ข้ามไปเนื้อหา

ประชุมพงศาวดาร/ภาคที่ 28/อธิบายประกอบ

จาก วิกิซอร์ซ

พงศาวดารญวน, เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)

[แก้ไข]

บุคคล

[แก้ไข]
  • กงจัว, บุตรหญิงของเวียนกราย — น่าจะมาจากคำว่า "กงจั๋ว" (công chúa) แปลว่า "เจ้าหญิง" มากกว่าจะเป็นชื่อบุคคล
  • กรมพระราชวัง — ได้แก่ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
  • โกเงิน — ชื่อหนึ่งของ หมูเส
  • จงตก — มาจากสำเนียงฮกเกี้ยนของคำจีนว่า "總督" สำเนียงกลางว่า "จ่งตู" หมายถึง "อุปราช" (viceroy) เป็นตำแหน่งขุนนางจีนที่สำเร็จราชการมณฑล ตามท้องเรื่องได้แก่ ตำแหน่ง "เหลียงกว่างจ่งตู" (兩廣總督) แปลว่า "อุปราชสองกว่าง" ซึ่งหมายถึง มณฑลกว่างตง (廣東) กับมณฑลกว่างซี (廣西) ผู้ดำรงตำแหน่งอุปราชสองกว่างในเวลาตามท้องเรื่อง คือ ซุน ชื่ออี้ (孫士毅) เวียดนามเรียก ตน สี หงิ (Tôn Sĩ Nghị)
  • จัว — เวียดนาม "จั๋ว" (chúa) แปลว่า "เจ้า" (ผู้เป็นใหญ่, ผู้เป็นนาย ฯลฯ) ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อ
    • จัวค่าง, บุตรของจัวเหียน — อาจได้แก่ "จั๋ว เหงีย" (Chúa Nghĩa; "เจ้าเหงีย") ซึ่งเป็นชื่อของ งฺเหวียน ฟุก จัน (Nguyễn Phúc Trăn)
    • จัวเตียน, บุตรของเวียนกราย — เวียดนาม "จั๋ว เตียน" (Chúa Tiên) แปลว่า "เจ้าเตียน" เป็นชื่อของ งฺเหวียน หฺว่าง (Nguyễn Hoàng)
    • จัวเทิ่ง, บุตรของจัวสาย — เวียดนาม "จั๋ว เทื่อง" (Chúa Thượng) แปลว่า "เจ้าเทื่อง" เป็นชื่อของ งฺเหวียน ฟุก ลัน (Nguyễn Phúc Lan)
    • จัวสาย, บุตรของจัวเตียน — เวียดนาม "จั๋ว สาย" (Chúa Sãi) แปลว่า "เจ้าสาย" เป็นชื่อของ งฺเหวียน ฟุก เงวียน (Nguyễn Phúc Nguyên)
    • จัวเหียน, บุตรของจัวเทิ่ง — เวียดนาม "จั๋ว เหี่ยน" (Chúa Hiền) แปลว่า "เจ้าเหี่ยน" เป็นชื่อของ งฺเหวียน ฟุก เติ่น (Nguyễn Phúc Tần)
  • จีนแจ, พ่อค้าในเมืองไซ่ง่อน
  • จีนทัด, ขุนศึกชาวจีน — ได้แก่ โด๋ ทัญ เญิน (Đỗ Thanh Nhơn)
  • จีนเล็ก, พ่อค้าในเมืองไซ่ง่อน
  • จีนหุ่น, เจ้าของเรือบรรทุกข้าวสาร, สามีของอำแดงโคก
  • เจ้ากรุงไทย — ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
  • เจ้ากิน, เจ้าเมืองตังเกี๋ย — อาจได้แก่ (1) กิญ เซือง เวือง (Kinh Dương Vương) หรือ (2) งฺเหวียน กิม (Nguyễn Kim)[1]
  • เจ้าคุณผู้ช่วยกรมท่า — ได้แก่ เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)[1]
  • เจ้าตาก — ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
  • ตีนเฮกยิ่ม หรือ เตียนเฮกยิ่ม, ขุนนางในเมืองตังเกี๋ย — ได้แก่ จิญ เกี๋ยม (Trịnh Kiểm)[2]
  • นายจัน, ขุนนางของพระเจ้าหลานเธอ กรมหลวงเทพหริรักษ์
  • นายบัว, บุคคลลูกครึ่งจีน–ญวน
  • นายเมือง, ขุนนางของพระเจ้าหลานเธอ กรมหลวงเทพหริรักษ์
  • นายอยู่, ขุนนางของพระเจ้าหลานเธอ กรมหลวงเทพหริรักษ์
  • บากบินเวือง, น้องชายขององยาก — เวียดนาม "บั๊ก บิ่ญ เวือง" (Bắc Bình Vương) แปลว่า "เจ้าปราบเหนือ" เป็นชื่อหนึ่งของ องบาย
  • ปังกะลิมา, ชาวแขก — ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 12 ว่า ได้แก่ "เพญลิมา ในพงศาวดารญวน ฉบับนายหยอง และวิญลิมา (Vihn-li-ma) ในไหด่นามถึกหลุก"[3]
  • พระเจ้ากรุงจีน หรือ พระเจ้ากรุงปักกิ่ง — ได้แก่ จักรพรรดิเซฺวียนเต่อ (宣德)[1]
  • พระเจ้าหลานเธอ กรมหลวงเทพหริรักษ์ — ได้แก่ สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์
  • พระยาชลบุรี — อาจได้แก่ พระยาอนุราชบุรีศรีมหาสมุทร (ทองอยู่ นกเล็ก)[4]
  • พระยานครสวรรค์
  • พระระยอง — อาจได้แก่ หลวงพลแสนหาญ กรมการเมืองระยอง[3]
  • ลักเบา, แม่ทัพของตีนเฮกยิ่ม
  • เลเลย — ได้แก่ เล เหล่ย (Lê Lợi)
  • เลียวท่าง, ขุนนางจีน
  • เวียนกรายงฺเหวียน จ๋าย (Nguyễn Trãi)
  • สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก — ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
  • หมูเส, บุตรหญิงขององเชียงฉุน
  • หวางตน, บุตรขององดิกหมู — ดู องหวางตน
  • หุงเมือง, เจ้าเมืองตังเกี๋ย
  • อง — เวียดนาม "อง" (ông) แปลว่า "ท่าน" ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อ เอกสารไทยบางทีเขียน "องค์"
    • องกะวิ, บุตรขององลองเยือง
    • องกรุมหวด, บิดาขององยาก — อาจได้แก่ โห่ ฟี ฟุก (Hồ Phi Phúc) อีกชื่อว่า งฺเหวียน ฟี ฟุก (Nguyễn Phi Phúc)
    • องกลัด, บุตรชายขององเชียงฉุน
    • องกลัด, บุตรขององลองเยือง
    • องกวักภ้อ, ขุนนางในเมืองเว้
    • องกวาน, บุคคลในคณะขององไชสือ
    • องกวางตรี — ได้แก่ เล ซวี หวี (Lê Duy Vỹ)
    • องไกรเซิน, โจรป่า — เวียดนาม "อง เต็ย เซิน" (Ông Tây Sơn) แปลว่า "ท่านเต็ย เซิน" หมายถึง งฺเหวียน หญัก (Nguyễn Nhạc) ผู้ก่อตั้งราชวงศ์เต็ย เซิน เป็นอีกชื่อหนึ่งของ องยาก
    • องเกาโล, ขุนนางขององไชสือ
    • องจอง, บุคคลในคณะขององไชสือ
    • องเจียวท่ง หรือ องเจียวทุง, บุตรขององกวางตรี — เวียดนาม "อง เจียว ท้ง" (Ông Chiêu Thống) แปลว่า "ท่านเจียว ท้ง") หมายถึง เล เจียว ท้ง (Lê Chiêu Thống)
    • องชม, ทหารขององไกรเซิน — ได้แก่ ฝั่ม วัน ทาม (Phạm Văn Tham)}}[5]
    • องเชียงฉุน, บุตรขององเฮียวหูเวียง
    • องเชียงสือ, เชื้อพระวงศ์ญวน — ได้แก่ งฺเหวียน ฟุก อั๊ญ (Nguyễn Phúc Ánh)
    • องไชสือ, บุตรขององเฮียงคางเวียง
    • องดา, ขุนนางขององไชสือ
    • องดาม, น้องชายขององยาก — อาจได้แก่ "อง ดิญ" (Ông Định) ภาษาเวียดนาม แปลว่า "ท่านดิญ" ซึ่งหมายถึง งฺเหวียน หลือ (Nguyễn Lữ)
    • องดิกหมู, บุตรขององเฮียวหูเวียง — อาจได้แก่ งฺเหวียน ฟุก เจือง (Nguyễn Phúc Chương)
    • องโดย, ขุนนางขององไชสือ
    • องตรี, เจ้าเมืองเตกเชียะ
    • องทาง, บุตรขององเฮียวหูเวียง
    • องเทิงกวาง, บุตรขององเฮียวหูเวียง — อาจได้แก่ งฺเหวียน ฟุก ถ่วน (Nguyễn Phúc Thuần)
    • องเทืองกง — ชื่อหนึ่งของ จีนทัด คำว่า "อง" แปลว่า "ท่าน" ส่วน "เทืองกง" มาจาก "เตื๊อง กง" (tướng công) เป็นชื่อตำแหน่ง ชื่อตำแหน่งเต็ม คือ "งฺหวั่ย หืว, ฝุ จิ๊ญ, เถื่อง เตื๊อง กง" (Ngoại hữu, Phụ chính, Thượng tướng công)
    • องบาย, น้องชายขององยาก — เวียดนาม "อง บั๋ย" (Ông Bảy) แปลว่า "ท่านบั๋ย" หมายถึง งฺเหวียน เหฺว่ (Nguyễn Huệ)
    • องภ้อมา, แม่ทัพในเมืองเว้ — ได้แก่ งฺเหวียน กื๋ว ถง (Nguyễn Cửu Thống)[6]
    • องภูเว้, บุคคลในคณะขององไชสือ
    • องยาก, โจรป่า — เวียดนาม "อง หญัก" (Ông Nhạc) แปลว่า "ท่านหญัก" หมายถึง งฺเหวียน หญัก (Nguyễn Nhạc)
    • องยาบา, บุตรขององเฮียงคางเวียง — ได้แก่ งฺเหวียน ฟุก หง็อก เตฺวี่ยน (Nguyễn Phúc Ngọc Tuyền)
    • องยี, บุคคลในคณะขององไชสือ
    • องลองเยือง หรือ องล่องเยือง, เจ้าเมืองเว้
    • องหมัน, บุตรขององเฮียงคางเวียง — ได้แก่ งฺเหวียน ฟุก เมิน (Nguyễn Phúc Mân)
    • องหับ, ขุนนางขององไชสือ
    • องเหยิม, ขุนนางขององไชสือ
    • องหวาง, บุตรขององดิกหมู
    • องหวางตน, บุตรขององดิกหมู — อาจเป็นบุคคลเดียวกับ องหวาง
    • องฮั่น, บ่าวขององชม
    • องเฮียงคางเวียง, บุตรขององเฮียวหูเวียง — ได้แก่ งฺเหวียน ฟุก ลวน (Nguyễn Phúc Luân)
    • องเฮียวหูเวียง, บุตรของจัวค่าง — เวียดนาม "อง เหียว หวู หฺว่าง" (Ông Hiếu Vũ Hoàng) แปลว่า "ท่านเหียว หวู หฺว่าง" เป็นชื่อของ งฺเหวียน ฟุก คว้าต (Nguyễn Phúc Khoát)
    • องโฮ่เตืองกิต, พี่น้องขององทาง
  • อ้ายจู, บ่าวขององไชสือ
  • อำแดงโคก, สตรีในเมืองจันทบุรี

สถานที่

[แก้ไข]
  • กงเหย, แม่น้ำ — อาจได้แก่ แม่น้ำกน (Côn)[7]
  • กระบือ, เกาะ — อาจได้แก่ เกาะรอง (កោះរ៉ុង เกาะรุง) ในประเทศกัมพูชา[4]
  • กระโพงสม, เมือง — เขมรว่า "กำพงโสม" (កំពង់សោម กํพง̍โสม) เป็นชื่อเก่าของเมืองพระสีหนุ (ក្រុងព្រះសីហនុ กฺรุงพฺระสีหนุ) ประเทศกัมพูชา
  • กรุงฯ หรือ กรุงเทพฯ — ได้แก่ กรุงเทพมหานคร
  • กวางนำ, เขา, เมือง — ได้แก่ กว๋างนาม (Quảng Nam) ปัจจุบันเป็นจังหวัดในประเทศเวียดนาม
  • กุยเยิน, เมือง — ได้แก่ กวีเญิน (Quy Nhơn) นครในประเทศเวียดนาม
  • กูด, เกาะ — ได้แก่ เกาะกูด ประเทศไทย
  • ไกเต๋า, บ้าน — ได้แก่ ก๊ายเต่าห่า (Cái Tàu Hạ) เมืองในประเทศเวียดนาม
  • ซงยัน, แม่น้ำ — ได้แก่ แม่น้ำซัญ ภาษาเวียดนามเรียก "ซงซัญ" (Sông Gianh)
  • กวางเบือง, เมือง — ได้แก่ กว๋างบิ่ญ (Quảng Bình) ปัจจุบันเป็นจังหวัดในประเทศเวียดนาม
  • ไซง่อน หรือ ไซ่ง่อน, เมือง — เวียดนามว่า "ส่ายก่อน" (Sài Gòn) ปัจจุบันคือนครโฮจิมินห์ (Ho Chi Minh City) ในประเทศเวียดนาม
  • ต้นสำโรงคอกควาย, ตำบล — ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 12 ว่า ได้แก่ "บริเวณคลองสำโรง เดิมขึ้นกับอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ"[3]
  • ตังเกี๋ย, เมือง — เวียดนามว่า "ดงกิญ" (Đông Kinh) แปลว่า "กรุงบูรพา" เมื่อเล เหล่ย (Lê Lợi) ตั้งตนเป็นเจ้าแล้ว "กรุงบูรพา" ได้แก่ เมืองห่าโหน่ย (Hà Nội) ในปัจจุบัน
  • เตกเชียะ, เมือง — มาจากภาษาจีนว่า "迪石" สำเนียงกลางว่า "ตี๋ฉือ" หมายถึง สักซ้า (Rạch Giá) นครในประเทศเวียดนาม
  • ทวาย, เมือง — ได้แก่ ดะแว (Dawei) ปัจจุบันเป็นนครในประเทศเมียนมา
  • นำก๊ก, เมือง
  • บางแง่, คลอง — อาจได้แก่ แม่น้ำเบ๊นแจ (Bến Tre)[5]
  • บางโพ, บ้าน
  • บ้านเขมรลับแล — ชื่อหนึ่งของ ไกเต๋า
  • ปาสัก, เมือง — ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 12 ว่า เป็นเมืองที่อยู่ปากทางออกแม่น้ำบาสัก (បាសាក់ บาสาก่) ในจังหวัดซ้อกจัง (Sóc Trăng) ประเทศเวียดนามปัจจุบัน[5]
  • โปจัน, ด่าน, ตำบล — ได้แก่ โบ๊จัก (Bố Trạch) ปัจจุบันเป็นอำเภอในจังหวัดกว๋างบิ่ญ (Quảng Bình) ประเทศเวียดนาม
  • พุทไธมาศ, เมือง — เขมรว่า "บันทายมาศ" (បន្ទាយមាស บนฺทายมาส) ปัจจุบันเป็นอำเภอในจังหวัดกำปอต (កំពត กํพต) ประเทศกัมพูชา
  • ล่องโฮ, เมือง
  • ลำเซิน, บ้าน — ได้แก่ ลัมเซิน (Lam Sơn) ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดทัญฮว้า (Thanh Hó) ประเทศเวียดนาม
  • วงเจิง, คลอง
  • เว้, เมือง — ได้แก่ เฮฺว้ (Huế) นครในประเทศเวียดนาม
  • โวจ๊อ, ป่า
  • ว่ำน่าว, คลอง — ได้แก่ แม่น้ำหว่ามก่อ (Vàm Cỏ)[8]
  • สแดก, เมือง
  • สมิทอ, เมือง
  • สีชัง, เกาะ — ได้แก่ เกาะสีชัง ประเทศไทย
  • หวยนำ, ตำบล — อาจได้แก่ ห่านาม (Hà Nam) ปัจจุบันเป็นจังหวัดในประเทศเวียดนาม

วันเวลา

[แก้ไข]
  • วันขึ้น 2 ค่ำ เดือน 9 จ.ศ. 1155 ปีฉลู เบญจศก — ตรงกับ วันศุกร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2336[1]

ประวัติพระนาบีมหะหมัด, ไม่ปรากฏผู้สร้างสรรค์

[แก้ไข]

บุคคล

[แก้ไข]
  • กูมาดา, ศิษย์ของมหะหมัด — อาจได้แก่ Abu Bakr, บุคคลเดียวกับ อับกูบาดา และ อาปุดาอา
  • กุมาร หรือ กูมาร, ศิษย์ของมหะหมัด, บิดาของซับฟาฮา — ได้แก่ Umar, บุคคลเดียวกับ อุมัศ
  • โจมหะมีนา, ภริยาของมหะหมัด
  • เจ้าเซน, ผู้นำ — ได้แก่ Husayn ibn Ali, บุคคลเดียวกับ อิมมัมะฮูเซน
  • ชะระบานู, ภริยาของอิมมัมะฮูเซน — ได้แก่ Shahrbanu
  • ไชนัน, ภริยาของอิมัมมะฮูซัน
  • ซับฟาฮา, ภริยาของมหะหมัด — ได้แก่ Hafsah
  • ซับเฟีย, ภริยาของมหะหมัด — ได้แก่ Safiyya
  • ไซดินาอาลี
  • ดาดะชะ, หญิงหม้าย, ภริยาของมหะหมัด — ได้แก่ Khadija bint Khuwaylid
  • ดำอะ, บิดาของสุดะ — อาจได้แก่ Zam'a ibn Qays
  • เดนับ 1, ภริยาของมหะหมัด — อาจได้แก่ Zaynab bint Khuzayma
  • เดนับ 2, ภริยาของมหะหมัด — อาจได้แก่ Zaynab bint Jahsh
  • เดาแซน, บุตรชายของมหะหมัด — อาจได้แก่ Qasim ibn Muhammad
  • โต๊ะอันตนี, ชาวแขก
  • นัด, บุตรหญิงของมหะหมัด — Zainab bint Muhammad
  • นาบี — ได้แก่ nabi (ผู้เผยพระวจนะของพระเจ้า)
    • นาบีเซด
    • นาบีดาอุด — ได้แก่ Da'ud
    • นาบีนุด — ได้แก่ Nuh
    • นาบีมุชา — ได้แก่ Musa
    • นาบียิบราเอล — อาจได้แก่ Ishmael
    • นาบียิบราเฮม — อาจได้แก่ Ibrahim, บุคคลเดียวกับ อิบราเฮม
    • นาบีอาดัม — ได้แก่ Adam
    • นาบีอิชา หรือ นาบีอีชา — ได้แก่ Isa
  • บดิมา, บิดาของเดนับ 1 — อาจได้แก่ Khuzayma bin Al-Harith bin 'Abdullah
  • ปอเฮระ, บุตรชายของมหะหมัด — อาจได้แก่ Ibrahim ibn Muhammad
  • พระทั้ง 5 องค์
  • พระเปนเจ้า — อาจได้แก่ Allah
  • ฟอตีมา, บุตรหญิงของมหะหมัด — ได้แก่ Fatimah bint Muhammad
  • มะระวานหะติม, คนโกง — ได้แก่ Marwan ibn al-Hakam
  • มหะหมัด 1, ผู้นำศาสนาอิสลาม — ได้แก่ Mahamad, ชื่ออื่นว่า ระสู่หลุ่นหล่า
  • มหะหมัด 2, บุตรของอับกูบาดา — ได้แก่ Muhammad ibn Abi Bakr
  • มะอะวิยา, คนโกง — ได้แก่ Muawiyah
  • มาเรีย — ได้แก่ Maria al-Qibtiyya
  • ไมสลุน, ทหารของยะหริษ
  • ยะดา, ภริยาน้อยของอิมัมมะฮูซัน — ได้แก่ Ja'da bint al-Ash'at
  • ยะหริษ, เจ้าเมืองส่ำ — ได้แก่ Yazid ibn Mu'awiya
  • ยาเรีย, บิดาหรือมารดาของยาหาศ
  • ยาหาศ, ภริยาของมหะหมัด — ได้แก่ Rayhana
  • ยิบราเอล, เทวดา — ได้แก่ Jibra'il
  • รวยลิบ, บิดาของดาดะชะ — ได้แก่ Khuwaylid ibn Asad
  • รอตียะ, บุตรหญิงของมหะหมัด — อาจได้แก่ Ruqayyah bint Muhammad
  • ระหัส, นายอูฐ (เจ้าของอูฐ, ผู้ควบคุมอูฐ)
  • ระสู่หลุ่นหล่า — อาหรับว่า "Rasoul'Ullah" แปลว่า "ผู้นำสารของอัลลอฮ์" เป็นคำเรียก มหะหมัด
  • สมภาร หรือ สมภารเจ้ากระฎีณเมืองส่ำ — ได้แก่ Bahira
  • สุดะ, ภริยาของมหะหมัด — ได้แก่ Sawda
  • หะลีมา, แม่นมของมหะหมัด — ได้แก่ Halimah al-Sa'diyah
  • อับกูบาดา, ผู้สืบทอดตำแหน่งของมหะหมัด — ได้แก่ Abu Bakr, บุคคลเดียวกับ กูมาดา และ อาปุดาอา
  • อับดระสิยาศ, เจ้าเมืองกูฝ่า — ได้แก่ Ubayd Allah ibn Ziyad
  • อับดุลตะหล่า, บิดาของมหะหมัด — ได้แก่ Abdullah ibn Abd al-Muttalib
  • อับดุลนะมุตะเหล็บ, ตาของมหะหมัด — ได้แก่ Abd al-Muttalib Shaybah ibn Hashim
  • อับปูมะตะเหล็บ, ลุงของมหะหมัด — ได้แก่ Abu Talib ibn Abd al-Muttalib
  • อับปูเล็ก, ลูกความ (ผู้มีคดีความ?) — ได้แก่ Abu Lu'lu'ah
  • อัมมินา, มารดาของมหะหมัด — ได้แก่ Aminah bint Wahb
  • อะปะตะระดาน, คนเลี้ยงม้าของอาลี — ได้แก่ 'Abd al-Rahman ibn Muljam
  • อาตะดา, อาหญิงของมหะหมัด
  • อาบูบาฮัม, ลุงของมหะหมัด
  • อาปุดาอา, บิดาของอาวิชา — ได้แก่ Abu Bakr, บุคคลเดียวกับ กูมาดา และ อับกูบาดา
  • อามิศฟีอาน, บิดาของโจมหะมีนา
  • อาลี, ศิษย์ของมหะหมัด — ได้แก่ Ali
  • อาลอ, พระเจ้า — ได้แก่ Allah
  • อาวิชา, ภริยาของมหะหมัด — ได้แก่ 'A'ishah
  • อิดดริศ, ผู้แต่งคัมภีร์ — อาจได้แก่ 'Idris
  • อิบราเฮม, ผู้แต่งคัมภีร์ — อาจได้แก่ Ibrahim, บุคคลเดียวกับ นาบียิบราเฮม
  • อิมัม — อาหรับว่า "imām" เป็นคำเรียกผู้นำ (กลุ่มคน, ชุมชน, ศาสนสถาน ฯลฯ)
    • อิมัมมะฮูซัน, บุตรของฟอตีมากับอาลี, หลานของมหะหมัด — ได้แก่ Hasan ibn Ali
    • อิมัมมะฮูเซน, บุตรของฟอตีมากับอาลี, หลานของมหะหมัด — ได้แก่ Husayn ibn Ali, บุคคลเดียวกับ เจ้าเซน
  • อุมัศ, กบฏ — ได้แก่ Umar, บุคคลเดียวกับ กุมาร
  • อุไมดละชุน, บุตรหญิงของมหะหมัด — อาจได้แก่ Umm Kulthum bint Muhammad
  • อุไมมุนา, ภริยาของมหะหมัด — ได้แก่ Maymunah
  • อุไมสเอศ, ทหารของยะหริษ — ได้แก่ 'Umar ibn Sa'ad
  • อุไมสะลามา, ภริยาของมหะหมัด — ได้แก่ Umm Salama
  • อุศมาน หรือ อุสมาร, ศิษย์ของมหะหมัด — ได้แก่ Uthman
  • ฮับดาลา, บุตรชายของมหะหมัด — ได้แก่ Abdullah ibn Muhammad
  • ฮูไย, บิดาของซับเฟีย — ได้แก่ Huyayy ibn Akhtab

สถานที่

[แก้ไข]
  • กะตะบาลา, ทุ่ง — ได้แก่ Karbala
  • กูฝ่า, เมือง — ได้แก่ Kufah
  • ซาม, เมือง — อาจเป็นที่เดียวกับ ส่ำ
  • มะกา, เมือง — อาจได้แก่ Makkah
  • มะเซน, เมือง
  • มะไดนา, เมือง — อาจได้แก่ Madinah
  • ยับปันโนน, ภูเขา — ได้แก่ Jabal al-Nour
  • ส่าน, เมือง
  • ส่ำ, เมือง – อาจได้แก่ ประเทศ Syria, เทียบเปอร์เซีย "šâm" (شام) และอาหรับ "šām" (شَام) ซึ่งหมายถึงประเทศนี้
  • หะรอ, เขา – อาจได้แก่ ถ้ำ Hira'
  • อารัด, ชั้นหนึ่งของสวรรค์
  • อาหรับปะตาน, แผ่นดิน

อื่น ๆ

[แก้ไข]
  • กรอ่าม หรือ คุลีอาน, คัมภีร์ — ได้แก่ Qur'an
  • กลีมา หรือ กะลีมา — อาจได้แก่ kalimah
  • กำปั่นใหญ่ — ได้แก่ Safina Nuh
  • ขึ้น 7 ชั้นฟ้า — ได้แก่ Mi'raj
  • ซูนี, สุหนี่, หรือ สูนี, กลุ่มคน — อาจได้แก่ Sunni
  • ดาวโปน, คัมภีร์ — อาจได้แก่ Talmud
  • ตะละฟาด, เขตหรือตำแหน่งทางปกครอง — อาจได้แก่ khilafah
  • เต้าเหร็ด, คัมภีร์ — อาจได้แก่ Tawrah
  • ผ่าดวงเดือน — ได้แก่ Inshiqaq Al-Qamar
  • มะยัศ, ศพ
  • มหรัม, เดือน — ได้แก่ Muharram
  • มะหรุ่ม, กลุ่มคน
  • สะด่ำ, น้ำ
  • สะยิด, เดือน
  • อินเซม, คัมภีร์
  • อิบรานี, ภาษา

เชิงอรรถ

[แก้ไข]

อ้างอิง

[แก้ไข]

บรรณานุกรม

[แก้ไข]
  • ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 12. (2549). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ISBN 9749528476.