป็นคนดี ได้แต่ฟังคนชั่วบงการให้ทำเรื่องที่ก่อความเสียหายแก่สังคม เช่น ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ผู้ที่ประพฤติตนไม่อยู่ในระเบียบถือว่าเป็นอันธพาล ตำรวจจะปราบปรามโดยเด็ดขาด ทำให้บ้านเมืองสงบเรียบร้อย.


ศัพท์ ราชบัณฑิต ที่มา : บทวิทยุรายการ “รู้ รัก ภาษาไทย” ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เวลา ๗.๐๐-๗.๓๐ น.

ดังนั้นทั้งหมด ซึ่งอาจจะโยงให้ตีฝีปาก และเสนอคารมแบบเลว ๆ ได้อีก ก็ควรจะต้องโทษแก่ข้อเร้นลับด้วย ว่าที่ได้ทำรายชื่อนั้น ปรากฏมาจากชื่อของข้าราชการซึ่งมีชื่ออยู่ในหนังสือ ไทยรบพม่า ว่าอองเทียน สุ(ข)พินทุ นั้นด้วย ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกันมาแต่แรก.

ซึ่งในนี้มีแล้ว หากใครจะสงสัยว่าชื่อนั้นเห็นมาจากตรงไหน? ในข้อนี้ สำหรับผู้ที่อยากรู้ต้นเค้าหาเหตุแห่งแรงบันดาลนั้น ก็จงควรได้ดูจากนี้ (พระไพรสณฑ์สาลารักษ์)