ประชุมพงศาวดาร/ภาคที่ 51/อธิบายประกอบ
หน้าตา
- จมื่นสรรเพธภักดี — ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 ว่า ชื่อตัวว่า "ครุฑ" ภายหลังได้เป็นเจ้าพระยายมราช[1]
- จมื่นเสมอใจราช — ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 ว่า ชื่อตัวว่า "เกษ" ชื่อสกุลว่า "สิงหเสนี" ภายหลังได้เป็นเจ้าพระยามุขมนตรี[1]
- ผคุณมาส ศุกรปักษ์ ฉัฏฐมีดีถี โสรวาร — ได้แก่ วันเสาร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 4 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212
- พระยาโชฎึกราชเศรษฐี — ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 ว่า อาจได้แก่ ทองจีน ไกรฤกษ์[1]
- วัดกระบือ — ได้แก่ ได้แก่ วัดยานนาวา[2]
- วัดเงิน — ได้แก่ วัดรัชฎาธิษฐาน[3]
- วัดดอกไม้ — ได้แก่ วัดบุปผาราม[4] (ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน)
- วัดทอง — ได้แก่ วัดกาญจนสิงหาสน์[3]
- วัดบางลำภู — ได้แก่ วัดสังเวชวิศยาราม[2]
- วัดสมอราย — ได้แก่ วัดราชาธิวาส[2]
- วัดสี่จีน — ได้แก่ วัดจตุรมิตรประดิษฐาราม[4]
- วันจันทร์ ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 — ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 ว่า ถ้าเป็นวันจันทร์ดังที่กล่าว จะเป็นวันขึ้น 9 ค่ำ (ไม่ใช่ 8 ค่ำ) และวันจันทร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 ตรงกับวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393[5]
- วันพุธ แรม 1 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน จ.ศ. 1212 — ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 ว่า ตรงกับวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2394[6] แต่เข้าใจว่า พิมพ์ผิด เพราะควรเป็น "เมษายน" (ไม่ใช่ "มีนาคม")
- วันพุธ แรม 10 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 — ตรงกับวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393[7]
- วันพฤหัสบดี ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 — ต้นฉบับคงพิมพ์ "12 ค่ำ" ผิดเป็น "3 ค่ำ" และวันอังคาร ขึ้น 12 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 ตรงกับวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393[8]
- วันพฤหัสบดี แรม 4 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 — ตรงกับวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393[9]
- วันพฤหัสบดี แรม 11 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 — ตรงกับวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393[10]
- วันศุกร์ แรม 4 ค่ำ เดือน 4 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 — ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2393[10]
- วันศุกร์ แรม 5 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 — ตรงกับวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393[11]
- วันอังคาร ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 — ตรงกับวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393[5]
- วันอังคาร แรม 2 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 — ตรงกับวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393[9]
- วันอังคาร แรม 9 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 — ตรงกับวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393[4]
- วันอาทิตย์ แรม 7 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 — ตรงกับวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393[12]
- โสณสังวัจฉระ มาฆมาส กาฬปักษ อัฏฐมีดฤถี ศศิวาร — ได้แก่ วันจันทร์ แรม 8 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ โทศก จ.ศ. 1212 ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393[13]
เชิงอรรถ
[แก้ไข]อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ 1.0 1.1 1.2 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2543, น. 242)
- ↑ 2.0 2.1 2.2 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2542, น. 257)
- ↑ 3.0 3.1 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2542, น. 260)
- ↑ 4.0 4.1 4.2 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2543, น. 254)
- ↑ 5.0 5.1 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2543, น. 245)
- ↑ ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2542, น. 262)
- ↑ ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2542, น. 256)
- ↑ ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2543, น. 246)
- ↑ 9.0 9.1 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2542, น. 248)
- ↑ 10.0 10.1 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2542, น. 258)
- ↑ ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2543, น. 250)
- ↑ ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2542, น. 251)
- ↑ ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4 (2543, น. 253)
บรรณานุกรม
[แก้ไข]- ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 4. (2542). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ISBN 9744192194.